คำนำ
จากนโยบาย ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖4
นโยบายเลขาธกิ าร กศน. นโยบายเฉพาะ ดา้ นภารกจิ ตอ่ เน่ือง (ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ขอ้ ท่ี ๑.๓
การศึกษาตอ่ เนื่อง ขอ้ 1.3.1 จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลกั สูตรและการจัดกระบวนการ
เรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกึ อบรม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมอาสา
การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่
เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุ
วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บคุ คลรวมกลุ่มเพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรูร้ ่วมกันสรา้ งกระบวนการจิตสาธารณะ
การสร้างจิตสำนึกการเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพและรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็น
พลเมืองที่ดี ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบำเพ็ญประโยชน์ในชมุ ชน การบรหิ ารจัดการน้ำ การรบั มือกับสาธารณภยั การ
อนรุ ักษ์พลงั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม การช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ในการพัฒนาสังคมและชุมชน
อย่างยั่งยนื จงึ ไดก้ ำหนดทิศทางการดำเนนิ งาน เพ่อื ใหบ้ รกิ ารกลมุ่ เปา้ หมายประชาชนทอี่ ย่นู อกระบบโรงเรียน
ในอันที่จะนำไปสู่การพัฒนาสงั คมและชุมชนอย่างยัง่ ยนื ๔ รูปแบบ คือการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพ่ือ
พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมจัดการศึกษาชุมชนเพ่ือ
มงุ่ ให้เกิดสังคมแหง่ การเรียนรู้และการศึกษาตลอดชวี ิต การดำเนนิ งานโดย สง่ เสริมและจดั การศกึ ษาตลอดชีวิต
เพ่ือพฒั นาคนให้มคี วามรู้และทักษะท่ีจำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ติ ในสังคมปัจจบุ ัน
ฝ่ายงานพฒั นาสังคมและชุมชนจงึ ไดจ้ ัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนนิ งานการจัดโครงการ
อบรมให้ความรู้การรับมือกับสาธารณภัย และได้สรุปสาระสำคัญในภาพรวมของการดำเนินงาน เพื่อเผยแพร่
ผลงานการจัดกิจกรรม อันจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และภาคีเครือข่าย เพื่อนำไปเป็นข้อมูล
พนื้ ฐานในการพฒั นางานใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กป่ ระชาชนกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพตอ่ ไป
ผจู้ ดั ทำ
กศน.ตำบลบกู ิต
สารบญั หน้า
บทท่ี ๑ บทนำ ๑
- ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ ๑
- วตั ถปุ ระสงค์ ๑
- เปา้ หมาย ๓
- งบประมาณ ๓
- ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ 3
- เครอื ขา่ ยท่ีเกีย่ วข้อง 4
- ผลลพั ธ์
5
บทท่ี ๒ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง 7
- ความหมายและชนิดภัยพิบัตติ า่ งๆ 25
- ปัจจัยตา่ งๆท่ีทำใหเ้ กดิ ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
- แนวทางและวธิ ีการป้องกันภัยพิบัติ 30
30
บทท่ี ๓ วิธดี ำเนนิ การ 30
- ขนั้ การเตรยี มการ 31
- ขน้ั ดำเนินการ
- นิเทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล 33
33
บทที่ ๔ ผลการศึกษา 33
บทท่ี ๕ สรปุ ผลการศกึ ษา
- สรปุ ผลการศกึ ษา
- ประโยชนท์ ่ีได้รบั
- ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
- ภาพประกอบกจิ กรรม
- โครงการ
- บันทึกขออนญุ าตจัดกิจกรรม
- เอกสารขออนุมตั ิ
- หนังสอื เชญิ
- คำสง่ั
- รายชือ่ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
1
บทท่ี ๑
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ
นโยบายเลขาธิการ กศน. นโยบายเฉพาะ ด้านภารกิจต่อเนื่อง (ด้านการจัดการศึกษาและ
การเรียนรู้ ข้อที่ ๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ข้อ1.3.1 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตร
และการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ การจัดกิจกรรมอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและ
บริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและ
อุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสำนึกการเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพและ
รับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดี ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุข การสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม การเป็นจติ อาสา การบำเพญ็ ประโยชนใ์ นชุมชน การบรหิ ารจัดการน้ำ
การรบั มือกบั สาธารณภัย การอนุรกั ษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การชว่ ยเหลือซึ่งกันและกัน
ในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยา่ งย่ังยนื
ด้วยเหตุนี้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอจงึ ไดจ้ ดั ทำโครงการ
อบรมให้ความรู้การรบั มือกบั สาธารณภัย มคี วามรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกต้องเก่ียวกบั การปอ้ งกันการเกิดสาธารณ
ภัยภัยในรูป แบบตา่ ง ๆ ได้
วตั ถุประสงค์
1 เพอ่ื ให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจท่ถี ูกต้องเกี่ยวกับการปอ้ งกนั การเกิดสาธารณภยั ภัยใน
รปู แบบตา่ ง ๆ ได้
2 เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมาย มีทักษะสามารถแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขนึ้
3 เพือ่ ให้กลุม่ เป้าหมาย มจี ิตสาธารณะทจ่ี ะช่วยเหลือเมื่อมเี หตุการณ์ภัยพิบัติเกิดขึ้น รวมทั้งสามารถ
ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
เป้าหมาย
๑ เชิงปริมาณ
- เยาวชนและประชาชน กศน.ตำบลบูกิต จำนวน 6 คน
๒ เชงิ คณุ ภาพ
กล่มุ เป้าหมายมคี วามรู้ ความเข้าใจท่ถี ูกต้องเกย่ี วกบั การป้องกนั การเกดิ ภัยพบิ ัติ ในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ มีทักษะสามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคเมอ่ื มีเหตกุ ารณเ์ กดิ ขึน้ และมจี ิตสาธารณะทจี่ ะช่วยเหลอื
เม่อื มีเหตุการณ์ภัยพบิ ัตเิ กิดข้ึน รวมทัง้ สามารถไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
1
2
๖. วธิ ดี ำเนินการ
กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ เป้า พน้ื ที่ ระยะ งบ
กลุ่มเป้าหมาย หมาย ดำเนินการ เวลา ประมาณ
(บาท)
(คน)
๑. สำรวจกล่มุ เปา้ หมาย เพอ่ื ทราบจำนวนกล่มุ เป้าหมาย บุคลากร/ 4 กศน.ตำบลทกุ 1 ม.ิ ย.64 -
เจา้ หน้าท่ี ตำบล
๒. ประชุม/วาง เพือ่ เตรียมความพรอ้ มการ บคุ ลากร/ 14 4 มิ.ย 64 -
เจา้ หนา้ ท่ี
แผนการดำเนนิ งาน ดำเนนิ การ
๓. เขียนโครงการ เพอ่ื ขออนมุ ัติงบประมาณในการ บคุ ลากร/ 1 8 ม.ิ ย.64 -
เพ่ือขออนุมตั ิ ดำเนินโครงการ เจา้ หนา้ ที่
๔. แตง่ ต้ังคณะทำงาน เพ่อื แต่งต้งั คณะทำงานดำเนินงาน บุคลากร/ 14 9 ม.ิ ย.64
ดำเนนิ งานฝา่ ยต่างฯ ฝ่ายตา่ ง ๆ และมอบหมายหน้าท่ี เจา้ หนา้ ที่
ความรับผิดชอบ
5.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้
๕. ดำเนนิ งานตาม ความเข้าใจท่ถี ูกต้องเก่ียวกบั การ
โครงการ ป้องกนั การเกิดภยั พบิ ัติในรูปแบบ ณ อาคาร
อเนกประสงค์
-โครงการอบรมให้ความ ต่าง ๆ ได้ กลุม่ เป้า 16 กศน.อำเภอ 23 6,400
รู้การรับมอื กับสาธารณ 5.2 เพอ่ื ให้กลมุ่ เป้าหมาย มที กั ษะ หมายท่สี นใจใน เจาะไอร้อง ม.ิ ย.
ภยั สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคเมื่อมี 64
เหตุการณเ์ กดิ ข้ึน พ้นื ท่ีอำเภอ
5.3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีจิต เจาะไอร้อง
สาธารณะที่จะช่วยเหลือเมื่อมี
เหตุการณ์ภัยพิบัติเกิดข้ึน รวมท้ัง
สามารถไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวัน
๖. นเิ ทศ/ตดิ ตามผล การดำเนินโครงการตาม บุคลากร/ 2 24 มิ.ย. -
วตั ถปุ ระสงค์ เจา้ หน้าที่ 64
๗. สรปุ ประเมิน ผล เพือ่ สรปุ และประเมินผลการดำเนิน เจ้าหน้าที่ 1 28 ม.ิ ย. -
โครงการ โครงการ รบั ผดิ ชอบงาน 64
ce
8.รายงานผลการ เพ่อื รายงานผลการดำเนิน บคุ ลากร/ 2 30 มิ.ย. -
ดำเนินงานโครงการ โครงการตอ่ ผ้บู ังคับบญั ชา เจา้ หน้าท่ี 64
2
3
๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน รหัสงบประมาณ
2000236004000000 กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน จำนวนเงนิ 6,400บาท (หกพัน
ส่ีรอ้ ยบาทถ้วน) ดังนี้
คา่ อาหารกลางวนั (๑ มื้อ ๆ ละ 12๐ บาท จำนวน 16 คน) เป็นเงิน 1,920 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 ม้ือ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 16 คน) เป็นเงนิ 1,120 บาท
คา่ ตอบแทนวิทยากร (1 คนๆ จำนวน 6 ชม.ๆ ละ 2๐๐ บาท) เป็นเงิน 1,2๐๐ บาท
ค่าป้ายไวนลิ เปน็ เงนิ 1,0๐๐ บาท
คา่ วสั ดุ เปน็ เงนิ 1,16๐ บาท
รวมทง้ั สิ้น 6,400 บาท
(ตวั อกั ษร....หกพันสีร่ อ้ ยบาทถ้วน.....)
