The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปฐานข้อมูลตำบล 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by RDI_ARU, 2021-09-21 08:48:31

รายงานสรุปฐานข้อมูลตำบล 2564

รายงานสรุปฐานข้อมูลตำบล 2564

รายงานผล

การดําเนินงาน

โครงการพัฒนาระบบขอมูลตาํบล

ในจงัหวดัพระนครศรีอยธุยาและจงัหวัดอางทอง

www.aru.ac.th



บทสรปุ ผบู รหิ าร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา

รายงานผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบล
ในจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยาและจังหวดั อางทอง ภายใตย ุทธศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาทองถิ่น ประจําปงบประมาณ
2564 มงุ พฒั นาฐานขอ มลู ของพนื้ ทบ่ี ริการของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
พระนครศรีอยุธยา ไดแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัด
อางทอง ที่สามารถนําขอมูลไปใชในการวิเคราะห ประเมิน และ
วางแผนงานพฒั นาพื้นทใี่ หเ กดิ การพฒั นาอยางย่ังยืน

รองศาสตราจารย ดร.ชูสิทธ์ิ ประดับเพ็ชร

อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

การดําเนินงานโครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด มุงเก็บขอมูลใน 7 ประเด็นสําคัญ ไดแก
ขอมูลดานทุนที่แสดงถึงศักยภาพของตําบล ขอมูลดานการสื่อสาร ขอมูลดานการดูแลสุขภาพ ขอมูลดาน
ประชากร ขอมูลดานส่ิงแวดลอม ขอมูลดานเศรษฐกิจชุมชน และขอมูลดานการเมืองการปกครอง ซึ่งการ
ดําเนินงานเปนการขับเคลื่อนงานโดยคณาจารยในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาทั้ง 4 คณะ และไดมี
การบูรณาการกับรายวิชา ตาง ๆ เพื่อสงเสริมกระบวนการเรียนรูใหนักศึกษาไดมีสวนรวม ในการลงพื้นที่
เก็บขอมูล และวิเคราะหขอมูลตําบลของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ที่จะเปนขอมูลที่เปน
ประโยชนตอ การสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในการวางแผนการพัฒนาทองถนิ่ ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ

ท้ังน้ีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาไดดําเนินการจดั ทํารายงานผลการดําเนินงาน เพื่อเปนขอมูล
แกหนวยงานที่เก่ียวของในการนําไปใชประโยชนในการวิเคราะห ประเมิน สนับสนุนการตัดสินใจ และวางแผน
ขับเคล่ือนการพัฒนาทองถิ่นในดานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ และในโอกาสน้ี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรอี ยุธยา ใครขอขอบคุณผทู ่มี สี ว นรวมในการดําเนนิ โครงการนที้ ุกทา น ทีไ่ ดใหความรวมมือเปนอยางดี

สารบัญ หนา

บทสรปุ ผูบริหาร 1
สวนท่ี 1: การเตรียมความพรอ มสําหรับการพัฒนาระบบขอมูลตาํ บล
ในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยาและจังหวดั อางทอง 2
4
• องคประกอบของขอ มลู พื้นฐาน 7 ดาน
• ตัวอยางหนาจอของระบบเก็บขอมลู ตาํ บลในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา 6

และจงั หวดั อางทอง 12
สว นท่ี 2: การเก็บขอ มูลของพืน้ ทบ่ี รกิ ารในการพัฒนาระบบขอมลู ตาํ บล
ในจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยาและจงั หวดั อา งทอง 15
สว นที่ 3: สรุปผลโครงการพัฒนาระบบขอมูลตาํ บลในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 18
และจังหวัดอางทอง 22
28
• ดานที่ 1 ขอมูลดา นทนุ ทีแ่ สดงถึงศักยภาพของตําบล 35
• ดานท่ี 2 ขอมูลดานการส่อื สาร 46
• ดานที่ 3 ขอมลู ดานการดูแลสขุ ภาพ 53
• ดา นที่ 4 ขอ มูลดานประชากร 57
• ดานท่ี 5 ขอมลู ดา นส่งิ แวดลอม
• ดานที่ 6 ขอ มลู ดานเศรษฐกิจชมุ ชน
• ดานท่ี 7 ขอมลู ดา นการเมอื งการปกครอง
ภาคผนวก

รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการพัฒนาระบบขอ้ มลู ตาํ บล

ในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาและจังหวดั อา่ งทอง ประจาํ ปี พ.ศ. 2564

1 การเตรียมความพรอ มสาํ หรับการพฒั นาระบบขอมูลตาํ บล
ในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาและจงั หวัดอา งทอง

มหาวิทยาลัยราชภัฏนอมนําพระราโชบายดานการศึกษาในการเปนสถาบันการศึกษาเพ่ือการพัฒนา
ทองถิ่น ซึ่งโครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
เปนโครงการภายใตยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาทองถิ่น ตามแนวทางการพัฒนาของแผนยุทธศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพ่ือการพัฒนาทองถ่ิน ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) โครงการมุงเนนการพัฒนาระบบ
ขอมูลตําบลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง มีการลงพ้ืนท่ีเก็บขอมูลดวยการมีสวนรวมของ
คณาจารยและนักศึกษา มีการนําขอมูลพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) เขาสูระบบขอมูลตําบลของมหาวิทยาลยั
ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทําใหมหาวิทยาลัยราชภัฏมีขอมูลท่ีเปนขอเท็จจริงในพ้ืนที่บริการของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏ นําไปสูการใชขอมูลในการวิเคราะหปญหา วางแผนการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี รวมทั้งการรายงานหรือการ
นําเสนอขอ มูลทสี่ นบั สนุนการตัดสินใจเพือ่ การพัฒนาทอ งถิน่ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

โครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยามีระยะเวลา
ดําเนินโครงการ 3 ป (พ.ศ. 2563-2565) ในการเก็บขอมูลพ้ืนฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) ของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา 209 ตําบล และจังหวัดอางทอง 73 ตําบล รวมทั้งหมด 282 ตําบล โดยมีการแบงการเก็บ
ขอมูลพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) ออกเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะที่ 1 เก็บขอมูล 88 ตําบล ระยะที่ 2
เก็บขอ มูล 85 ตาํ บล และระยะท่ี 3 เก็บขอ มลู 109 ตําบล ดงั ภาพที่ 1

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะท่ี 3

จาํ นวน 88 ตําบล จาํ นวน 85 ตาํ บล จํานวน 109 ตาํ บล
(รอ ยละ 31) (รอยละ 30) (รอ ยละ 39)

ภาพท่ี 1 จาํ นวนตําบลในการเก็บขอมูลพื้นฐาน 7 ดา น ตามระยะเวลาดาํ เนินการ 3 ป

1

การลงพ้ืนท่ีบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เพื่อเก็บขอมูลพ้ืนฐานของชุมชนนั้น
ใชแบบสอบถามการเก็บขอมูลชุดพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) ไดแก ขอมูลดานทุนที่แสดงถึงศักยภาพ
ของตําบล ขอมูลดานการสื่อสาร ขอมูลดานการดูแลสุขภาพ ขอมูลดานประชากร ขอมูลดานสิ่งแวดลอม
ขอ มลู ดา นเศรษฐกจิ ชุมชน และขอมูลดานการเมืองการปกครอง ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

1) ขอมูลดานทุนที่แสดงถึงศักยภาพของตําบล เปนขอมูลทุนประเภทตาง ๆ ท่ีแสดงถึงศักยภาพ
ของตาํ บล ประกอบดว ย
 ขอมูลทุนที่เปนบุคคล ไดแก ผูนําภาคประชาชน ผูนําทองท่ี ผูนําองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ผนู ําที่เปน บคุ ลากรของหนวยงานภาครฐั ซ่งึ อาศัยอยูในพน้ื ที่
 ขอมูลทุนที่เปน กลุมหรือเครือขาย ไดแก กลุมแมบาน กลุมเยาวชน กลุม ผูพิการ กลมุ ผสู งู อายุ
กลุมประชาคม เครือขาย อสม. เครือขายเกษตรกร เครือขายอาชีพ เครือขายปราชญ
ชาวบา น เครือขา ยพระสงฆ
 ขอมูลทุนที่เปนหนวยงานหรือองคกร ไดแก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน อบต. หรือเทศบาล
รพ. สต. สถานทสี่ าํ คญั ทางศาสนา
 ขอมูลทุนท่ีเปนเงินหรือกองทุน ไดแก กลุมฌาปนกิจหมูบานหรือตําบล กองทุนเงินลาน
กองทนุ SML กลุมออมทรพั ยส หกรณ ธนาคารชุมชน
 ขอมูลทุนท่ีเปนทรัพยากรธรรมชาติและแหลงประโยชนท่ีประชาชนสามารถเขาถึงและใช
ประโยชนไ ด ไดแก ปาชมุ ชน อา งเกบ็ น้ํา แมนํา้ สถานทีเ่ คารพสักการะของชมุ ชน
 ขอมูลทุนท่ีเปนแหลงทองเที่ยว ไดแก ปาไม ทะเล ภูเขา แหลงน้ํา ศิลปวัฒนธรรม เกษตร
โบราณสถาน วดั สถานท่ีทางศาสนา

2) ขอมูลดานการสื่อสาร เปนขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารในชุมชน ซ่ึงในกระบวนการ
ประกอบดวยผูใหขอมูล ประเภทขอมูล ชองทางการส่ือสาร และการใชประโยชน ซ่ึงผูใหขอมูล
แบงออกดงั น้ี
 ผนู าํ ภาคประชาชน ไดแ ก แกนนาํ ปราชญชาวบาน ผูป ระกอบพิธกี รรม อาสาสมคั ร พระหรอื
ผนู ําทางศาสนา
 ผูน ําทอ งท่ี ไดแก ผูใหญบานหรอื กาํ นัน กรรมการหมูบา น
 ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก คณะกรรมการบริหารสวนทองถ่ิน พนักงานสวน
ทอ งถนิ่ ประธานสภาและสมาชิก อบต. หรอื เทศบาล
 ผูนําที่เปนบุคลากรของหนวยงานรัฐ ไดแก ครู นักพัฒนาชุมชน แพทย พยาบาล เจาหนาท่ี
สาธารณสขุ ตํารวจ ทหาร เจาหนาท่เี กษตรตําบล

2

3) ขอมูลดานการดแู ลสขุ ภาพ เปนขอ มูลทางดานสุขภาพจําแนกปญ หาดานสุขภาพในชุมชน พรอมระบุ
จาํ นวนผูปว ย ปญหาดานสุขภาพประกอบดวย
 ปญหาสุขภาพและโรคทพ่ี บบอ ย 5 อนั ดบั ในพ้ืนที่ ในระยะ 1 ปท ่ผี านมา
 ปญหาโรคระบาดในพน้ื ที่ ในระยะ 1 ปที่ผานมา
 ปญ หาโรคเรอื้ รังในพ้นื ที่
 การจดั บรกิ ารตามปญหาและความตอ งการในพื้นท่ี ในระยะ 1 ปท่ีผา นมา
 สถานท่หี รอื แหลง บรกิ ารสขุ ภาพที่มใี นพนื้ ที่
 ผใู หบริการและดแู ลรกั ษาดานสุขภาพในพนื้ ที่ แบงออกเปน ภาควชิ าชีพ และภาคประชาชน

4) ขอมูลดา นประชากร ประกอบดว ย
 จาํ นวนประชากร จาํ แนกตามชวงอายุ
 สถิติการเกดิ และการตาย ในรอบ 1 ป
 การจดั การศึกษาในชมุ ชน
 การอพยพแรงงานเขามาทํางานในพ้นื ท่ี ท้งั แรงงานไทย และแรงงานตา งดาว

5) ขอมูลดา นสิ่งแวดลอ ม เปนขอมูลเกยี่ วกับปญหาและการจัดการทางดา นสิ่งแวดลอ ม ประกอบดวย
 ปญหาและการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมในชุมชน ไดแก ปญหาขยะ ปญหามลภาวะ ฝุน
ละอองหรือมลพิษ ปญหาจุดอันตรายหรือพื้นที่เส่ียงตอการเกิดปญหาอาชญากรรม ปญหา
การขาดแคลนนํา้ สะอาด และปญหาภยั ธรรมชาติ
 ปญหาสง่ิ แวดลอมในชมุ ชนทยี่ ังตอ งพัฒนา
 การจัดการสงิ่ แวดลอ มในชุมชนท่เี อื้อตอ การสรางเสริมสขุ ภาพ

6) ขอ มูลดา นเศรษฐกจิ ชุมชน ประกอบดว ย
 อาชีพหลกั ของประชาชนสวนใหญใ นชุมชน
 การรวมกลมุ อาชพี ของประชาชนในชมุ ชน
 แหลงเงินทุนในการดําเนินงานของกลุมอาชีพ ไดแก ระดมทุนภายในกลุม กลุมออมทรัพย
ธนาคารหมูบาน กองทุนเงินลาน งบประมาณจากรัฐบาล ธกส. ธนาคารพาณิชย หรือเงินกู
นอกระบบ
 กิจกรรมทีเ่ ปน การสง เสริมและสนับสนุนใหประชาชนในชมุ ชนมีความมั่นคงทางเศรษฐกจิ

7) ขอมูลดานการเมืองการปกครอง ประกอบดว ย
 การมีสวนรว มของประชาชนในชมุ ชน
 การปกครองท่ีทาํ ใหคนอยรู วมกันอยา งสงบสุข
 การใชส ทิ ธิในการเลือกตั้ง
 สทิ ธิในการจดั การทรัพยากร

จากขอมูลจากแบบสอบถามขอมูลชุดพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) ขางตน ครอบคลุมเปาหมายการ
พัฒนาพ้นื ทบ่ี รกิ ารทง้ั 4 ดาน คอื ดา นเศรษฐกจิ ดา นสังคม ดา นสง่ิ แวดลอม และดานการศกึ ษา

3

ระบบขอมูลตําบลไดถูกออกแบบและพัฒนาข้ึนโดยสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เพ่ือนําเขาขอมูลชุดพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) อยางเปนระบบ
มีการจัดเก็บขอมูลเปนศูนยกลางและสอดคลองกับแบบสอบถามขอมูลชุดพื้นฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล)
ทําใหผูใชงานสามารถนําขอมูลเขาสูระบบไดงายและครบถวนสมบูรณ โดยผูใชงานหรือผูท่ีลงพ้ืนที่เก็บขอมูล
ตอ งเขาสรู ะบบดวยบญั ชรี ายชื่อทผ่ี ูกไวก ับอเี มลของมหาวทิ ยาลัย เพ่อื ยนื ยันวา เปนคณาจารยข องมหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดังหนาเขาสูระบบในภาพท่ี 2 ภายในระบบมีหนาจอแสดงภาพรวมรายชื่อตําบลที่
ทําการเก็บขอมูลในแตละป ดังภาพที่ 3 และเม่ือเลือกแตละตําบลจะสามารถดูความครบถวนของขอมูลทั้ง 7
ดาน (ระดับตาํ บล) ดังภาพที่ 4

ภาพท่ี 2 หนาจอการเขา สรู ะบบบันทกึ ขอ มลู ชดุ พืน้ ฐาน 7 ดา น (ระดับตาํ บล)