หมายเหตุ ทุกรายการถวั เฉล่ียจา่ ยตามท่ีจ่ายจริง
๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
กจิ กรรมหลกั ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔
(ก.ค.–ก.ย. ๒๕64)
(ต.ค.–ธ.ค. ๒๕63) (ม.ค.–ม.ี ค.๒๕64) (เม.ย.–ม.ิ ย.๒๕64)
-
1. สำรวจกลมุ่ เปา้ หมาย -- - -
-
๒. ประชมุ /วางแผนการ -- - -
ดำเนินงาน
-
๓. เขียนโครงการเพ่ือขออนุมัติ - - -
-
๔. แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินงาน - - - -
ฝ่ายต่างฯ -
๕. ดำเนนิ งานตามโครงการอบรม
ให้ความรู้การรับมอื กบั สาธารณ - - 6,400
ภยั
๖. นิเทศ/ติดตามผล -- -
๗. สรปุ ประเมินผลโครงการ - -
๘. รายงานผลการดำเนนิ งาน - - -
โครงการ
๙. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ
- นายสุรศักดิ์ สอีด พนักงานราชการ (ครูอาสาฯปอเนาะ) งานพัฒนาสังคมและชมุ ชน
โทร. ๐-๘๙๕๙-๖๔๙๓-๖ โทร.๐-๗๓๕๔-๔๑๗๗ e-mail : [email protected]
๑๐. เครอื ขา่ ย
- องค์การบรหิ ารส่วนตำบลทุกตำบล
3
4
๑๑. โครงการ/กิจกรรมท่เี กีย่ วข้อง
-โครงการทักษะชวี ิต
๑๒. ผลลพั ธ์ (Outcome)
- กล่มุ เป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั การเกิดภัยพิบัตใิ นรปู แบบ ต่าง ๆ
มีทักษะสามารถแก้ไขปญั หาอุปสรรคเมื่อมีเหตุการณ์เกิดข้ึน และมีจติ สาธารณะที่จะช่วยเหลือเมอื่ มีเหตุการณ์
ภยั พบิ ัติเกิดขน้ึ รวมทง้ั สามารถไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั
๑๓. ดัชนีตัวช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ
๑๓.๑) ตัวชว้ี ัดผลผลติ ( Output)
- กลมุ่ เปา้ หมายรอ้ ยละ 100 ผ่านการอบรมตามวตั ถุประสงค์
๑๓.๒) ตัวชีว้ ัดผลลพั ธ์ ( Outcome)
- ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการ
ป้องกันการเกิดภยั พิบัติในรูปแบบต่าง ๆ มที กั ษะสามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคเม่ือมีเหตุการณ์เกิดขึ้น
และมีจิตสาธารณะที่จะช่วยเหลือเมื่อมีเหตุการณ์ภัยพิบัติเกิดข้ึน รวมทั้งสามารถไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน
๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ
๑๔.๑ แบบทดสอบกอ่ น-หลัง
๑๔.๒ แบบสังเกต
14.3 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
14.4 แบบตดิ ตาม
14.5 แบบประเมินผล
4
5
บทที่ ๒
เอกสารท่เี กี่ยวข้อง
ความหมาย และชนดิ ภัยพิบัติตา่ งๆ เชน่ ภยั ธรรมชาติ ไฟไหม้ น้ำท่วม พายุ
ประเภทของภัยพิบัติ แบ่งได้เป็น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และภัยที่เกิดจากผลการกระทำของมนุษย์
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters) รูปแบบต่าง ๆ ที่ได้มีการศึกษารวบรวม และบันทึก
รายละเอียดไวม้ ี 10 ประเภท คือ
1). การระเบิดของภูเขาไฟ (Volcano Eruptions)
2). แผ่นดินไหว (Earthquakes)
3). คลนื่ ใตน้ ้ำ (Tsunamis)
4). วาตภยั หรือภัยจากพายใุ นรูปแบบตา่ ง ๆ (Various Kinds of storms) คอื
ก. พายแุ ถบเส้น Tropics ทีม่ ีแหลง่ กำเนดิ ในมหาสมุทร (Tropical Cyclones)
ข. พายุหมนุ ที่มแี หล่งกำเนิดบนบก (Tornadoes)
ค. พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorms)
5). อทุ กภัย (Floods)
6). ภัยแลง้ หรือทพุ ภกิ ขภัย (Droughts)
7). อคั คภี ัย (Fires)
8). ดนิ ถลม่ และโคลนถล่ม (Landslides and Mudslides)
9). พายุหมิ ะและหมิ ะถลม่ (Blizzard and Avalanches)
1 0 ) . โ ร ค ร ะ บ า ด ใ น ค น แ ล ะ ส ั ต ว ์ ( Human Epidemics and Animal Diseases
ภัยข้างต้นนั้นพิจารณาจากสภาพความรุนแรงของความเสียหายเกิดผลกระทบต่อผู้คนจำนวนมาก
หรือการไม่
สามารถรู้ได้ล่วงหน้า ส่วนภัยที่รู้ล่วงหน้าเพราะเกิดขึ้นเป็นปกติตามธรรมชาติว่าจะเริ่มและสิ้นสุด
เมื่อใด เช่น อากาศหนาว หรือภัยที่ไม่ส่งผลกระทบรุนแรงและสามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น คลื่นความ
ร้อน ฟ้าผ่า โดยหลักสากลภัยจำพวกนี้ไม่ถือเป็นภัยพิบัติในประเทศไทยได้กำหนดการเกิดภัยพิบัติ
เป็นสาธารณภัย ซึ่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา
4 วา่
5
6
“สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์
โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิด
จากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของ
ประชาชน หรอื ความเสยี หายแกท่ รัพยส์ ินของประชาชน หรือของรฐั และให้หมายความรวมถงึ ภัยทาง
อากาศ และการก่อวินาศกรรมดว้ ย
“ภยั ทางอากาศ” หมายความว่า ภยั อนั เกดิ จากการโจมตีทางอากาศ
“การก่อวินาศกรรม” หมายความว่า การกระทำใดๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของ
ประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการ
ปฏบิ ตั ิงานใดๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อใหเ้ กิดความปัน่ ปว่ นทางการเมืองการ
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ โดยม่งุ หมายทจ่ี ะกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ ความม่นั คงของรฐั
ภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ในพระราชบัญญัติดังกล่าว ได้แก่ แผ่นดินถล่ม อัคคีภัยไฟป่า
แผน่ ดินไหว คล่ืนยกั ษ์ ภัยหนาว ภัยฟ้าผ่า ภยั จากสารเคมแี ละวัตถุอันตราย อาคารถล่ม ภยั จากการ
คมนาคมขนส่ง ฯลฯ
ความหมายท่ีเก่ียวกบั ภยั ธรรมชาติ
อทุ กภัย หมายถึง ภัยอันตรายท่ีเกิดจากน้ำทว่ ม คำว่า อุทกภัย เกดิ จากคำวา่ อุทก + ภย (ซ่ึง
เปน็ คำท่มี าจากท้ังภาษาบาลีสนั สกฤต)
วาตภัย หมายถึง ภยั อนั ตรายทเ่ี กิดจากพายุ (ลม) คำว่า วาตภัย เกิดจากคำวา่ วาต + ภย (ซึ่
เป็นคำทีม่ าจากท้ังภาษาบาลีสนั สกฤต)
อคั คภี ยั หมายถึง ภยั อันตรายทเ่ี กดิ จากไฟ คำวา่ อคั คภี ยั เกดิ จากคำว่า อัคฺคิ + ภย (ซ่งึ คำว่า
อคฺคิ เปน็ คำท่ีมาจากภาษาบาล)ี
ธรณีพิบัตภิ ยั คำว่า ธรณพี ิบัติภัย เกิดจากคำว่า ธรณี + วิปตั ตฺ ิ + ภย หมายถงึ ภยั อนั ตรายทท่ี ำให้
เกิดความหายนะที่เกดิ จากแผ่นดนิ หรอื พื้นโลก เช่น แผ่นดินไหว การเกิดคลื่นยักษใ์ นมหาสมุทร
ภูเขาไฟระเบดิ
ภัยจากคล่ืนทะเล หมายถึง คล่ืนเกิดจากลมท่ีพดั ผา่ นผวิ หน้านำ้ และเกดิ แรงดึงระหว่างอากาศกับน้ำ
รวมท้งั แรงยึดระหว่างนำ้ กนั เองดว้ ย ทำใหเ้ กิดลูกคลืน่ ขึน้ อกี ทั้งการไหลเวยี นของน้ำทเ่ี กิด จาก
กระแสนำ้ อ่นุ นำ้ เย็นจากอณุ หภมู ขิ องโลกที่ไม่เท่ากนั การเคล่อื นตัวของเปลอื กโลกทำให้เกิด สึนามิ
ดงั เชน่ เหตุการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ บริเวณชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันตกของไทย เกิดจากแผ่นดนิ ไหวใน
มหาสมุทรอินเดยี เมื่อวนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ และเหตุการณแ์ ผ่นดนิ ไหวท่ีเกดิ ข้ึนบริเวณ
6
7
นอกชายฝง่ั ตะวนั ออกของคาบสมุทรโอชกิ ะ โทโฮะกุ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันท่ี ๑๑ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๕๔ การระเบดิ ของภเู ขาไฟใต้นำ้ การไหลลงสูท่ ะเลของนำ้ จดื จากแม่นำ้ ท่ีไหลลงสทู่ ะเลทำใหเ้ กิด
การเลือ่ นตัวของชนั้ นำ้ ในระดับต่าง ๆ การเกิดนำ้ ขึน้ น้ำลงจากอิทธิพลของแรงดึงดดู ของดวงจันทร์
ทั้งหมดน้ที ำให้เปน็ สาเหตุของคลน่ื ทะเลที่มีความรนุ แรงมากนอ้ ยต่างกนั เป็นผลทำให้คลน่ื ทำลาย
พ้ืนทบี่ รเิ วณชายฝ่งั ทะเล คน สตั ว์ อาคารบา้ นเรือน ตน้ ไม้ เปน้ ตน้
อัสนีภัย (ฟ้าผา่ ) เปน็ ปรากฏการณท์ ีเ่ กิดขน้ึ เนื่องจากอิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนท่ี ระหว่างเมฆกับ
พน้ื โลก ทำใหเ้ กิดพลงั งานสงู มากจนสามารถทาํ ลายสง่ิ ที่กีดขวาง เช่น คน สัตว์ บ้านเรือน ตน้ ไม้ ได้
พายุฝนฟา้ คะนอง เป็นปรากฏการณท์ ่ีเกดิ พร้อม ๆ กนั หรอื เวลาไล่เลี่ยกนั ไดแ้ ก่ ๑) พายุ เปน็
ปรากฏการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ด้วยความแรงของลม ๒) ฝน เปน็ ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขนึ้ ด้วยฝน ๓) ฟา้
คะนอง เป็นลักษะฟ้าลน่ั ตดิ ต่อกันทำให้เกิดฟา้ ผา่