4

ภาพที่ 3 ตัวอยางหนา จอแสดงภาพรวมรายช่อื ตําบลในแตละปทท่ี ําการเก็บขอ มลู

ภาพที่ 4 ตัวอยางหนา จอแสดงความครบถวนของขอ มูลสภาพท่ัวไปของตําบลและขอ มูลชุดพ้นื ฐาน 7 ดา น
(ระดับตําบล)

5

2 การเกบ็ ขอ มูลของพน้ื ท่บี ริการในการพัฒนาระบบขอมูลตําบล
ในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาและจังหวัดอางทอง
การเก็บขอมูลของพื้นท่ีบริการในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง เปนการลงพื้นท่ีอยาง
มีสวนรวมระหวางคณาจารย นักศึกษา และชุมชนทองถ่ินในภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยเก็บขอมูลพ้ืนฐาน
7 ดาน ตามแบบสอบถามที่ไดกําหนดไว หลังจากท่ีลงพ้ืนที่เก็บขอมูลเรียบรอยแลว จะมีการนําขอมูลพื้นฐาน
ของตําบลเขาสูระบบขอมูลตําบลที่ไดพัฒนาไว เพ่ือจัดเก็บขอมูลแบบเปนศูนยกลาง สะดวกตอการบริหาร
จดั การขอ มลู และสามารถนําขอ มลู ไปจดั ทาํ สรุปรายงานเพ่ือสนบั สนนุ การตัดสินใจได

สําหรับการดําเนินโครงการระยะท่ี 2 (ป พ.ศ. 2564) ไดมีการแบงสัดสวนการรับผิดชอบในการลง
พ้ืนที่เก็บขอมูลทั้งหมด 85 ตําบล ไปยังทุกหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงมี
รายละเอียดของตําบลท่ีรับผิดชอบของแตละหนวยงาน ดังตารางท่ี 1 โดยสรุปพ้ืนที่การรับผิดชอบแบงตาม
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาและจงั หวดั อา งทองไดดงั น้ี

 จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา รวม 63 ตําบล
 คณะวทิ ยาการจัดการ เก็บขอมลู ท้ังหมด 19 ตําบล
 สํานกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เกบ็ ขอมูลทั้งหมด 23 ตําบล
 คณะมนุษยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร เกบ็ ขอมูลท้งั หมด 21 ตําบล

 จงั หวดั อา งทอง รวม 22 ตําบล
 คณะครศุ าสตร เก็บขอมลู ทัง้ หมด 9 ตาํ บล
 คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เกบ็ ขอ มูลท้งั หมด 7 ตาํ บล
 สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา เกบ็ ขอมลู ทงั้ หมด 6 ตําบล

6

ตารางที่ 1 สดั สวนการรบั ผดิ ชอบในการลงพ้นื ท่เี กบ็ ขอ มลู พ้นื ฐาน 7 ดา น (ระดบั ตาํ บล) ในระยะที่ 2 ทงั้ หมด 85 ตําบล

ลาํ ดับ จังหวดั อาํ เภอท่ีรับผิดชอบ ตําบลท่จี ดั เกบ็ ขอ มลู ผูร บั ผดิ ชอบ

1 พระนครศรีอยธุ ยา อาํ เภอบานแพรก ตาํ บลบานแพรก คณะวิทยาการจัดการ

อําเภอมหาราช ตาํ บลมหาราช (19 ตําบล)

ตําบลหัวไผ

ตําบลทา ตอ

และตําบลบา นขวาง

อาํ เภอบางปะหัน ตาํ บลตาลเอน

ตาํ บลทบั น้ํา

ตําบลบางเด่ือ

ตาํ บลบา นขลอ

และตําบลบา นลี่

อําเภอทาเรือ ตาํ บลทาเจาสนุก

ตาํ บลทาเรือ

และตําบลวงั แดง

อําเภอนครหลวง ตาํ บลพระนอน

ตาํ บลหนองปลิง

ตาํ บลบอโพง

และตาํ บลบา นชงุ

อาํ เภอภาชี ตําบลดอนหญานาง

และตําบลไผลอ ม

อาํ เภออุทัย ตาํ บลธนู สํานักวิทยบริการและ

และตําบลสามบณั ฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ

อําเภอวังนอย ตําบลลําตาเสา (23 ตาํ บล)

และตําบลสนบั ทบึ

อาํ เภอบางบาล ตําบลไทรนอ ย

ตาํ บลบางบาล

และตําบลพระขาว

อาํ เภอบางปะอิน ตําบลบานโพ

ตาํ บลขนอนหลวง

ตาํ บลสามเรือน

ตําบลคลองจกิ

ตาํ บลคุงลาน

7

ลาํ ดบั จงั หวดั อาํ เภอท่ีรับผดิ ชอบ ตําบลที่จดั เกบ็ ขอมลู ผูรับผดิ ชอบ

8 ตาํ บลตลาดเกรยี บ

ตาํ บลตลงิ่ ชัน

และตาํ บลบา นพลับ

อําเภอพระนครศรี ตําบลหันตรา

อยธุ ยา ตําบลหัวรอ

ตาํ บลคลองตะเคียน

ตาํ บลไผล ิง

ตําบลบา นรนุ

ตําบลบานเกาะ

ตาํ บลลุมพลี

และตําบลสวนพริก

อําเภอผักไห ตาํ บลนาคู คณะมนุษยศาสตรและ

อําเภอเสนา ตาํ บลเจาเสดจ็ สงั คมศาสตร

ตาํ บลบางนมโค (21 ตาํ บล)

ตาํ บลมารวชิ ัย

ตําบลสามกอ

และตาํ บลเจาเจ็ด

อําเภอบางไทร ตาํ บลหอ หมก

ตําบลเชียงรากนอย

ตําบลบางพลี

ตาํ บลแคออก

ตําบลบางยโ่ี ท

ตําบลโพแตง

ตําบลบา นกลึง

ตําบลไมต รา

ตําบลบา นเกาะ

และตาํ บลหนา ไม

อาํ เภอบางซาย ตําบลบางซาย

ตําบลปลายกลัด

และตําบลเตาเลา

อาํ เภอลาดบวั หลวง ตําบลสามเมือง

และตาํ บลสงิ หนาท

ลาํ ดับ จังหวดั อําเภอที่รบั ผิดชอบ ตําบลทีจ่ ดั เกบ็ ขอ มลู ผรู บั ผดิ ชอบ

2 อางทอง อาํ เภอเมอื งอางทอง ตําบลคลองวัว คณะครุศาสตร

ตาํ บลตลาดกรวด (9 ตาํ บล)

ตําบลบานอิฐ

ตาํ บลปาง้วิ

และตําบลโพสะ

อาํ เภอไชโย ตาํ บลจรเขรอง

และตําบลชะไว

อาํ เภอปา โมก ตําบลบางเสด็จ

และตาํ บลปา โมก

อาํ เภอโพธิ์ทอง ตําบลโคกพุทรา คณะวิทยาศาสตรและ

ตําบลคําหยาด เทคโนโลยี

ตําบลบางพลับ (7 ตาํ บล)

ตําบลบางเจาฉา

ตาํ บลยางชาย

ตําบลอนิ ทประมูล

และตําบลอางแกว

อําเภอวิเศษชยั ชาญ ตาํ บลไผจ าํ ศิล สถาบนั วิจัยและพัฒนา

ตาํ บลย่ีลน (6 ตาํ บล)

ตําบลศาลเจา โรงทอง

และตําบลไผด าํ พัฒนา

อาํ เภอสามโก ตาํ บลมงคลธรรมนมิ ิต

และตําบลโพธิ์มวงพนั ธ

การลงพ้ืนท่ีเปาหมายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ไดรับความรวมมือจากทั้ง
คณาจารย นักศกึ ษา ประชาชนและบุคลากรภาครัฐหรือภาคเอกชนในทอ งถ่นิ ดังภาพท่ี 5 ถงึ ภาพท่ี 8 เพื่อการ
เก็บขอมูลพ้ืนฐานใหครบถวนทั้ง 7 ดาน และเปนขอมูลที่เปนขอเท็จจริงจากชุมชน เพ่ือประโยชนในการ
วางแผนพัฒนาชุมชนอยางมีประสิทธภิ าพตอไป

9

ภาพท่ี 5 ตัวอยา งภาพการมีสวนรวมในการลงพืน้ ที่เก็บขอ มลู พ้ืนฐานระดับตําบลระหวา งคณาจารย
นกั ศึกษา และชมุ ชนพื้นทบี่ ริการ

ภาพท่ี 6 ตัวอยางภาพการมสี ว นรวมในการลงพื้นทเี่ กบ็ ขอมลู พ้ืนฐานระดับตําบลระหวา งคณาจารย
นกั ศกึ ษา และชุมชนพน้ื ท่บี ริการ

10

ภาพท่ี 7 ตัวอยา งภาพการมสี ว นรว มในการลงพน้ื ที่เกบ็ ขอ มลู พ้ืนฐานระดับตาํ บลระหวา งคณาจารย
นกั ศกึ ษา และชุมชนพื้นที่บริการ

ภาพที่ 8 ตวั อยางภาพการมีสวนรว มในการลงพ้นื ทีเ่ กบ็ ขอ มลู พ้ืนฐานระดับตาํ บลระหวางคณาจารย
นักศกึ ษา และชุมชนพื้นท่บี ริการ
11

3 สรุปผลโครงการพัฒนาระบบขอ มลู ตําบล
ในจงั หวัดพระนครศรีอยุธยาและจงั หวัดอางทอง
โครงการพัฒนาระบบขอมูลตําบลในจังหวัด ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ภายใต
ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ไดพัฒนาระบบขอมูลตําบลท่ีจัดเก็บขอมูลพ้ืนฐาน
7 ดานในระดับตําบลของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง (http://tambon.aru.ac.th)
ซ่ึงขอมูลพื้นฐานในระบบขอมูลตําบล ประกอบดวย ขอมูลดานทุนที่แสดงศักยภาพของตําบล ขอมูลดานการ
สื่อสาร ขอมูลดานการดูแลสุขภาพ ขอมูลดานประชากร ขอมูลดานสิ่งแวดลอม ขอมูลดานเศรษฐกิจชุมชน
และขอมลู ดา นการเมอื งการปกครอง

ระบบขอมูลตําบลของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีผูใชงานแบงเปน 2 ประเภท ไดแก
ผูด ูแลระบบ และผูใชงาน โดยทผี่ ูด แู ลระบบสามารถตรวจสอบสถานะขอมลู ทงั้ 7 ดานของ 85 ตําบลในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทองผานระบบได ดังภาพที่ 9 และภาพที่ 10 ตามลําดับ สวนผูใชงาน
สามารถกรอกขอมูลจากแบบสอบถามขอมูลชุดพ้ืนฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล) ลงสูระบบไดโดยงาย เนื่องจาก
ระบบถูกออกแบบใหสอดคลองกับแบบสอบถาม รวมทั้งผูใชงาน สามารถตรวจสอบสถานะขอมูลโดยรวมท้ัง
7 ดา นของตาํ บลที่ตนเองรบั ผิดชอบผานระบบได ดังภาพที่ 11

ภาพท่ี 9 ตัวอยา งหนาจอแสดงความครบถว นของขอ มลู พืน้ ฐาน 7 ดานของแตละตําบลในจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

12

ภาพท่ี 10 ตวั อยางหนาจอแสดงความครบถวนของขอมูลพน้ื ฐาน 7 ดานของแตละตําบลในจังหวัดอางทอง

ภาพท่ี 11 ตวั อยางหนาจอแสดงสถานะของขอ มลู พืน้ ฐาน 7 ดาน (ระดับตําบล)

โดยสรุป การดําเนินงานของโครงการในระยะที่ 2 (ปพ.ศ. 2564) ไดจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน 7 ดาน
ตามพ้ืนที่บริการของมหาวิทยาลัย ท้ัง 16 อําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวม 63 ตําบล และ 7 อําเภอ
ของจังหวัดอางทอง รวม 22 ตําบล โดยแตละอําเภอมีจํานวนตําบลท่ีลงพื้นที่เก็บขอมูลดังภาพที่ 12 และ
ภาพที่ 13 และรายชอ่ื ตาํ บลของแตล ะอําเภอ ดังตารางที่ 1

13

ภาพท่ี 12 จํานวนตาํ บลท่ีลงพน้ื ที่เกบ็ ขอมลู ในแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

ภาพที่ 13 จํานวนตาํ บลทล่ี งพื้นท่เี กบ็ ขอมูลในแตล ะอาํ เภอของจังหวดั อา งทอง

ขอมูลชุดพ้ืนฐานระดับตําบล ไดแก ขอมูลดานทุนที่แสดงศักยภาพของตําบล ขอมูลดานการส่ือสาร
ขอมูลดานการดูแลสุขภาพ ขอมูลดานประชากร ขอมูลดานสิ่งแวดลอม ขอมูลดานเศรษฐกิจชุมชน และขอมูล
ดา นการเมืองการปกครอง สามารถสรุปไดดังนี้

14

ดา นที่ 1 ขอมูลดา นทุนทแี่ สดงถงึ ศักยภาพของตําบล

การสรุปภาพรวมของขอมูลดานทุนท่ีบงบอกถึงศักยภาพของชุมชนในแตละอําเภอของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและอางทอง ซ่ึงประกอบไปดวย ทุนที่เปนบุคคล ทุนที่เปนกลุมหรือเครือขาย ทุนท่ีเปน
หนวยงาน องคกร หรือสถาบัน ทุนท่ีเปนเงิน/กองทุน ทุนที่เปนทรัพยากรธรรมชาติและแหลงประโยชนที่
ประชาชนสามารถเขาถึงและใชป ระโยชนไ ด และทนุ ที่เปนแหลง ทองเท่ยี ว

1.1 ทุนท่ีเปน บุคคลในแตละอาํ เภอของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาและอางทอง ประกอบดว ย ผูนําภาค
ประชาชน (แกนนํา ผูนํา คนเกง ปราชญชาวบาน คนสําคัญ) ผูนําทองที่ (ผูใหญบาน กํานัน) ผูนําองคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน (นายก อบต./เทศบาล ปลัด อบต./เทศบาล สมาชิก อบต./เทศบาล) และผูนําท่ีเปน
บุคลากรของหนวยงานภาครฐั ซ่ึงอาศัยอยูในพื้นที่ (ครู นักพัฒนาชุมชน แพทย พยาบาล เจาหนาท่ีสาธารณสขุ
ทหาร ตํารวจ ขาราชการเกษียณ) โดยทุนที่เปนบุคคลในแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แสดงดัง
ภาพที่ 14 ซ่ึงอําเภอพระนครศรีอยุธยามีทุนท่ีเปนบุคคลทางดานผูนําภาคประชาชนมากท่ีสุด และอําเภอ
โพธ์ิทองของจงั หวดั อา งทองมที นุ ที่เปน บคุ คลทางดานผูนาํ ภาคประชาชนมากทสี่ ุด ดังภาพที่ 15

ภาพท่ี 14 ปริมาณทุนที่เปนบคุ คลในแตล ะอาํ เภอของจังหวดั พระนครศรีอยุธยา

ภาพที่ 15 ปริมาณทุนที่เปน บคุ คลในแตล ะอําเภอของจังหวัดอางทอง

15

นอกจากนี้ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและอางทองมีภาพรวมของจํานวนปราชญชาวบาน โดยท่ี
อําเภอทาเรือของจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจํานวนปราชญชาวบานมากท่ีสุด รองลงมาคือ อําเภอบางบาล
ดังภาพท่ี 16 และอําเภอโพธ์ิทองของจังหวัดอางทองมีจํานวนปราชญชาวบานมากท่ีสุด รองลงมาคือ
อําเภอเมืองอา งทอง ดงั ภาพท่ี 17