ปัจจยั ตา่ งๆทีท่ ำให้เกดิ ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ
ภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาตแิ ละการเปลี่ยนแปลกทางธรรมชาตใิ นโลก การเปลีย่ นแปลงทางสภาวะแวดล้อม
ของโลก อาจเกดิ ขึน้ เนื่องจากปจั จัยธรรมชาตหิ รอื จากการกระทำของมนุษย์ ไดส้ ่งผลให้เกิดปญั หาทางกายภาพ
หรือภัยพิบตั ิตา่ งๆ ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆของโลก อาทิ แผ่นดินไหว สึนามิ อุทกภัย ตลอดจนภัย
พิบัติอื่นๆ ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อมวล มนุษย์ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงมีตั้งแต่การ
เกิดขึ้นอย่างช้าๆไปจนถึงการเกิดอย่างฉับพลันและรุนแรง ซึ่งเป็น อันตรายต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของ
สิ่งมีชีวิต จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติทาง ธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติในโลกต่างๆ เพื่อจะได้ปรับวิถีชีวติ ให้สอดคล้องกับสภาวะใน ขณะนี้ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดอันตราย และเกิดความ
สูญเสียท้ังชวี ิตและทรัพย์สินต่างๆ ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นใน 3 ลักษณะ คือ ภัยพิบัติท่ี เกิดขึ้นเนื่องจาก
สาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เช่น การเกิด แผ่นดินถล่ม
อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ เช่น วาตภัย ภาวะโลกร้อน ลูกเห็บ ฟ้าผ่า เป็นตน้
แผ่นดินไหว แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน ซึ่งเกิดจาก
อิทธิพล ของแรงบางอย่างที่อยู่ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหวจะกระจายไปสูบ่ ริเวณสว่ น
ต่างๆ ของ โลก และถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวเป็นไปอย่างรุนแรง อุปกรณ์ตรวจจับคลื่นที่อยู่ห่าง
ออกไปไกลนับ หม่ืนกิโลเมตรกส็ ามารถรบั คล่นื แผน่ ดินไหวได้
7
8
1) ปจั จยั ทท่ี ำใหเ้ กิดแผ่นดนิ ไหว แผ่นดินไหวเกิดจากการสน่ั สะเทอื นของแผ่นดนิ ทีร่ ้สู ึกไดจ้ ดุ ใดจุดหน่ึง
บนผิวโลก แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากการคลายตัวอย่างรวดเร็วของความเครียดภายในเปลือกโลกใน รูป
แบบของการเล่ือนตัวของแผน่ ดินไหวได้เชน่ กนั
2) สถานการณ์เกิดแผ่นดินไหว ในปัจจุบันได้เกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
บอ่ ยครั้งข้ึนและรนุ แรงมากขึ้น โดยมศี นู ย์กลางการเกิดตามพื้นท่ีเสี่ยงภัยต่างๆ โดยเฉพาะตามแนวรอยต่อของ
แผ่นเปลอื กโลกท้ังหลาย ในประเทศไทยการเกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวค่อนข้างน้อยและไดร้ ับผลกระทบไม่
รุนแรงมากนัก เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ห่างไกลจากแนวแผ่นเปลือกโลกและแนวภูเขาไฟ แม้ประเทศไทย
จะมีรอยต่อเลื่อน มีพลังในภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้แต่เป็นรอยเลื่อนขนาดเล็กส่วนใหญศ่ ูนยก์ ลาง
แผน่ ดนิ ไหวจะอยู่ บริเวณหมู่เกาะอนั ดามนั ประเทศอนิ เดยี ประเทศพมา่ ทางตอนใตข้ องประเทศจีน และตอน
เหนือของประเทศ ลาว
3) ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว เมื่อมีแผ่นดินไหวขนาดเล็กหรือปานกลางเกิดขึ้น (ขนาดปาน
กลาง 4-6 ริกเตอร์ ขนาดเล็ก 1-3 ริกเตอร์) จะเกิดรอยร้าวของอาคารและสิ่งของตกลงพื้นหรือแกว่ง แต่ถ้า
ขนาด ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คอื ต้ังแต่ 7 ริกเตอรข์ ึน้ ไปจะเกิดความรนุ แรงมาก คอื อาคารท่ไี มแ่ ข็งแรงจะ
พัง ทรุดถล่ม มีผู้เสียชีวิตมาก กรณีที่เกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่ที่เป็นเกาะ และมีขนาดตั้งแต่ 7.5 ริกเตอร์ขึ้นไป
ส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามินอกจากนี้การเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อาจจะทำให้พื้นที่บริเวณเชิงเขาที่ลาดชันเกิด
ดินถล่มลงมาทับบ้านเรือนแถบเขาและอาจเกิดแผ่นดินแยกกัน พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย กรม
ทรัพยากรธรณีได้จัดทำแผนท่แี สดงบริเวณเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทยและแสดงความ เสยี่ งของโอกาส
การเกิดแผ่นดินไหวท่จี ะเกดิ ความเสียหายตามมาตราอันดับขน้ั รุนแรงของแผ่นดินไหว เรียกว่า”มาตราเมร์กัลป์
ลี”(Mercalli scaie) ดงั น้ี
3.1. เขตความรุนแรงน้อย สภาพของแผ่นดินไหวจะสามารถตรวจจับความสั่นสะเทือนระดับ I-II เมร์
กัลป์ ลี โดยเครื่องตรวจรับความสั่นสะเทือน คนไม่สามารถรู้สึกได้ พบได้บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของภาค
ตะวันออกเฉียง เหนอื และภาคตะวนั ออก
3.2. เขตความรุนแรงพอประมาณ สภาพของแผน่ ดินไหวคนสามารถรู้สึกได้ และเคร่ืองตรวจจับความ
สั่นสะเทือนจะอยู่ในระดับ III-IV เมร์กัลป์ลี พบได้บริเวณภาคตะวันออกฉียงเหนือตอนบนภาคตะวันออก และ
ภาคใตฝ้ ั่งอ่าวไทยตัง้ แต่นครศรีธรรมราชลงไป
8
9
3.3. เขตที่มีความรุนแรงน้อย-ปานกลาง สภาพของแผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ ระดับความสั่นสะเทอื น V-
VI เมร์กัลป์ลี บ้านสั่นสะเทือน ต้นไม่สั่น สิ่งปลูกสร้างที่ออกแบบไม่ดีอาจพังได้ พบบริเวณภาคเหนือ ขอบภาค
กลางดา้ นทศิ ตะวันตก กรงุ เทพฯ และปริมณฑล ภาคตะวันตกตอนล่างและภาคใต้
3.4. เขตที่มีความรุนแรงปานกลาง สภาพของแผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ สิ่งของในห้องตกหล่น ตึกร้าว
ระดับความสั่นสะเทือน VII-VIII เมร์กัลป์ลี ทำให้สิ่งก่อสร้างเสียหาย บริเวณที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ภาคเหนือ
และภาคตะวันตกทีม่ ชี ายแดนติดต่อกบั สหภาพพมา่ จนถงึ จงั หวดั กาญจนบุรี
4) การระวงั ภยั จากแผ่นดนิ ไหว การเกดิ แผ่นดนิ ไหวไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้ แต่บริเวณใดที่เปน็ จุด
เสีย่ ง ตอ่ การเกดิ แผ่นดินไหวจึงเปน็ เพียงการลดความสญู เสยี เท่านัน้
ขอ้ ปฎบิ ัติในการปอ้ งกนั ตนเองจากภัยแผ่นดนิ ไหว มีดังน้ี
1. บุคคลที่อยู่บริเวณจุดเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว ควรจัดเตรียมเครื่องอุปโภคบริโภค ยารักษาโรค
ไวใ้ ห้ พร้อม
2. ขณะเกิดเหตุห้ามใช้ลิฟต์เพราะไฟฟ้าอาจดับได้ และควรมุดลงใต้โต๊ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันสิ่งของ
รว่ ง หลน่ ทบั
3. หากอยู่ภาคนอกอาคารให้หลีกเลี่ยงการอยูใ่ กลเ้ สาไฟฟ้า กำแพง และอาคารสูง หายอยู่ใกล้ชายฝัง่
ทะเลให้รบี ขน้ึ ท่ีสงู ท่ีหา่ งจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคล่ืนสนึ ามไิ ด้
4. ควรออกแบบอาคารและสิง่ ก่อสรา้ งใหส้ ามารถรับแรงแผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่ได้
5. ควรมีการฝึกซ้อมการหลบภัยแผ่นดินไหวแต่ละชุมชนหรือหน่วงงานที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
1.2 ภเู ขาไฟปะทุ ภเู ขาไฟ (Volcano) เปน็ ภูเขาไฟทเี่ กดิ ขนึ้ จากการปะทุของหนิ หนืด แก๊ส และเถา้ ธุลี ภูเขาไฟ
จากใต้เปลือก โลกแล้วปรากฎตัวเป็นสภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมีทั้งที่ดับแล้วและที่ยงั มีพลังอยู่ ภูเขาไฟที่ดับ
แล้วเปน็ ภูเขาไฟ ท่ีเกิดข้นึ นานมาก อาจเปน็ หลายแสนลา้ นปี หินหนืดทีไ่ หลออกมาแข็งตวั กลายเป็นหินภูเขาไฟ
บนพืน้ โลก ส่วน ภเู ขาไฟทีย่ งั มีพลังเปน็ ภเู ขาไฟท่ีมกี ารปะทุ หรอื ดบั ช่ัวคราว ซง่ึ เป็นภเู ขาไฟที่มอดแล้วนานนับ
พนั ปี อาจจะปะทุ ใหม่ได้อีก ปัจจบุ นั นีท้ ัว่ โลกมภี ูเขาไฟทมี่ ีพลังอย่ปู ระมาณ 1.300 ลูก และมีภูเขาไฟที่ดับแล้ว
จำนวนมากที่ กลายเป็นภเู ขาท่ีสำคญั
1) ปจั จัยที่ทำให้เกดิ การปะทขุ องภเู ขาไฟ ดังน้ี
1.1) การปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าถ่านจากได้เปลือกโลก การปะทุมักมีสันญาณบอกเหตุให้รู้
ล่วงหน้า เช่น แผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆ ภูเขาไฟเกิดการสั่นสะเทือน มีเสียงคล้ายฟ้าร้อง เสียงที่ดังนั้นเกิด