ภาพที่ 16 ปรมิ าณปราชญชาวบา นในแตละอาํ เภอของจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ภาพที่ 17 ปรมิ าณปราชญชาวบา นในแตละอําเภอของจงั หวดั อางทอง

1.2 ทุนท่ีเปนกลุมหรือเครือขาย ทุนที่เปนหนวยงานหรือองคกร ทุนที่เปนเงินหรือกองทุน ทุนท่ีเปน
ทรัพยากรธรรมชาติและแหลงประโยชนท่ีประชาชนสามารถเขาถึงและใชประโยชนได และทุนท่ีเปนแหลง
ทองเที่ยว ซึ่งมีการเปรียบเทียบปริมาณทุนดังกลาวของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและอางทอง
โดยท่ีอําเภออุทัยของจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีปริมาณทุนท่ีเปนเงิน/กองทุนสูงสุด ดังภาพท่ี 18 และ
อาํ เภอโพธทิ์ องของจังหวัดอา งทองมีปรมิ าณทนุ ทีเ่ ปน เงิน/กองทนุ สงู สุด ดงั ภาพที่ 19

16

ภาพท่ี 18 ปรมิ าณทุนตาง ๆ ท่ีแสดงถึงศักยภาพในแตล ะอําเภอของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ภาพท่ี 19 ปรมิ าณทุนตาง ๆ ท่แี สดงถงึ ศักยภาพในแตล ะอาํ เภอของจังหวดั อา งทอง

17

ดา นท่ี 2 ขอ มลู ดา นการสอื่ สาร

การสรุปภาพรวมของปริมาณชองทางการส่ือสารของผูใหขอมูลแตละประเภทของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและอางทอง โดยแบง กลุมตามประเภทของผูใหข อ มูลได ดังน้ี

2.1 ปริมาณชองทางการสื่อสารของผูนําภาคประชาชนในแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
และอางทอง ซึ่งผูนําภาคประชาชน ไดแก แกนนํา ปราชญชาวบาน ผูประกอบพิธีกรรม อาสาสมัคร พระหรือ
ผูน าํ ทางศาสนา โดยทีอ่ าํ เภอบางปะหันของจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา มีปรมิ าณชองทางการสอื่ สารของแกนนํา
หรือคนเกงดานตาง ๆ มากที่สุด ดังภาพท่ี 20 และอําเภอเมืองอางทองของจังหวัดอางทอง มีปริมาณชองทาง
การสอื่ สารของผูนําภาคประชาชนโดยรวมมากท่สี ุด ดงั ภาพที่ 21

ภาพท่ี 20 ภาพรวมปริมาณชองทางการสือ่ สารของผูนําภาคประชาชนในแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ภาพที่ 21 ภาพรวมปรมิ าณชอ งทางการส่อื สารของผูนาํ ภาคประชาชนในแตละอาํ เภอของจงั หวดั อางทอง

2.2 ปริมาณชองทางการส่ือสารของผูนําทองท่ีในแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ
อางทอง ซึ่งผูนําทองท่ี ไดแก ผูใหญบานหรือกํานัน กรรมการหมูบาน โดยที่อําเภอบางไทรของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และอําเภอเมืองอางทองของจังหวัดอางทอง มีปริมาณชองทางการสื่อสารของผูนําทองที่
มากท่สี ุด ดงั ภาพที่ 22 และภาพท่ี 23 ตามลําดับ

18

ภาพท่ี 22 ภาพรวมปรมิ าณชองทางการส่ือสารของผนู าํ ทองที่ในแตละอาํ เภอของจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 23 ภาพรวมปริมาณชองทางการสอื่ สารของผนู ําทองทใ่ี นแตละอําเภอของจังหวัดอา งทอง

2.3 ปริมาณชองทางการส่ือสารของผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในแตละอําเภอของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและอางทอง ซ่ึงผูนําองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก คณะกรรมการบริหารสวนทองถิ่น
พนักงานสวนทองถิ่น ประธานสภาและสมาชิก อบต. หรือเทศบาล โดยท่ีอําเภอบางไทรของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และอําเภอเมืองอางทองของจังหวัดอางทอง มีปริมาณชองทางการส่ือสารของผูนําองคกร
ปกครองสว นทอ งถิ่นมากทีส่ ดุ ดงั ภาพที่ 24 และภาพท่ี 25 ตามลําดบั

19

ภาพท่ี 24 ภาพรวมปริมาณชองทางการสอื่ สารของผนู าํ องคก รปกครองสว นทองถ่ินในแตล ะอําเภอของจงั หวัด
พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 25 ภาพรวมปรมิ าณชอ งทางการส่ือสารของผูนําองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ ในแตล ะอาํ เภอของจังหวดั อางทอง

2.4ปริมาณชองทางการสอ่ื สารของผนู ําที่เปนบุคลากรของหนวยงานภาครัฐในแตละอาํ เภอของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและอางทอง ซ่ึงผูนําที่เปนบุคลากรของหนวยงานรัฐ ไดแก ครู นักพัฒนาชุมชน แพทย
พยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุข ตํารวจ ทหาร เจาหนาที่เกษตรตําบล โดยท่ีอําเภอบางปะหันของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และอําเภอเมืองอางทองของจังหวัดอางทอง มีปริมาณชองทางการส่ือสารของผูนําที่เปน
บคุ ลากรของหนวยงานรัฐมากทสี่ ุด ดงั ภาพที่ 26 และภาพที่ 27 ตามลําดับ

20

ภาพท่ี 26 ภาพรวมปริมาณชองทางการสอ่ื สารของผนู ําทเ่ี ปน บุคลากรของหนวยงานภาครฐั
ในแตละอาํ เภอของจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ภาพที่ 27 ภาพรวมปรมิ าณชอ งทางการสอื่ สารของผนู าํ ท่ีเปนบุคลากรของหนว ยงานภาครัฐ
ในแตล ะอาํ เภอของจงั หวัดอา งทอง

21

ดา นที่ 3 ขอมลู ดา นการดูแลสขุ ภาพ

การสรุปภาพรวมปญ หาดานสขุ ภาพ โดยแบง ออกเปน
3.1 โรคท่ีพบบอย 10 อันดับในพน้ื ทใี่ นระยะ 1 ปท่ผี านมา (ขอ มลู พ.ศ. 2563) โดยจําแนกตามจํานวน
รวมของผูปวยของแตละตําบลของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งโรคท่ีพบบอยท่ีสุดของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา คือ ไขหวัด (รอยละ 23.90) รองลงมา คือ ปวดเม่ือยกลามเนื้อ (รอยละ 16.80) ดังภาพ
ท่ี 28 และโรคที่พบบอย 10 อันดับในพ้ืนท่ีของจังหวัดอางทอง ซึ่งโรคท่ีพบบอยท่ีสุดของจังหวัดอางทอง คือ
ไขห วดั (รอยละ 33.80) และรองลงมา คอื วงิ เวยี นศรี ษะ (รอยละ 16.20) ดังภาพท่ี 29

ภาพท่ี 28 ภาพรวมของโรคที่พบบอ ย 10 อนั ดับในพืน้ ทจ่ี งั หวัดพระนครศรีอยุธยา

22

ภาพที่ 29 ภาพรวมของโรคท่พี บบอย 8 อนั ดับในพน้ื ทจี่ ังหวดั อา งทอง

3.2 โรคระบาดในพ้ืนที่ในระยะ 1 ปท่ีผานมา (ขอมูลพ.ศ. 2563) โดยมีการเปรียบเทียบโรคระบาด
หลายโรคของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงโรคระบาดสวนใหญของทุกอําเภอในจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา คือ อจุ จาระรวง ยกเวนอาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยาคอื โรคระบบทางเดินหายใจ ดงั ภาพที่ 30
และโรคระบาดสวนใหญของทุกอําเภอในจังหวัดอางทอง คือ อุจจาระรวงเชนกัน ยกเวนอําเภอวิเศษชัยชาญ
คอื โรคไขเ ลอื ดออก ดงั ภาพที่ 31

ภาพที่ 30 การเปรยี บเทียบโรคระบาดของแตละอาํ เภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

23

ภาพที่ 31 การเปรยี บเทียบโรคระบาดของแตละอําเภอในจงั หวัดอา งทอง

3.3 โรคเร้อื รังในพื้นทใี่ นระยะ 1 ปท ผี่ านมา (ขอมลู พ.ศ. 2563) โดยมกี ารเปรยี บเทยี บโรคเร้อื รงั หลาย
โรคของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงโรคเร้ือรังสวนใหญของทุกอําเภอในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา คือ โรคความดันโลหิตสูง ยกเวนอําเภอบางซาย คือ โรคเบาหวาน ดังภาพที่ 32 และ
โรคเรอื้ รังสวนใหญข องทกุ อําเภอในจงั หวัดอางทอง คือ โรคความดนั โลหติ สูง ดงั ภาพท่ี 33

ภาพที่ 32 การเปรยี บเทียบโรคเรอื้ รังของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ภาพท่ี 33 การเปรยี บเทียบโรคเรื้อรงั ของแตล ะอําเภอในจงั หวัดอางทอง

24

3.4 การจัดบริการตามปญหาและความตองการในพื้นที่ในระยะ 1 ปที่ผานมา (ขอมูลพ.ศ. 2563)
โดยมีบริการทางดานสุขภาพหลากหลายรูปแบบในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งปริมาณของการจัดบริการ
ดานสุขภาพของอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แสดงดังภาพท่ี 34 และปริมาณของการจัดบริการ
ดา นสขุ ภาพของอําเภอในจงั หวัดอางทอง แสดงดังภาพที่ 35

ภาพที่ 34 การจดั บรกิ ารตามปญ หาและความตอ งการทางดานสุขภาพในพน้ื ทีจ่ ังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

ภาพที่ 35 การจดั บริการตามปญ หาและความตอ งการทางดานสขุ ภาพในพื้นที่จังหวัดอา งทอง

3.5 สถานที่หรือแหลงบริการดานสุขภาพในพื้นที่ โดยมีสถานที่หรือแหลงบริการทางดานสุขภาพมี
หลากหลายรูปแบบท้ังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและอางทอง ซึ่งบาน อสม. ถือวาเปนสถานท่ีหรือ
แหลงบริการดานสุขภาพท่ีพบมากท่ีสุดในทุกอําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและอางทอง ดังภาพที่ 36
และภาพที่ 37 ตามลําดับ

25

ภาพที่ 36 สถานทีห่ รือแหลงบริการดา นสุขภาพในพืน้ ทขี่ องจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาพที่ 37 สถานท่หี รอื แหลง บรกิ ารดานสขุ ภาพในพืน้ ทขี่ องจังหวดั อางทอง

3.6 ผูใหบริการหรือดูแลรักษาดานสุขภาพในพ้ืนท่ี ประกอบดวย ผูใหบริการภาควิชาชีพ (แพทย
พยาบาล เจาหนาท่ีสาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข เจาหนาท่ีทันตสาธารณสุข ผูชวยพยาบาล) และ
ผูใหบริการภาคประชาชน (อสม. หมอพื้นบาน อาสาสมัคร กลุม/ชมรมผูปวยหรือสูงอายุ) ของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและอางทอง ซ่ึงปริมาณของผูใหบริการหรือดูแลรักษาดานสุขภาพที่มากท่ีสุดของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา คือ อสม. (รอยละ 66.60) รองลงมา คือ กลุม/ชมรมผูปวยหรือสูงอายุ (รอยละ 21.80)
ดังภาพที่ 38 สวนปริมาณของผูใหบริการหรือดูแลรักษาดานสุขภาพท่ีมากท่ีสุดของจังหวัดอางทอง คือ อสม.
(รอยละ 46.40) รองลงมา คอื กลุม /ชมรมผูปวยหรือสูงอายุ (รอยละ 41.40) เชนกนั ดังภาพที่ 39

26

ภาพที่ 38 ผูใหบ ริการภาควิชาชีพของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 39 ผใู หบ รกิ ารภาควิชาชพี ของจังหวดั อา งทอง
27

ดา นท่ี 4 ขอมลู ดานประชากร

ขอมูลดานประชากร ประกอบไดดวย จํานวนประชากรโดยรวม จํานวนประชากรจําแนกตามชวงอายุ
สถิติการเกิดและการตาย การจัดการศึกษาในชุมชน และการอพยพแรงงานเขามาทํางานในพื้นท่ี ซึ่งมี
รายละเอียด ดังน้ี

4.1 การสรุปภาพรวมจํานวนประชากรแตละอําเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง
โดยท่ีอําเภอพระนครศรีอยุธยาของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจํานวนประชากรมากท่ีสุด รองลงมาคืออําเภอ
บางปะอิน และอําเภอวังนอย ตามลําดับ ดังภาพที่ 40 สวนอําเภอโพธิ์ทองของจังหวัดอางทอง มีจํานวน
ประชากรมากทสี่ ุด รองลงมาคอื อาํ เภอเมอื งอา งทอง และอาํ เภอวิเศษชยั ชาญ ตามลําดับดังภาพท่ี 41

ภาพที่ 40 ภาพรวมจํานวนประชากรแตล ะอําเภอของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

ภาพท่ี 41 ภาพรวมจํานวนประชากรแตล ะอาํ เภอของจังหวัดอา งทอง

28

4.2 การสรุปภาพรวมจํานวนประชากรตามชวงอายุของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง
ทั้งหมด 12 ชวงอายุ ไดแก ชวงอายุ 1 เดือน-5 เดือน ชวงอายุ 6 เดือน-1 ป 0 เดือน ชวงอายุ 1 ป 1 เดือน-
2 ป ชวงอายุ 3 ป-5 ป ชวงอายุ 6 ป-12 ป ชวงอายุ 13 ป-14 ป ชวงอายุ 15 ป-18 ป ชวงอายุ 19 ป -26 ป
ชวงอายุ 26 ป- 34 ป ชวงอายุ 35 ป- 49 ป ชว งอายุ 50 ป- 59 ป และชว งอายุ 60 ปข ึ้นไป โดยแบงออกเปน เพศ
ชายและเพศหญิง โดยจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจํานวนประชากรชวงอายุ 35 ป-49 ป มากท่ีสุด ตามกราฟ
ดังภาพท่ี 42 และจังหวดั อา งทองมจี ํานวนประชากรชว งอายุ 60 ปข ้ึนไปมากที่สุด ดงั ภาพท่ี 43

ภาพที่ 42 จาํ นวนประชากรเพศชายและเพศหญงิ จาํ แนกตาม 12 ชวงอายุของจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

ภาพที่ 43 จํานวนประชากรเพศชายและเพศหญิง จาํ แนกตาม 12 ชว งอายุของจงั หวดั อางทอง

4.3 การสรุปภาพรวมจํานวนประชากรเกิดใหมในรอบ 1 ปของแตละอําเภอในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซ่ึงอําเภอพระนครศรีอยุธยามีจํานวนประชากรเกิดใหมมากท่ีสุด
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดังภาพที่ 44 และอําเภอโพธ์ิทอง มีจํานวนประชากรเกิดใหมมากที่สุดในจังหวัด
อางทอง ดังภาพที่ 45 ตามลําดับ