จากการเคล่ือนไหวของแมกมา แก๊สต่างๆ และไอน้ำที่ถูกอดั ไว้ เมื่อเกิดการปะทุ ลาวา เศษหิน ฝุ่นละออง เถ้า
9
10
ถ่านภูเขาไฟ จะถูกพ่นออกมาทางปล่องภูเขาไฟหรือออกมาทางช่องด้านข้างของภูเขาไฟ หรือตามรอย
แตกแยกของภูเขาไฟ แมกมาเมื่อขึ้นสู่ผิวโลกจะเรียกวา “ลาวา” (Lava) ลาวาที่ออกสู่พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสงู
ถึง 1.200 ⁰ C ไหลไปตามความลาดเอียงของพืน้ ท่ี
1.2) การปะทุของหินหนืดหรือแมกมา ภายในแมกมาจะมีแกส๊ อยู่ เมือ่ แมกมาเคล่ือนข้ึนมาใกล้ผิวโลก
ตามช่องเปิดแก๊สต่างๆ ที่ละลายอยู่จะแยกตัวออกเป็นฟองแก๊สจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น และขยายตัวอย่าง
รวดเร็ว ความหนืดของแมกมาตรงทีเ่ กดิ ฟองจะเพิม่ สงู ข้ึนตามไปด้วย จนเกิดการแตกร้าวของฟองแกส๊ พร้อมๆ
กับการขยายตัวแล้วเกิดปะทอุ อกอย่างรุนแรง
2) สถานการณ์การเกิดภูเขาไฟปะทุในย่านภูเขาไฟของโลกยังมีปรากฏการณภ์ ูเขาไฟปะทุอยู่ต่อเนื่อง
ซง่ึ เป็นสิง่ ท่ชี ช้ี ดั ว่าภายในเปลอื กโลกยงั มีมวลหินหนืดหลอมละลายอยู่อกี และพยายามหาทางระบายความร้อน
ดังกล่าว ตัวอย่างการปะทุของภูเขาไฟใน พ.ศ.2552-2553 ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ เช่น ภูเขาไฟมาโยนใน
ประเทศฟิลิปปินส์ได้พ่นเศษเถ้าถ่านสู่ท้องฟ้า ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ได้มีการอพยพประชาชน
ออกนอกพื้นที่แต่ปรากฏว่าเขาไฟไม่ปะทุ เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2553 ภูเขาไฟเตอร์เรียลบาในประเทศ
คอสตาริกา ได้พ่นหมอกควันและปะทุลาวาร้อนทำให้เกิดไฟไหม้ป่าขึ้น ส่งผลให้ประขาขนจำนวนมากต้อง
อพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย และนับตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ภูเขาไฟเมราปี บนเกาะชวา ประเทศ
อินโดนีเซีย ได้ปะทุอย่างรุนแรงหลายครั้ง ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 300 คน ต้องมีการอพยพ ประชาชน
ราว 90.000 คนออกพื้นที่เส่ียงภัย และมีทรัพย์สินเสียหายจำนวนมาก ภูเขาไฟกระจัดกระจายยอยู่ในทุก
ภมู ภิ าคของโลก บา้ งก็เป็นภเู ขาไฟท่ีดบั สนิทแล้วบา้ งก็เปน็ ภูเขาไฟที่ รอวันปะทุ
จากข้อมูลทางด้านธรณีวิทยาระบุว่าโลกมีภูเขาไฟขนาดใหญ่ที่มีความสูงกว่า 4.500 เมตร อยู่ถึง 14
แห่ง ดังต่อไปนี้ ส่วนในประเทศไทยมีภูเขาไฟอยู่ในทุกภูมิภาค ลักษณะของภูเขาไฟในประเทศไทยส่วนใหญ่
เป็นภูเขา ไฟรูปโล่ (Shield Volcano) ซึ่งเป็นภูเขาไฟท่มี ีความลาดชันน้อยประมาณ 4-10 องศา ภูเขาไฟแบบ
10
11
นเ้ี กิด เน่ืองจากการไหลลามของลาวาแบบบะซอลต์ซงึ่ ค่อนข้างเหลวและไหลง่าย จึงไหลแผอ่ อกไปเป็นบริเวณ
กว้าง หากมีการปะทุขึ้นก็จะไม่รุนแรง ภูเขาไฟในหลายภูมิภาคของไทยเป็นภูเขาไฟที่ดับแล้ว พบได้ในจังหวดั
ดงั ต่อไปนี้
3) ผลกระทบที่เกิดจากการปะทขุ องภูเขาไฟ
3.1. ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือน มีทั้งการเกิดแผ่นดินไหวเตือน แผ่นดินไหวจริง และแผ่นดินไหว ติด
ตาม ถ้าประชาชนไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันและอาจเกิดความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
ได้
3.2. การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลมาจากปากปล่องภูเขาไฟและเคลื่อนที่เร็วถึง 50 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง มนุษยแ์ ละสัตว์อาจหนีภัยไม่ทนั และเกิดความสญู เสยี อย่างใหญห่ ลวง
3.3. การเกิดฝุ่นภูเข้าไฟ เถ้า มูล ภูเขาไฟ ปะทุขึ้นสู่บรรยากาศครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ภูเขาไฟ
และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหลง่ ภูเขาไฟปะทุหลายพันกโิ ลเมตร ทำให้เกดิ มลภาวะทางอากาศและทางน้ำ ใน
แหล่งน้ำกนิ นำ้ ใชข้ องประชาชน เม่ือฝนตกหนกั อาจจะเกดิ น้ำท่วมและโคลนถลม่ ตามมาจากฝุ่นและเถา้ ภูเขาไฟ
เหลา่ นัน้
3.4. เกิดคลื่นสึนามิ ขนาดเกิดการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องทะเล คลื่นนี้อาจโถม
เข้าฝั่งสงู ขนาดตึก 3 ชั้นขน้ึ ไป
4) การระวงั ภัยทเี่ กิดจากภเู ขาไฟปะทุสามารถทำได้ดังนี้
4.1. ต้องมีการพยากรณ์วา่ ภูเขาไฟจะเกิดปะทุขึ้น และอาจเป็นอนั ตรายกับประชาชนหรือไม่ โดยการ
ประชาสมั พันธ์ การพยากรณแ์ ละเตอื นภัยภูเขาไฟปะทุทางวทิ ยโุ ทรทัศน์ใหป้ ระชาชนรบั รู้อย่างท่วั ถึง ใหช้ ัดเจน
จะเกิดขึ้นเมื่อไร จะต้องมีการอพยพหรือไม่ เพราะอาจมีบางคนไม่อยากอพยพจนกว่าจะมีการปะทุ และผู้คน
จะกลับมาอยูบ่ ้านของตนไดเ้ รว็ ท่สี ุดเมื่อใด
11
12
4.2. การพยากรณ์ควรเริ่มต้นด้วยการสังเกต เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยนกั ภเู ขาไฟวิทยา ที่มี
ประสบการณอ์ ย่าจริงจงั เพราะภูเขาไฟไมป่ ะทบุ ่อยนัก ประชาชน 2-3 พนั ล้านคนของโลกอาจไม่รู้ว่าได้ต้ัง ถิ่น
ฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟที่ดับหรือไม่ดับก็ตาม ดังน้ันการเตือนภัยล่วงหน้าจะช่วยลดจำนวนคนที่ตกเป็นเหยื่อ
ของภูเขาไฟก็ได้ ดังนั้น จึงควรให้ความรู้ว่าภูเขาไฟอยู่ที่ไหน จะปะทุเมื่อไร จะคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินได้
อย่างไรเม่ือเกิดภัยพิบัติข้ึน
4.3. การให้ความรู้แก่ประชาชน ทำได้ตลอดเวลาทั้งก่อน ระหว่าง และหลังประสบภัยพิบัติ เม่ือ
ประชาชนรเู้ รื่องภยั พิบัติจากการปะทุของภเู ขาไฟ นับว่าการเตอื นภยั จากภูเขาไฟปะทุมีความสำเร็จไปคร่ึงทาง
แลว้ ดกี วา่ ใหป้ ระชาชนตกอยู่ในความมืดเมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ัติข้ึน สนึ าม(ิ Taunami) เป็นภัยพบิ ัติทางธรรมชาติอย่าง
หนึ่ง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า “คลื่นอ่าวจอดเรือ” (Haebour Waver) ซึ่ง สึคาแรก แปลว่า ท่าเรือ ( Harbour)
สว่ นคำที่สอง นามิ แปลว่า คล่นื (Wave) ใน บางครั้งก็อาจเรียกว่า “Seismic Wave” ปัจจบุ นั ใช้คำเรียกกลุ่ม
คลืน่ ท่มี ีความยาวคลน่ื มากๆ ขนาดหลายร้อย กิโลเมตร นับจากยอดคลื่นท่ีไล่ตามกันไป
1) ปัจจัยท่ที ำให้เกิดสินามิ สินามเิ ป็นคล่นื ทะเลขนาดใหญ่ท่ีเคลื่อนตวั อย่างรวดเรว็ และมีพลงั มาก เกิด
จากมวลน้ำในทะเลและมหาสมุทรได้รับแรงสน่ั สะเทือนอย่างรนุ แรง จนกลายเป็นคลนื่ กระจายตวั ออกไป จาก
ศูนยก์ ลางของการสนั่ สะเทือนน้ัน ส่วนใหญ่มักเกิดขน้ึ เม่ือมีแผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้องทะเลย แต่ก็อาจเกิด จาก
สาเหตุอืน่ ๆได้ เช่น การปะทุของภเู ขาไฟบนเกาะหรือใต้ทะเล การพงุ่ ชนของอุกกาบาตขนาดใหญ่ลงบนพื้น น้ำ
ในมหาสมุทร การทดลองระเบดิ นวิ เคลียร์ใต้ทะเล เปน็ ต้น
2) สถานการณ์การเกดิ สินามิบรเิ วณที่มักเกดิ คล่ืนสินามิ คอื ในมหาสมทุ รแปซิฟิก โดยเฉพาะประเทศ
ญี่ปุ่นมักได้รับภัยจากสินามิบ่อยครั้งส่วนในทะเลอันดามันของมหาสมุทรอินเดียไม่เคยเกิดสินามิที่รุนแรงมา
กอ่ น จนเมือ่ วนั ท่ี 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 ไดเ้ กิดสนิ ามิทร่ี นุ แรงมาก มีจุดกำเนดิ อยู่ในทะเลทางตอนเหนือ ของ
เกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนเี ซยี แล้วแผข่ ยายไปในทะเลอันดามันจนไปถึงฝง่ั ตะวนั ออกของทวีป แอฟริกา
ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 200.00 คน ใน 11 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย
บังกลาเทศ ศรีลงั กา มลั ดฟี ส์ โซมาเลยี แทนซาเนยี และเคนยา ในประเทศไทยมีผูเ้ สยี ชวี ติ ประมาณ 5,400 คน
ใน 6 จงั หวัด
3) ผลกระทบทเี่ กิดจากสินามผิ ลของคล่ืนสินามทิ ี่มีต่อส่งิ แวดล้อมและสงั คม มดี งั น้ี
3.1. ทำใหแ้ ผน่ เปลือกโลกขยบั ค่าพิกัดทางภูมศิ าสตรค์ ลาดเคลอ่ื นไป
3.2. ส่งผลใหส้ ภาพพ้นื ทช่ี ายฝ่งั ทะเลเปลย่ี นแปลงไปในช่วงเวลาอนั สน้ั
3.3. ทำให้สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ เช่น บ้านเรือนเสียหาย ระบบสาธารณูปโภคถูกทำลาย
เปน็ ตน้
12
13
3.4. สง่ ผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น สตั ว์น้ำบางประเภทเปลยี่ นท่อี ยอู่ าศัย เปน็ ตน้