29

ภาพท่ี 44 จาํ นวนประชากรเกิดใหมแตล ะอําเภอของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

ภาพที่ 45 จาํ นวนประชากรเกดิ ใหมแ ตละอาํ เภอของจงั หวัดอางทอง

4.4 การสรุปภาพรวมจํานวนผูเสียชีวิตในรอบ 1 ปของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ
จังหวัดอางทอง ซ่ึงอําเภอพระนครศรีอยุธยาของจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยามีจํานวนผูเสยี ชีวติ มากที่สดุ ดังภาพ
ท่ี 46 สาํ หรับจังหวดั อางทอง อําเภอโพธิ์ทองและอาํ เภอสามโก มีจาํ นวนผเู สยี ชีวิตมากทสี่ ุด ดังภาพที่ 47

ภาพที่ 46 จํานวนผเู สยี ชีวติ ในรอบ 1 ปข องแตละอาํ เภอในจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

30

ภาพที่ 47 จํานวนผูเสยี ชวี ติ ในรอบ 1 ปของแตล ะอาํ เภอในจังหวัดอางทอง

4.5 การสรุปภาพรวมสาเหตุการเสียชีวิตในรอบ 1 ปของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
และจังหวัดอางทอง ซึ่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีผูเสียชีวิตจากสาเหตุโรคเรื้อรังมากท่ีสุด (รอยละ 60.50)
รองลงมาคอื ชรา (รอ ยละ 28) ดังภาพท่ี 48 และจงั หวดั อางทองมีผเู สียชีวิตจากสาเหตุชรามากที่สดุ (รอย
ละ 39.60) รองลงมาคือ โรคเร้อื รัง (รอยละ 32.20) ดังภาพที่ 49

ภาพที่ 48 สาเหตกุ ารเสยี ชีวิตของประชากรในจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

31

ภาพท่ี 49 สาเหตุการเสยี ชวี ิตของประชากรในจังหวดั อางทอง

4.6 การจัดการศึกษาของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซ่ึงแสดงใน
รูปแบบของปริมาณของสถานศึกษาประกอบดวย ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียน
มัธยมศึกษา โรงเรียนอาชีวศึกษา ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน ศูนยการศึกษาตอเน่ืองระดับอุดมศึกษา
วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยระดับอุดมศึกษา และศูนยฝกอาชีพหรือวิทยาลัยชุมชน ดังภาพที่ 50 และภาพที่ 51
ตามลําดบั

ภาพท่ี 50 การจัดการศึกษาของแตละอําเภอในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

32

ภาพท่ี 51 การจัดการศึกษาของแตล ะอาํ เภอในจงั หวดั อางทอง

4.7 การอพยพแรงงานเขามาทํางานในพื้นท่ีของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัด
อางทอง ประกอบไปดวยแรงงานตางดาวท่ีอยูแบบถาวรและอยูแบบชั่วคราว โดยที่แรงงานตางดาวที่อยูแบบ
ถาวรของอําเภอพระนครศรีอยุธยามีปริมาณมากท่ีสุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองลงมาคือ อําเภอเสนา
ดังภาพท่ี 52 และแรงงานตางดาวท่ีอยูแบบถาวรของอําเภอเมืองอางทองมีปริมาณมากที่สุดในจังหวัดอางทอง
รองลงมาคอื อาํ เภอโพธิท์ อง ดังภาพท่ี 53

นอกจากนี้การอพยพแรงงานเขามาทํางานในพ้ืนที่ของแตละอําเภอในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ
จังหวัดอางทองแบบช่ัวคราว แสดงดังภาพที่ 54 และ 55 ตามลําดับ โดยที่แรงงานตางดาวท่ีอยูแบบชั่วคราว
ของอําเภออุทัยมีปริมาณมากที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองลงมาคือ อําเภอพระนครศรีอยุธยา และ
แรงงานตางดาวที่อยูแบบชั่วคราวของอําเภอเมืองอางทองมีปริมาณมากท่ีสุดในจังหวัดอางทอง รองลงมาคือ
อําเภอปา โมก

ภาพที่ 52 การอพยพของแรงงานตางดา วท่อี ยูแบบถาวรของจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

33

ภาพท่ี 53 การอพยพของแรงงานตา งดา วที่อยแู บบถาวรของจังหวัดอางทอง
ภาพที่ 54 การอพยพของแรงงานตา งดาวที่อยแู บบช่ัวคราวของจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 55 การอพยพของแรงงานตางดา วทีอ่ ยูแบบชว่ั คราวของจงั หวัดอางทอง

ดานท่ี 5 ขอมูลดา นสง่ิ แวดลอม

34

การสรุปขอ มลู เก่ียวกับปญ หาดานส่งิ แวดลอ มของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยาและจังหวัดอา งทอง โดยมี
รายละเอยี ด ดังน้ี

5.1 การจัดการปญหาขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวิธีการท่ีนิยมในการจัดการขยะ คือ
การจัดเก็บขยะโดย อปท. (เทศบาล/อบต./อบจ.) (รอยละ 32.80) รองลงมาคือ การคัดแยกขยะ (รอยละ
25.40) และจังหวัดอางทอง มีวิธีการท่ีนิยมในการจัดการขยะ คือ การคัดแยกขยะ (รอยละ 31.40) รองลงมา
คอื การจดั เก็บขยะโดย อปท. (เทศบาล/อบต./อบจ.) (รอ ยละ 28.60) ดังภาพที่ 56 และภาพท่ี 57 ตามลําดับ

ภาพที่ 56 สดั สวนวิธีการจัดการปญหาขยะของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

35

ภาพท่ี 57 สัดสว นวิธีการจัดการปญ หาขยะของจังหวดั อางทอง

5.2 การจัดการปญหามลภาวะหรือมลพิษของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซึ่ง
จังหวัดพระนครศรีอยุธยานิยมจัดการมลภาวะหรือมลพิษดวยวิธีการใชวัสดุและอุปกรณปองกันการเกิด
ควันพิษและฝุนละออง และการสงเสริมการทําเกษตรอินทรียและลดปริมาณการใชสารเคมี (รอยละ 28.10)
รองลงมาคือ การรณรงคใหเกษตรกรไมเผาทุงนาและตอซัง (รอยละ 21.90) ดังภาพท่ี 58 และจังหวัดอางทอง
นิยมจัดการมลภาวะหรือมลพิษดวยวิธีการสงเสริมการทําเกษตรอินทรียและลดปริมาณการใชสารเคมี
(รอยละ 71.40) รองลงมาคือ การใชวัสดุและอุปกรณปองกันการเกิดควันพิษและฝุนละออง และการทําบอดัก
ไขมันในครวั เรอื น (รอยละ 14.30) ดังภาพท่ี 59

36

ภาพที่ 58 สัดสวนวธิ ีการจดั การปญ หามลภาวะหรือมลพษิ ของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 59 สัดสว นวธิ กี ารจัดการปญหามลภาวะหรือมลพษิ ของจังหวดั อา งทอง
37

5.3 การจัดการปญหาจุดอันตรายหรือพ้ืนที่เสี่ยงตอการเกิดปญหาอาชญากรรมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซ่ึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจัดการปญหาจุดอันตรายหรือพื้นท่ีเสี่ยง
ตอการเกิดปญหาอาชญากรรมโดยวิธีการที่นิยม คือ การติดไฟสองสวางในบริเวณที่เปนจุดอันตราย และการ
ซอมแซมถนนในสวนท่ชี ํารุดเสียหาย (รอยละ 23.60) รองลงมาคือ การตดิ ปา ยหรอื สญั ญาณเตอื นบรเิ วณที่เปน
จุดอันตราย (รอยละ 19.40) ดังภาพท่ี 60 และจังหวัดอางทองจัดการปญหาจุดอันตรายหรือพ้ืนที่เสี่ยงตอการ
เกิดปญหาอาชญากรรมโดยวิธีการท่ีนิยมคือ การติดไฟสองสวางในบริเวณที่เปนจุดอันตราย (รอยละ 30)
รองลงคือ การคนหาจุดเส่ียงหรือจุดอันตรายในชุมชน และการติดปายหรือสัญญาณเตือนบริเวณที่เปนจุด
อันตราย (รอยละ 20) ดงั ภาพที่ 61

ภาพท่ี 60 สัดสวนการจดั การปญหาจุดอนั ตรายหรือพ้นื ที่เสี่ยงตอ การเกดิ ปญหาอาชญากรรมของจังหวดั พระนครศรีอยุธยา

38

ภาพท่ี 61 สดั สวนการจัดการปญ หาจดุ อนั ตรายหรอื พืน้ ทเี่ ส่ียงตอ การเกดิ ปญหาอาชญากรรมของจงั หวดั อางทอง

5.4 การจัดการปญหาการขาดแคลนนํ้าของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซึ่งจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจัดการปญหาการขาดแคลนน้ําโดยวิธีการที่นิยมคือ การจัดทําระบบประปาของชุมชน การ
ผลิตนํ้าดื่มเพื่อจําหนายใหกับชุมชน และการจัดหานํ้าสะอาดไวแจกจายกรณีเกิดภัยแลง (รอยละ 23.60)
รองลงมาคือ การติดตอ อบต. เพื่อขอการสนับสนุนนํ้าอุปโภคบริโภค (รอยละ 10.50) ดังภาพท่ี 62 และ
จังหวัดอางทองจัดการปญหาการขาดแคลนนํ้าโดยวิธีการท่ีนิยมคือ การจัดทําระบบประปาของชุมชน
(รอยละ 40) รองลงมา คือ การจดั หาน้าํ สะอาดไวแจกจา ยกรณีเกดิ ภัยแลง (รอยละ 30) ดังภาพท่ี 63

39

ภาพที่ 62 สดั สว นการจัดการปญหาการขาดแคลนน้ําของจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ภาพที่ 63 สดั สว นการจัดการปญ หาการขาดแคลนนํ้าของจังหวัดอา งทอง
40

5.5 การจัดการปญหาภัยธรรมชาติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง ซ่ึงจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจัดการปญหาภัยธรรมชาติดวยวิธีการที่นิยมคือ การดูแลชวยเหลือในกรณีเรงดวนหรือ
ฉุกเฉิน (รอยละ 50) รองลงมาคือ การควบคุมปองกันปญหาจากภัยธรรมชาติ (รอยละ 42.90) ดังภาพท่ี 64
และจังหวัดอางทองจัดการปญหาภัยธรรมชาติดวยวิธีการท่ีนิยมคือ การดูแลชวยเหลือในกรณีเรงดวนหรือ
ฉุกเฉิน (รอยละ 43.80) รองลงมา คอื การควบคุมปอ งกนั ปญ หาจากภัยธรรมชาติ (รอยละ 25) ดงั ภาพท่ี 65

ภาพท่ี 64 สดั สวนการจัดการปญ หาภยั ธรรมชาติของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

41

ภาพท่ี 65 สัดสว นการจดั การปญ หาภยั ธรรมชาติของจงั หวดั อา งทอง

5.6 ปญหาส่ิงแวดลอมในชุมชนที่ยังตองการพัฒนาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง

โดยท่ีจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยามปี ญหาดานสิง่ แวดลอ มทย่ี ังตองการพัฒนา 5 อันดับแรก ไดแก ปญหาขยะมูล

ฝอย (รอยละ 15.80) ปญหาควันพิษหรือฝุนละออง (รอยละ 14.60) ปญหาถนนขรุขระ (รอยละ 12.90)

ปญหาภัยธรรมชาติ (รอยละ 11.10) และปญหาถนนไมม ไี ฟสองสวางหรอื ไมม ีปายเตือนจดุ อนั ตราย (รอ ย

ละ 10.50) ตามลําดับ ดังภาพที่ 66 และจังหวัดอางทองมีปญหาดานสิง่ แวดลอมท่ียังตองการพัฒนา 5 อันดับ

แรก ไดแก ปญหาขยะมูลฝอย (รอยละ 16.30) ปญหาการใชสารเคมีในการเกษตร (รอยละ 12.80) ปญหา

ถนนขรุขระหรือปญหาภัยธรรมชาติ (รอยละ 11.60) ปญหาถนนไมมีปายเตือนจุดอันตราย (รอยละ

10.50) และปญหาถนนไมม ีไฟสองสวา ง (รอ ยละ 9.30) ตามลาํ ดับ ดงั ภาพที่ 67

42

ภาพท่ี 66 ปริมาณของปญหาสงิ่ แวดลอมในชมุ ชนท่ยี งั ตอ งการพฒั นาในจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ภาพท่ี 67 ปรมิ าณของปญหาส่งิ แวดลอมในชมุ ชนที่ยงั ตอ งการพฒั นาในจังหวดั อา งทอง
43

5.7 การจัดการสิ่งแวดลอมในชุมชนที่เอื้อตอการสรางเสริมสุขภาพในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ
จังหวัดอางทอง โดยท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีการจัดการสิ่งแวดลอมในชุมชนที่เอ้ือตอการสรางเสริม
สุขภาพ สวนใหญคือการจัดใหมีสถานที่ออกกําลังกายหรือสวนสาธารณะ (รอยละ 22.80) รองลงมา คือ
การจัดใหมีสถานท่ีสําหรับเปนท่ีพบปะหรือทํากิจกรรมเพ่ือสวนรวม (รอยละ 22.10) ดังภาพท่ี 68 และจังหวัด
อางทองมีการจัดการสิ่งแวดลอมในชุมชนที่เอ้ือตอการสรางเสริมสุขภาพ สวนใหญคือ การจัดใหมีสถานที่ออก
กําลังกายหรือสวนสาธารณะและการอนุรักษแหลงนํ้า (รอยละ 23.20) และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
ในพ้นื ที่ (รอยละ 17.90) ดังภาพท่ี 69

ภาพท่ี 68 สดั สว นการจัดการส่งิ แวดลอมในชมุ ชนทเ่ี อ้อื ตอ การสรางเสริมสขุ ภาพในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

44

ภาพที่ 69 สดั สวนการจดั การสง่ิ แวดลอมในชุมชนท่ีเอื้อตอการสรา งเสรมิ สขุ ภาพในจงั หวัดอา งทอง

ดา นท่ี 6 ขอ มลู ดานเศรษฐกจิ ชมุ ชน

45

การสรุปภาพรวมของขอมูลดานเศรษฐกิจชุมชน ประกอบดวย อาชีพหลักของประชากรสวนใหญ
ในชุมชน การรวมกลุมอาชีพของประชาชนในชุมชน แหลงเงินทุนในการดําเนินงานของกลุมอาชีพ
และกิจกรรมท่เี ปนการสงเสริมและสนับสนุนใหป ระชาชนในชมุ ชนมคี วามมั่นคงทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีรายละเอียด
ดงั นี้

6.1 อาชีพหลักของประชาชนสวนใหญในชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดอางทอง
โดยท่ีอาชีพหลักของประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญ คือ รับจางทั่วไป (รอยละ 24.50)
รองลงมาคอื ทาํ นา (รอยละ 24.1) ดงั ภาพท่ี 70 และอาชีพหลกั ของประชาชนในจังหวดั อา งทองสวนใหญ คอื
ทาํ นา (รอยละ 24.10) รองลงมาคือ รับจา งทัว่ ไป (รอยละ 21.70) ดังภาพที่ 71

ภาพท่ี 70 สดั สว นอาชพี หลักของประชาชนสว นใหญใ นชมุ ชนในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

46


Click to View FlipBook Version