3.5. กระทบตอ่ การประกอบอาชีพของประชาชน เชน่ การทำประมง การคา้ ขายบริเวณชายหาด เป็น
ตน้
3.6. ส่งผลกระทบตอ่ ธุระกิจการทอ่ งเที่ยว ทำให้นักทอ่ งเที่ยวลดลง
4) การระวงั ภยั จากสินามวิ ธิ สี ังเกตและป้องกนั ตนจากคลนื่ สินามมิ ดี ังนี้
4.1. เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขณะที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดติดชายฝั่งทะเลย ต้องระลึกเสมอว่าอาจเกิด คลื่นสิ
นามิตามมา เพอื่ จะได้เตรียมตวั ให้พรอ้ มทกุ เมือ่
4.2. สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝัง่ เช่น มีการลดระดับน้ำทะเล ใหร้ ีบอพยพครอบครวั และสตั ว์ เลี้ยง
ขน้ึ ท่ีสงู เปน็ ต้น
4.3. ถ้าอยู่ในเรอื จอดใกล้กับชายฝัง่ ให้รีบนำเรอื ออกไปกลางทะเล
4.4. หลีกเล่ยี งการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในบริเวณท่ีมีความเส่ียงสูง หากจำเปน็ ตอ้ งมกี ารก่อสร้าง ควร มี
โครงสร้างแข็งแรงตา้ นแรงสินามิได้
1.4 อุทกภัย อุทกภัย (Flood) คือ ภัยที่เกิดจากน้ำท่วม ซึ่งเป็นน้ำที่ท่วมพื้นที่บริเวณใด
บริเวณหนึ่งเป็นครั้งคราว เน่ืองจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ทำให้น้ำในลำน้ำหรือทะเลสาบไหลล้นตลิ่ง
หรอื ป่าลงมาจากท่ีสูง ส่งผลให้เกิดความเสียหายตอ่ ชีวิตและทรพั ยส์ ินของประชาชน
1) ปัจจัยที่ทำให้เกดิ อุทกภัย ปัจจยั สำคัญท่ีสง่ ผลใหเ้ กดิ อุทกภยั มดี งั นี้
1.1 ฝนตกหนักและต่อเนื่องยาวนาน เนื่องจากเกิดลมพายุ ลมมรสุมมีกำลังแรงหรือหย่อม
ความกดอากาศตำ่ มกี ำลังแรง ส่งผลให้ไม่สามารถระบายน้ำออกจากพ้นื ที่ได้ทนั
1.2 พ้นื ที่เปน็ ทีร่ าบลุม่ บริเวณพื้นทีร่ าบลุ่มแมน่ ้ำมักจะประสบปญั หาน้ำทว่ มเป็นประจำทกุ
ปี หากมฝี นตกหนักตอ่ เนื่อง เนื่องจากเป็นพน้ื ที่ต่ำจึงไมส่ ามารถระบายน้ำออกไปได้
1.3 น้ำทะเลหนุน ถา้ หากมนี ้ำทะเล ขน้ึ สงู หนนุ น้ำเขา้ สู่ปากแมน่ ำ้ จะทำให้น้ำเออ่ ไหลล้นฝ่งั
ทำ ใหเ้ กิดนำ้ ท่วมบริเวณสองฝั่งแมน่ ้ำ
1.4 พ้นื ทร่ี องรับน้ำต้ืนเขนิ นบั เป็นมลู เหตุสำคัญที่ทำใหเ้ กดิ น้ำทว่ ม เพราะปรมิ าณน้ำฝนท่ีตก
ลงมาแต่ละปีมีปริมาณไม่แตกตา่ งกัน แต่ตะกอนในท้องน้ำของแม่น้ำลำคลองและบึงมมี าก เมอ่ื ถงึ ชว่ งฤดูฝนที่มี
ปริมาณนำ้ มากจงึ ไมม่ ีแหลง่ กกั เกบ็ จึงเอ่อท่วมพน้ื ที่ตา่ งๆ
13
14
1.5 สิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้ำในอดีตน้ำฝนที่ตกลงสู่พื้นดินจะไหลโดยอิสระลงสู่
แหลง่ น้ำธรรมชาติ แต่ในปัจจุบนั ได้มีสงิ่ กีดขวางเส้นทางการไหลของน้ำทั้งในลำนำ้ เชน่ ตะกอน ส่ิงก่อสร้างริม
ลำน้ำ กระชงั ปลา บรเิ วณบนพื้นดนิ มีการสร้างถนน อาคาร บา้ นเรอื น และพนื้ ท่ีเกษตรกรรมขวางทศิ ทางการ
ไหลของน้ำ น้ำจงึ ไมสามารถไหลและระบายได้ จึงเกิดน้ำทว่ มขน้ึ ตามพ้นื ทตี่ ่างๆ
ลักษณะภมู ิประเทศทเ่ี สย่ี งตอ่ การเกดิ อุทกภยั มีดงั นี้
1. บริเวณที่ราบ เนินเขา จะเกิดอุทกภัยแบบฉับพลัน น้ำไหลบ่าอย่างรวดเรว็ และมีพลัง ท า
ลายสูง ลักษณะแบบนี้ เรียกว่า “น้ำป่า” เกิดขึ้นเพราะมีน้ำหลากจากภูเขา อันเนื่องจากมีฝนตกหนักบริเวณ
ตน้ น้ำ จึงทำใหเ้ กดิ นำ้ หลากท่วมฉับพลนั
2. พื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำและชายฝ่ัง เป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นชา้ ๆ จากน้ำล้นตลิ่ง เมื่อเกิดจะกิน
พน้ื ทบ่ี ริเวณกวา้ ง น้ำท่วมเปน็ ระยะเวลานาน
3. บริเวณปากแม่น้ำ เป็นอุทกภัยที่เกิดจากน้ำที่ไหลจากที่สูงกว่าและอาจจะมีน้ำทะเลหนุน
ประกอบกับแผน่ ดินทรดุ จึงทำให้เกิดนำ้ ท่วมขังในทสี่ ุด
2) สถานการณก์ ารเกิดอุทกภัย
ปัจจบุ ันน้ำท่วมทเ่ี กิดข้นึ ในภมู ภิ าคต่างๆ ของโลกและที่เกดิ ขึ้นใน ประเทศไทยมักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
และเกิดรุนแรงขึ้น เนื่องจากมีฝนตกหนังต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ตัวอย่างเช่น น้ำท่วมครั้งใหญ่ใน
สหรัฐอเมริกา เมื่อปลายเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ทำให้ประชาชนหลายพัน คนในรัฐนอร์ทตาโคตาและมินนิ
โซตต้องอพยพออกจากบ้านเรือน และการเกิดน้ำท่วมฉบั พลนั ในประเทศ ฟิลิปปนิ ส์ ในชว่ งเดอื นกันยายน พ.ศ.
2552 นับเป็นภาวะน้ำท่วมครั้งรุนแรงที่สุดในกรุงมะนิลาในช่วงเวลา 42 ปี เนื่องจากอิทธิผลของพายุโซนร้อน
กิสนา ทำให้มีผเู้ สียชีวติ หลายรอ้ ยคนและคนไร้ท่อี ยอู่ าศยั จำนวนมาก เป็นตน้
ส่วนอุทกภัยในประเทศไทยมักเกิดในลักษณะน้ำทว่ มฉับพลนั หรอื น้ำป่า ทง้ั นีเ้ นื่องจากมีการทำลาย
ป่าไม้ เมื่อฝนตกน้ำจึงไหลชา้ ลงและเกิดน้ำท่วม เมื่อปริมาณน้ำมากข้นึ จะมกี ำลังทำลายรา้ งสงู เช่น เมอ่ื วันท่ี
11 สงิ หาคา พ.ศ. 2544 มีพายโุ ซนร้อนเกดิ ขึน้ ทำให้เกดิ ฝนตกหนักต่อเนื่องในตำบลน้ำก้อ อำเภอหล่มสัก
จังหวัด เพชรบรู ณ์ ทำให้ดนิ ถล่มบนเขาและมนี ้ำปา่ ไหลเข้าท่วมบา้ นเรือน มีท่อนไมแ้ ละซากไม้ไหลลงมากบั
กระแสน้ำ เกิดความเสียหายแก่ชวี ติ และทรพั ยส์ ิน มีผ้เู สยี ชวี ติ 125 คน นอกจากนี้ สถานการณ์น้ำท่วมกย็ ัง
เกดิ ขนึ้ ทุกปี ในพนื้ ทีร่ าบน้ำท่วมถึงของแมน่ ้ำชี แมน่ ้ำมูล แม่น้ำเจ้าพระยา และแมน่ ้ำตา่ งๆ
3) ผลกระทบทเี่ กิดจากอทุ กภัย สามารถแบ่งอันตราย และความเสียหายทเี่ กิดจากอุทกภัย ได้ ดังน้ี
3.1. น้ำทว่ มอาคารบา้ นเรอื น ส่ิงก่อสรา้ งและสาธารณสถาน ซง่ึ ทำให้เกิดความเสยี หายทาง เศรษฐกจิ
อย่างมาก บ้านเรือนหรอื อาคารสง่ิ กอ่ สรา้ งท่ีไม่แขง็ แรงจะถูกกระแสน้ำท่ีไหลเช่ียวพังทลายได้ คน สัตวพ์ าหนะ
และสตั วอ์ าจไดร้ ับอนั ตรายถึงชีวิตจากการจมน้ำตาย
14
15
3.2. เสน้ ทางคมนาคมและการขนสง่ อาจจะถูกตัดเป็นช่วงๆ โดยความแรงของกระแสน้ำ ถนนสะพาน
อาจจะถูกกระแสน้ำพัดให้พังทลายได้ สนิ ค้าพสั ดทุ ี่อย่รู ะหวา่ งการขนส่งจะไดร้ บั ความเสียหายมาก
3.3. ระบบสาธารณูปโภค จะไดร้ บั ความเสยี หาย เช่น โทรศัพท์ ไฟฟา้ เป็นตน้
3.4. พ้นื ที่การเกษตรและการปศสุ ตั วจ์ ะไดร้ บั ความเสียหาย เชน่ พืชผล ไร่นา ที่กำลังผลิดอกออกผล
บนพน้ื ที่ตำ่ อาจถูกนำ้ ท่วมตายได้ สัตว์พาหนะ สตั ว์เลยี้ ง ตลอดจนผลผลติ ทเี่ ก็บกักตุน หรือมีไว้ เพื่อทำพนั ธ์จุ ะ
ได้รับความเสยี หาย ความเสยี หายทางอ้อม จะส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจโดยทั่วไป เกิดโรค ระบาด สขุ ภาพจิต
เสอ่ื ม และสญู เสียความปลอดภัย เป็นต้น
4) วิธีปฏิบัติในการป้องกนั ตนเองจากอุทกภยั มดี งั นี้
4.1. การวางแผนการใช้ทดี่ ินอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ควรกำหนดผงั เมอื งเพ่ือรองรบั การ เจริญเตบิ โตของ
ตวั เมือง ไมใ่ ห้กีดขวางทางไหลของน้ำ กำหนดการใช้ที่ดนิ บรเิ วณพ้ืนทีน่ ้ำทว่ มให้เป็นพ้ืนที่ราบ ล่มุ รบั น้ำ เพอื่
เปน็ การหน่วงหรือชะลอการเกดิ น้ำท่วม
4.2. ไมบ่ กุ รุกทำลายปา่ ไม้ และไม่ปลูกพชื ไร่บนพื้นท่ภี เู ขาสูงชนั เพราะจะขาดพนื้ ท่ีดดู ซับ และชะลอ
การไหลของน้ำ ทำให้น้ำหลดลงสู่แม่นำ้ ลำหว้ ยไดอ้ ย่างรวดเร็ว
4.3. การเคล่ือนย้ายวสั ดุจากที่ท่ีจะได้รบั ความเสยี หายอนั เน่ืองมาจากน้ำท่วมให้ไปอยูใ่ นที่ ปลอดภัย
หรอื ทสี่ งู
4.4. การนำถุงทรายมาทำเขื่อน เพื่อป้องกนั น้ำทว่ ม
4.5. การพยากรณแ์ ละการเตือนภัยน้ำทว่ มให้ประชาชนรบั ทราบลว่ งหนา้ เพ่ือเตรียม ปอ้ งกนั
4.6. การสรา้ งเขือ่ น ฝาย ทำนบ และถนน เพ่ือเปน็ การกักเก็บน้ำหรือเป็นการกน้ั ทางเดิน ของน้ำ เป็น
ตนั
ขอ้ ควรปฏบิ ัตเิ ม่ือเกิดอุทกภยั มดี งั นี้
1. ตดั สะพานไฟ และปิดแก๊สหงุ ตม้ ให้เรียบร้อย
2. อย่ใู นอาคารท่ีแขง็ แรงและอยทู่ สี่ งู พ้นจากน้ำที่
เคยท่วม
3. ทำรา่ งกายให้อบอนุ่ อยู่เสมอ
4. ไมค่ วรขับขี่ยานพาหนะฝ่าลงไปในกระแสน้ำหลาก
5. ไม่ควรเลน่ น้ำหรือว่ายน้ำเล่นในขณะน้ำทว่ ม
6. ระวังสัตวท์ มี่ พี ิษท่หี นนี ้ำท่วมขน้ึ มาอยู่บนบา้ น และ
หลงั คา กดั ต่อย เชน่ งู ตะขาบ
7. ติดตามเหตุการณ์อยา่ งใกล้ชดิ เช่น สังเกตดนิ ฟ้าอากาศ หรอื ตดิ ตามคำเตือนทเ่ี กี่ยวกับ ลกั ษณะ
อากาศจากกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
8. เตรยี มพร้อมท่จี ะอพยพไปในทปี่ ลอดภยั ของชวี ิตมากกว่าห่วงทรัพย์สิน
ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิหลังเกิดอุทกภัย มดี ังตอ่ ไปน้ี
1. ขนส่งคนอพยพกลับภูมิลำเนา
2. ชว่ ยเหลอื ในการร้ือสิ่งปรักหักพัง ซ่อมแซมบา้ นเรือน อาคาร ต่างๆ
3. ทำความสะอาดบา้ นเรือน ถนนหนทางทเี่ ต็มไปด้วยโคลน
4. ซอ่ มแซมสาธารณูปโภค ใหก้ ลบั คืนส่สู ภาพปกติโดยเร็วท่ีสุด
5. ซ่อมแซมถนน สะพาน และรางรถไฟ ให้กลบั สูส่ ภาพเดิมให้เรว็ ทีส่ ดุ
6. การสงเคราะห์ผู้ประสบภยั จากหน่วงบรรเทาทุกขต์ ่างๆ
15
16
7. การจัดการด้านสาธารณสขุ เพ่อื ป้องกันโรคต่างๆ ที่อาจเกดิ ข้ึนภายหลัง
8. ช่วยเหลือสัตวต์ ่างๆ ทม่ี ีชวี ิตอยู่
1.4 แผน่ ดินถล่ม แผ่นดินถลม่ (Landslides) คอื การเคลอ่ื นท่ีของแผ่นดิน และกระบวนการ
ซงึ่ เกี่ยวข้องกับการ เคลอื่ นทข่ี องดนิ หรือหนิ ตามบรเิ วณพ้ืนทลี่ าดชนั ทีเ่ ปน็ ภูเขาหรอื เนนิ เขา
1) ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผ่นดินถล่ม แผ่นดินถล่มเกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกอาจเลื่อน
หลุด ออกมาเป็นกระบิหรือพังทลายลงมาก็ได้ ส่ิงทเี่ ป็นตัวกระต้นุ ให้เกิดแผ่นดินถล่มมีท้งั ที่เป็นธรรมชาติและท่ี
มนุษย์กระทำขึน้
1.1 ปัจจยั จากธรรมชาตมิ ดี ังนี้
1. การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินบริเวณลาดเขาที่มีความชัน เกิด
การเคล่ือนทลี่ งมาตามแรงดงึ ดูดของโลก
2. การเกิดฝนตกหนัก ฝนท่ีตกหนกั ต่อเนื่องกนั หลายๆวนั น้ำฝนจะซึมไปสะสมอยู่ใน เนื้อดิน
เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้ำไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและมักมีต้นไม้และเศษหินขนาดต่างๆ เลื่อนไหล
ตามไปดว้ ย
นอกจากนี้แผ่นดินถล่มอาจเกิดจากปัจจัยอื่นๆ เช่น ภูเขาไฟปะทุ หิมะตกมากหรือหิมะ
ละลาย คลนื่ สินามิ การเปลย่ี นแปลงของน้ำใต้ดิน การกัดเซาะของฝั่งแมน่ ้ำ ไหล่ทวีป เปน็ ตน้
1.2 ปัจจยั จากมนุษย์มดี ังน้ี
1. การขุดตนบรเิ วณไหล่เขา ลาดเขาหรอื เชิงเขา เพ่ือทำการเกษตร การทำถนน การขยายท่ี
ราบในการพฒั นาที่ดิน เป็นต้น
2. การดูดทรายจากแม่น้ำ หรือบนแผน่ ดนิ
3. การขุดดนิ ลึกๆ ในการก่อสร้างหอ้ งใต้ดนิ ของอาคาร
4. การบดอดั ดนิ เพ่ือการกอ่ สร้างทำใหเ้ กิดการเคลอ่ื นของดินในบริเวณใกลเ้ คียง
5. การสบู น้ำใตด้ ิน น้ำบาดาลทมี่ ากเกินไป
6. การท าลายปา่ เพื่อทำไร่ ทำสวน เปน็ ตน้
2. สถานการณ์การเกิดแผน่ ดนิ ถล่ม การเกิดแผ่นดนิ ถล่มในต่างประเทศและในประเทศไทยมี
ลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกิดในพื้นที่ภูเขาที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าตั้งเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม
สร้างบ้านพักอาศัย สร้างรีสอร์ตบริการนักท่องเที่ยว และเมื่อมีฝนตกชุกต่อเนื่องยาวนานมากกว่า 24 ชั่วโมง
มักจะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไม้ลงมาพร้อมกับสายน้ำ สร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและ
ทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวนี้มักเกิดถี่ขึ้น และรุนแรงมากขึ้นทุกๆครั้งด้วย ตัวอย่างเช่น
16
17
ประเทศยูกันทวีปแอฟริกาได้เกิดดินถล่มในหมู่บ้านแถบเทือกเขาทางภาคตะวันออกของประเทศ เมื่อเดือน
มนี าคม พ.ศ. 2553 เน่อื งจากมีฝนตกหนกั ในพนื้ ทอี่ ยา่ งต่อเนื่อง จึงสง่ ผลให้มีผเู้ สยี ชวี ิตมากกว่า 100 คน และผู้
สูญหายอีกกวา่ 300 คน และท่ปี ระเทศจนี ใต้เกิดแผ่นดนิ ถลม่ บ่อยครั้ง เช่น เม่อื วนั ท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ได้เกิดฝนตกหนักในเขตมณฑลยูนนานและมณฑลเสฉวน ส่งผลให้เกิดดินถล่มมีผู้เสียชีวิต 148 คน และ
บ้านเรือนเสียหายอย่างมาก ตัวอย่างแผ่นดินถล่มในประเทศไทย เช่น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2549 ที่
อำเภอลบั แล อำเภอทา่ ปลา อำเภอเมือง จังหวดั อตุ รดิตถ์ อำเภอศรสี ชั นาลัย จังหวัดสุโขทยั
1.5 การกัดเซาะชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) คือการที่ชายฝั่งทะเลถูกกัด
เซาะจากการกระทำของคลื่นและลอมใน ทะเลทำให้ชายฝั่งร่นถ่อยแนวเข้าไปในแผ่นดิน ส่งผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดลอ้ มและการดำรงชวี ิตของมนุษย์
1. ปจั จยั ทที่ ำใหเ้ กดิ การกัดเซาะชายฝั่งทะเล มดี งั ต่อไปน้ี
A. ธรณีพิบัติภัยที่เกิดในบริเวณชายฝั่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง
เดน่ ชัด เชน่ แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดนิ ถลม่ เปน็ ตน้
B. การเปลี่ยนแปลงของอากาศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้โลกมีสภาพแวดล้อมต่างๆ กัน
อุณหภูมิอากาศโลก ที่สูงขึ้น อากาศที่ร้อนขึ้นจะทำให้ลักษณะของลม คลื่นรุนแรงระดับน้ำขึ้นน้ำลง
เปลยี่ นแปลง เกิดพายุ รนุ แรงและถก่ี ว่าเดมิ
C. ระดบั น้ำทะเลสูงขนึ้ ระดบั น้ำทะเลสูงข้ึนสว่ นหนึ่งเกิดจากอากาศมอี ุณหภมู สิ ูงข้นึ ทำใหน้ ้ำ
ทะเล ขยายตวั และยังทำให้ธารน้ำแขง็ ในบริเวณขวั้ โลกและบนภเู ขสูงละลายไหลลงสู่มหาสมทุ ร
D. ลกั ษณะโครงสรา้ งทางธรณีวิทยาของท้องทะเลท่ีมกี ารเคลื่อนทีต่ ามแผน่ เปลือกทะเลทำให้
เกิดการ ทรุดตัวของพื้นที่ นอกจากนี้การทรุดตัวของพื้นทีช่ ายฝั่งอาจเกิดจากการกดทับหรืออัดตัวของตะกอน
ในพื้นที่หรืออาจเกิดจากการสูบ ขุด หรือดูดทั้งของแข็งและของเหลวออกจากพื้นที่ เช่น การสูบน้ำบาดาล
ขึ้นมาใช้ในปรมิ าณมาก ทำให้เกิดการทรดุ ตัวของพ้นื ที่ เป็นต้น
E. ปรมิ าณตะกอนไหลลงสทู่ ะเลลดน้อยลง จากการทมี่ ีสิง่ ก่อสร้างปิดกั้นการไหลของน้ำตาม
ธรรมชาติ ทำให้ปริมาณตะกอนตามแนวชายฝัง่ ลดลง การกัดเซาะจึงเกิดข้ึนง่าย
F. กิจกรรมของมนุษย์บนชายฝั่งที่พัฒนาขึ้นมาโดยไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมชายฝั่ง
เช่น การสร้าง ตึกสูงตามแนวชายหาดทรายด้านนอกที่ติดทะเล การถมทะเลเพื่อการพัฒนาที่ดิน การเปลี่ยน
สภาพ ป่าชายเลนที่เป็นปราการธรรมชาติไปทำประโยชน์อย่างอื่น การสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่กีดขวาง
การเคลื่อนทต่ี ามธรรมชาติของคลน่ื และกระแสน้ำ เปน็ ต้น
2) สถานการณ์ชายฝ่ังถูกกัดเซาะ จากการวัดระดับน้ำทะเล โดยำวัดน้ำ ทะเลทวีปต่างๆ ทั่ว
โลกพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึน 12-15 เซนติเมตร บางแห่งที่มีระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นจะเกิดการทรุดตัว
ของแผ่นดิน ตัวอย่างเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาได้สูญเสีย พื้นที่เกาะเวลสเกต (Whale Skate) ในบริเวณหมู่
เกาะ ฮาวาย จากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลหรือประชากรของประเทศตูวาลูที่กำลังเดือดร้อนต้องหาท่ีอยู่
ใหม่ เนื่องแผ่นดินจะจมไปเช่นกัน ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่า หากระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีก 1 เมตร พื้นที่ชายฝั่ง
ของ ประเทศอรุ กวัยจะหายไปร้อยละ 0.05 ประเทศอียปิ ต์ร้อยละ 1 ประเทศเนเธอร์แลนด์ รอ้ ยละ 6 ประเทศ
บงั กลาเทศร้อยละ 17.5 และหมเู่ กาะมาร์แชลล์อาจสญู เสยี พื้นท่ีถึงร้อยละ 80 การเปล่ยี นแปลงดงั กล่าวทำ ให้
มีการประเมินว่าในชว่ ง 30 ปีขา้ งหน้า จะมีการทรุดตวั ของแผ่นดินชายฝ่ังถูกกัดเซาะและความแปรปรวน ของ
ภูมิอากาศโลกจะเพิ่มระดับความรุนแรงขึ้นถึง 20% และจะส่งผลให้เกิดภัยพิบัติทั้งจากน้ำท่วม ดินถล่ม ดิน
ทรุด ความแห้งแลง้ ความปรวนแปรของอากาศ และภยั พิบตั อิ ่นื ๆ ตามมาอกี มากมาย
17
18
สำหรับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมคี วามยาวประมาณ2,600 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ีชายฝ่ังอา่ ว
ไทยและ อันดามันรวม 23จังหวัด โดยฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยมีความยาวประมาณ 1,650 กิโลเมตร ครอบคลุม
พื้นที่ 17 จังหวัด ได้แก่ ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร
สมทุ รสงคราม เพชรบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ ชุมพร สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตั ตานี และ นราธิวาส
ส่วนชายฝั่งทะเลอันดามันมีความยาวประมาณ 950 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลของ 6 จังหวัด
ได้แก่ ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล พื้นที่ชายฝั่งทะเลประเทศไทย 23 จังหวัดประสบปัญหาถูกกัดเซาะ
ชายฝั่งในอัตราความรุนแรงแตกต่าง กัน พื้นที่ที่ประสบปัญหาถูกกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนแรงที่มีความสำคัญ
ทางเศรษฐกิจ และสังคม เช่น พื้นท่ี ชายบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ชายฝั่งเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์
ชายฝั่งชลบุรี ระยอง ตราด นครศรีธรรมราช สงขลา เป็นต้น กรมทรัพยากรธรณีได้รับหมอบหมายจาก
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมให้เป็นเจ้าภาพในการดำเนินการแก้ไขปัญหา การกัดเซาะ
ชายฝั่งและตลิ่งลำน้ำ ได้รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นถึงสภาพปัญหาของพื้นที่วิกฤตการกัดเซาะชายฝั่ง
ทะเลพบวา่ ชายฝง่ั ทะเลบางขุนเทยี น
ถูกกัดเซาะตลอดระยะทาง 5 กิโลเมตร ชายฝั่งอำเภอชะอำ จังหวัด เพชรบุรี และชายฝ่ัง
อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงเป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร และมี
ชายหาดบริเวณพื้นที่ที่มีความสำคัญ เช่น หาดหัวหิน บริเวณพระราชนิเวศ มฤคทายวัน พระราชวังไกลกังวล
ถกู กัดเซาะในระดับปานกลางเป็นระยะทางประมาณ 40กโิ ลเมตร ชายฝ่งั ปตั ตานี –นราธิวาส ถูกกดั เซาะอย่าง
รุนแรงเป็นระยะทางประมาณ 35 กิโลเมตร และชายฝั่งจังหวัดตราดพบ การถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงเป็น
18
19
ระยะทางประมาณ 8กิโลเมตร โดยมีสาเหตุของการกัดเซาะและสภาพแตกต่าง กัน จำเป็นต้องดำเนินการ
สถานภาพ และวางแนวทางแกไ้ ขปัญหาเป็นการเฉพาะในแต่ละเพื่อนที่ ซึ่งต้อง ดeเนินการศึกษาสภาพปญั หา
สาเหตุ และปจั จยั ทางธรณีวทิ ยาสง่ิ แวดลอ้ มและสมุทรศาสตร์ เพอ่ื วางแนว ทางการป้องกัน การแกไ้ ขปญั หาให้
เหมาะสมกับสภาพพ้นื ทว่ี ิกฤตแต่ละแหง่
3) ผลกระทบที่เกิดการชายฝั่งถูกกัดเซาะ การกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ชายฝ่ัง
ของภมู ภิ าค ตา่ งๆ และชายฝ่งั ของประเทศไทยส่งผลกระทบในดา้ นต่างๆ ดังน้ี
3.1.ระบบนิเวศชายฝั่ง ทำให้ระบบนิเวศชายฝั่ง เช่น แนวปะการัง ป่าไม้ชายเลน หญ้าทะเล
และสิ่งมชี วี ิตอ่ืนๆ ถูกทำลาย สง่ ผลให้สภาพแวดลอ้ มชายฝัง่ เสื่อมโทรมลง
3.2. สภาพเศรษฐกิจ เมื่อพื้นที่ชายทั้งทะเลไม่มีความอุดมสมบรูณ์ ไม่มีความสวยงามตาม
ธรรมชาติ ส่งผลให้ นักทอ่ งเทีย่ วลดนอ้ ยลง กระทบอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว ซงึ่ เปน็ รายได้สำคญั ของประเทศ
และกระทบตอ่ การเพาะเลีย้ งสตั ว์น้ำชายฝั่ง สง่ ผลใหเ้ กดิ การสูญเสียทางเศรษฐกจิ จำนวนมาก
3.3.การดำรงชีวิตของประชนการกดั เซาะชายฝัง่ ทำใหส้ ่ิงปลกู สร้างเสียหาย สูญเสียทีด่ นิ และ
ทรัพย์สิน ส่งผล กระทบต่อคุณภาพชีวิตและวิถีชีวิตของคนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป หลายชุมชนต้องอพยพ
ออกจากพนื้ ท่ี
3.4. การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งมีความสลับซับซ้อน
เนอื่ งจากมเี หตุผล ปจั จยั ประกอบกันหลายด้านจึงเป็นเร่ืองยากทจ่ี ะหาสาเหตทุ ี่แทจ้ ริง และแก้ไขปัญหาได้ตรง
จุด ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขช่วงเวลาที่ผ่านมา จึงไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร แต่อย่างไรก็ตาม
หน่วยงานต่างๆ ได้พยายามจะบรรเทาปัญหา และลดผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการต่างๆ ซ่ึง
การแกไ้ ขปญั หาใน
ปจั จุบันมวี ิธีการแก้ไข 2 วิธี ดังน้ี
4.1) วิธีการทางธรรมชาติ ได้แก่ การพื้นฟูและอนุรักษาป่าชายเลน ป่าชายหาด แหล่งหญ้า
ทะเล และแนว ปะการัง โดยเฉพาะการอนุรักษ์ป่าชายเลน ซึ่งนอกจากจะเป็นประการสำคัญในการช่วยลด
ความรุนแรงของ คลื่นลม ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งของการเกิดการกัดเซาะชายฝั่งแล้ว ป่าชายเลนยงั
เป็นแหลง่ ทอ่ี ยู่ อาศัย หลบภยั แพร่พันธข์ุ องสตั ว์ทะเลซ่ึงถือว่าเป็นแหลง่ อาหารของผู้คนในท้องถนิ่ อกี ด้วย
4.2) วธิ กี ารทางวศิ วกรรม การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝงั่ โดยวิธีการทางวิศวกรรมน้ัน มี
วัตถุประสงค์เพ่ือ ดกั ตะกอนชายหาด สลายพลงั งานคลื่น และพยายามรักษาสภาพชายหาดใหเ้ กิดความสมดุล
โดยวิธีการทาง วิศวกรรมที่ใช้แก้ไข เช่น การสร้างเขื่อนกันคลื่นสร้างแนวกันคลื่นนอกชายฝั่ง สร้างกำแพงกัน
ตลิ่ง สร้าง ปะการังเทียม เป็นต้น 1.6 วาตภัย (Storms) เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายลุ มแรง สามารถแบ่ง
ลกั ษณะของวาตภยั ได้ตาม ความเรว็ ลม สถานทที่ เี่ กดิ เช่น พายฝุ นฟ้าคะนอง พายดุ ีเปรชนั พายุโซนร้อน พายุ
ไตฝ้ นุ่ เป็นตน้ ทำใหเ้ กดิ ความเสียหายให้แกช่ ีวติ ของมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสรา้ งต่างๆ
19
20
1)ปจั จยั ทีท่ ำใหเ้ กดิ วาตภัย มสี าเหตุมาจากปรากฏการณธ์ รรมชาติ ดงั นี้
1.1)พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน ได้แก่ พายุดีเปรชัน
พายโุ ซน ร้อน พายุไต้ฝุน่ พายหุ มุนเขตร้อนมีชื่อเรยี กต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด เช่น พายุที่เกิดในอ่าว เบงกอ
ลและมหาสมุทรอินเดียเรียกว่า “ไซโคลน” (Cyclone) พายุที่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือทะเล
แคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และทางด้านตะวันตกของเม็กซิโกเรียกว่า “เฮอลิแคน” (Hurricane) พายุที่เกิดใน
มหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางด้านฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปซิฟิกไต้ และทะเลจีนไต้ เรียกว่า “ไต้ฝุ่น”
(Typhoon) พายทุ ี่เกิดแถบทวปี ออสเตรเลยี เรียกวา่ “วลิ ลี-วิลลี” (willy-willy) หรือเรยี กชื่อตามบริเวณท่ีเกดิ
1.2) ลมงวง หรือพายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการหมุนเวียนของลมภายใต้
เมฆกอ่ ตวั ในแนวดิ่งหรือเมฆพายฝุ น
ฟ้าคะนอน (เมฆคิวมูโลนิมบสั )ทม่ี ฐี านเมฆต่ำ กระแสลมวนที่มีความเรว็ ลมสงู นี้ จะทำให้กระแสอากาศ
เป็นลมพุ่งข้ึนสู่ท้องฟ้า หรือยอ้ ยลงมาจากฐานเมฆดูคลา้ ยกบั งวงหรือปล่องยื่นลงมา ถ้าถึง พื้นดินก็จะทำความ
เสียหายแก่ บ้านเรอื น ต้นไม้ และสงิ่ ปลูกสร้างได้
1.3)พายุฤดูร้อน เป็นพายุที่เกิดในฤดูร้อน ในประเทศไทยส่วนมากเกิดระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือน
เมษายน โดยจะเกิดบ่อยครั้งในภาคเหนือและภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนกลางและภาค
ตะวันออก การ เกดิ นอ้ ยครัง้ กวา่ สำหรับภาคใตก้ ็สามารถเกดิ ไดแ้ ต่ไม่บ่อยนกั โดยพายุฤดรู ้อนจะเกดิ ในช่วงท่ีมี
ลกั ษณะอากาศ ร้อนอบอา้ วติดต่อกันหลายวันแลว้ มีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัด
มาประทะกัน ทำให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้โดยจะทำความเสียหายในบริเวณ
กว้างนกั ประมาณ 20-30 ตารางกโิ ลเมตร
2)สถานการณก์ ารเกิดวาตภัย วาตภัยคร้ังรา้ ยแรงที่เกิดในประเทศตา่ งๆ เช่น พายุไซโคลนนาร์กสี เกิด
เมอ่ื วนั ที่2 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เป็นพายุหมนุ เขตรอ้ นที่มคี วามรนุ แรงระดับสงู พดั ผา่ นสหภาพพมา่ ส่งผลให้
ชาวพมา่ เสยี ชวี ิต 22,000 คน และสูญหายอีก 41,000 คน
-พายุไซโคลนเอลลี เกิดขึ้นวันที่30 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นพายุที่ก่อให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วม
รุนแรงที่สุดในรอบ 30 ปี บริเวณรัฐควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ส่งผลให้บริเวณน้ำฝนสูงกว่า 1 ฟุต น้ำ
ทว่ มบา้ นเรอื นกวา่ 3,000 หลังเสยี หายกวา่ 100ลา้ นเหรียญออสเตรเลีย
20
21
-พายุไต้ฝุ่นกีสนา เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26-30 กันยายน พ.ศ. 2552 ได้พัดถล่มกรุงมะนิลา ประเทศ ฟิ
ลิปินส์ แล้วพัดผ่านเวียดนาม กัมพูชา ลาว และไทย ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย ประมาณ 700 คน ส่วน วาต
ภยั คร้งั ร้ายแรงท่เี กดิ ขน้ึ ในประเทศไทย เชน่
พายโุ ซนรอ้ น “แฮรเ์ รยี ต” ทแ่ี หลมตะลมุ พุก อำเภอปากหนัง จงั หวดั นครศรีธรรมราช พ.ศ.2505
พายุไตฝ้ นุ่ “เกย”์ ท่ีพดั เขา้ สู่จังหวดั ชุมพร เมอื่ พ.ศ. 2532
พายุไตฝ้ ุ่น “ลินดา” ท่ีพัดเขา้ ส่ทู างใตข้ องประเทศไทย เมือ่ พ.ศ. 2540
พายโุ ซนรอ้ น “หม่ยุ ฟา้ ” ทพี่ ดั เข้าส่ชู ายฝัง่ ภาคใต้ของไทย
เมื่อ พ.ศ. 2547
3)ผลกระทบท่ีเกิดจากวาตภัย ทำให้เกิดอันตราย และความเสียหาย ดังน้ี บนบก ต้นไม้ถอนรากถอน
โคนต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง ผู้คนได้รบั บาดเจบ็ จนอาจถงึ เสยี ชีวิต เรือกสวนไร่นา เสียหายหนักมาก บ้านเรียนที่
ไม่แข็งแรงไม่สามารถต้านทานความรุนแรงของลมได้พังระเนระนาดหลังคาที่ทำ ด้วยสังกะสีจะถูกพัดเปิด
กระเบ้อื งหลงั คาปลวิ วอ่ น เป็นอนั ตรายตอ่ ผู้คนที่อยใู่ นทีโ่ ลง่ แจง้ เสาไฟฟ้า เสาไฟลม่ สายไฟขาด ไฟฟา้ ลดั วงจร
เกิดไฟไหม้ผู้คนสูญเสียจากไฟฟ้าดูดได้ ผู้คนที่พักอยู่ริมทะเลจะถูกคลื่นซัดท่วม บ้านเรือนและกวาดลงทะเล
ผู้คนอาจจมน้ำทะเลตายได้ ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน เกิดอุทกภัยตามมา น้ำป่าจากภูเขาไหลหลากลงมา
อยา่ งรนุ แรง ทว่ มบ้านเรือน ถนน และไรส่ วนนา เสน้ ทางคมนาคม ทาง รถไฟ สะพาน และถกู ตัดขาด ในทะเล
มลี มพัดแรง คลน่ื ใหญ่ เรอื ขนาดใหญ่อาจพัดพาไปเกยฝง่ั หรือชน หนิ โสโครกทำให้จมได้ เรอื ทกุ ชนิดควรงดออก
จากฝั่ง หลีกเลี่ยงการเดินเรือเข้าใกล้ศูนย์กลางพายุมีคลื่นใหญ่ซัดฝั่งทำให้ระดับน้ำสูง ท่วมอาคารบ้านเรือน
บริเวณทะเล พน้ื ทีเ่ พาะเล้ียงสตั วน์ ้ำชายฝ่งั และอาจกวาดสิง่ กอ่ สรา้ งทีไ่ มแ่ ข็งแรงลงทะเล ได้ เรือประมงบริเวณ
ชายฝ่ังจะถกู ทำลาย
4) การระวังภัยจากวาตภยั สามารถทำได้ ดังนี้
4.1)ขณะเกิดวาตภัย ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี
4.1.1.ติดตามข่าวและคำเตือนลักษณะอากาศจากกรมอุตนุ ยิ มวิทยา
4.1.2.เตรียมวทิ ยแุ ละอุปกรณส์ อ่ื สาร ชนดิ ใช้ถา่ นแบตเตอร่ี เพ่อื ตดิ ตามข่าวในกรณที ่ีไฟฟ้าขัดข้อง
4.1.3. ตัดหรือรึกิ่งไม้ที่อาจหักได้จากลมพายุ โดยเฉพาะกิ่งที่หักมาทับบ้าน สายไฟฟ้า ต้นไม้ที่ยืนต้น
ตายควร จัดการโค่นลงเสีย
4.1.4. ตรวจเสาและสายไฟฟ้าทั้งในและนอกบริเวณนอกบ้านใหเ้ รียบร้อย ถ้าไม่แข็งแรงให้ยึดเหนี่ยว
เสาไฟให้มัน คง
21
22
4.1.5.พกั ในอาคารท่ีม่นั คงตลอดเวลาขณะเกิดวาตภยั อย่าออกมาในที่โล่งแจ้งเพราะกง่ิ ไม้อาจหักโค่น
ลงมาทับได้ รวมทงั้ หลังคาสงั กะสแี ละกระเบื้องจะปลิวตามลมมาท าอนั ตรายได้
4.1.6. ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมทั้งยึดประตูและหน้าต่างให้มั่นคงแข็งแรง ถ้าประตูหน้าต่างไม่
แข็งแรง ใหใ้ ช้ ไมท้ าบตีตะปตู รึงปดิ ประตู หนา้ ต่างไว้จะปลอดภัยย่ิงขึ้น
4.1.7. ปิดกัน้ ช่องทางลมและชอ่ งทางตา่ ง ๆ ทลี่ มจะเข้าไปทำใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
4.1.8. เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟไว้ให้พร้อม ให้อยู่ใกล้มือ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับจะได้หยิบใช้ได้
อยา่ งทนั ทว่ งที และนำ้ สะอาด พร้อมท้งั อปุ กรณ์เครอ่ื งหมุ้ ตุ้ม
4.1.9. เตรียมอาหารสำรอง อาหารกระป๋องไวบ้ ้างสำหรบั การยงั ชพี ในระยะเวลา 2-3 วนั
4.1.10. ดบั เตาไฟใหเ้ รียบร้อยและควรจะมอี ปุ กรณส์ ำหรับดับเพลิงไว้
4.1.11. เตรียมเครือ่ งเวชภัณฑ์
4.1.12. สง่ิ ของควรไวใ้ นทตี่ ่ำ เพราะอาจจะตกหลน่ แตกหกั เสียหายได้
4.1.13. บรรดาเรือ แพ ให้ลงสมอยดึ ตรึงใหม้ ัน่ คงแข็งแรง
4.1.14. ถ้ามีรถยนต์ หรือพาหนะ ควรเตรียมไว้ให้พร้อมภายหลังพายุสงบอาจต้องนำผู้ป่วยไปส่ง
โรงพยาบาล น้ำมนั ควรจะเติมใหเ้ ตม็ ถงั อย่ตู ลอดเวลา
4.1.15. เมื่อลมสงบแล้วต้องรออย่างน้อย 3 ชั่วโมง ถ้าพ้นระยะนี้แล้วไม่มีลมแรงเกิดขึ้นอีก จึงจะ
วางใจว่าพายไุ ด้ ผ่านพ้นไปแล้ว ทั้งนี้เพราะ เมื่อศูนย์กลางพายผุ ่านไปแล้วจะต้องมีลมแรงและฝนตกหนักผ่าน
มาอกี ประมาณ 2 ชว่ั โมง
4.2เม่ือพายสุ งบแลว้
4.2.1. เมื่อมผี ูบ้ าดเจบ็ ให้รบี ชว่ ยเหลือและนำส่งโรงพยาบาลหรอื สถานพยาบาลท่ีใกลเ้ คยี งให้เร็ว ที่สดุ
4.2.2. ตน้ ไมใ้ กล้จะลม้ ใหร้ ีบจดั การโค่นล้มลงเสีย มิฉะนัน้ จะหักโค่นล้มภายหลัง
4.2.3. ถ้ามีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาดอย่าเข้าใกล้หรือแตะต้องเป็นอันขาด ท าเครื่องหมายแสดง
อันตราย
4.2.4. แจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีหรอื ชา่ งไฟฟ้าจดั การด่วน อย่าแตะโลหะทีเ่ ป็นสื่อไฟฟา้
4.2.5. เมือ่ ปรากฎว่าท่อประปาแตกท่ีใด ใหร้ บี แจง้ เจ้าหนา้ ที่มาแกไ้ ขโดยดว่ น
4.2.5. อย่าเพิ่งใช้น้ำประปา เพราะน้ำอาจไม่บริสุทธิ์ เนื่องจากท่อแตกหรือน้ำท่วม ถ้าใช้น้ำประปา
ขณะน้ันด่มื อาจจะเกิดโรคได้ ให้ใชน้ ้ำทก่ี ักตนุ ก่อนเกิดเหตุดืม่ แทน
4.2.6. ปญั หาทางด้านสาธารณสขุ ที่อาจจะเกดิ ขนึ้ ได้ การเตรียมยารักษาโรคตา่ งๆที่มักเกิดหลังวาตภัย
เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคตดิ เชื้อ ปรสติ โรคผิวหนงั โรคระบบทางเดนิ อาหาร โรคภาวะทางจิต เปน็ ตน้
1.7 ไฟป่า ไฟป่า(Wild Fire) คอื ไฟที่เกดิ ขึ้นแลว้ ลกุ ลามไปไดโ้ ดยปราศจากการควบคุมไฟป่าอาจเกิดขึ้นจาก
สาเหตุ ธรรมชาตหิ รอื เกิดจากการกระทำของมนุษยแ์ ล้วสง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมและการดำรงชวี ิตของ
มนุษย์ ไฟ
ป่าท่เี กดิ ขน้ึ บริเวณภขู าจะมีความรุนแรงและขยายพนื้ ทไี่ ด้เรว็ กวา่ พนื้ ราบ
1) ปัจจัยท่ีทำให้เกดิ ไฟป่า เกิดจาก 2 สาเหตุ ดงั นี้
1.1 เกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาตเิ กดิ ข้นึ จากหลายสาเหตุ เชน่ ฟา้ ผ่า กิง่ ไม้เสยี ดสี
กัน ภูเขาไฟระเบดิ ก้อนหนิ กระทบกัน แสงแดดตกกระทบผลกึ หนิ แสงแดดสอ่ งผ่านหยดน้ำ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี น
ดนิ ปา่ พรุ การลุกไหม้ในตวั เอง ของสิง่ มชี วี ติ (Spontaneous Combustion) แต่สาเหตทุ ี่สำคัญ คือ
1.1.1 ฟา้ ผ่า เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดไฟปา่ ในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ
แคนาดา (ภาพท่ี 1.7) พบว่ากว่าครึ่งหนง่ึ ของไฟปา่ ท่ีเกิดข้ึนมสี าเหตมุ าจากฟ้าผ่า|
22
23
1.1.2 ก่ิงไม้เสยี ดสีกนั อาจเกิดขน้ึ ได้ในพ้ืนท่ีป่าทมี่ ีไม้ข้ึนอยู่อยา่ งหนาแนน่ และมีสภาพอากาศแหง้ จดั
เช่น ใน ปา่ ไผ่หรือป่าสน เปน็ ต้น 2. สาเหตุจากมนษุ ย์ ไฟป่าท่เี กิดในประเทศกำลงั พฒั นาในเขตร้อนสว่ นใหญ่
จะมีสาเหตมุ าจากกจิ กรรมของมนุษย์ ดังนี้
2.1 เกบ็ หาของป่า เป็นสาเหตุท่ีทำใหเ้ กิดไฟป่ามากท่ีสุด การเกบ็ หาของ ปา่ ส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่มดแดง
เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้ำผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญเ่ พื่อให้พื้นป่า โล่ง เดินสะดวก หรือให้แสง
สวา่ งในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพอ่ื กระตุ้นการงอก ของเห็ด หรือกระตุ้นการแตก
ใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ
ในขณะทอี่ ยู่ในป่า
2.2 เผาไร่ เป็นสาเหตุที่สำคัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกำจัดวัชพืชหรือเศษซากพืชที่เหลืออยู่
ภายหลังการ เก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป ทั้งนี้โดยปราศจากการทำแนวกันไฟและ
ปราศจากการ ควบคมุ ไฟจึงลามเข้าปา่ ท่อี ยู่ในบริเวณใกล้เคยี ง
2.3 แกลง้ จุด ในกรณีทีป่ ระชาชนในพื้นท่ีมปี ัญหาความขดั แย้งกับหนว่ ยงานของรัฐในพื้นที่ โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่ง ปญั หาเรือ่ งท่ที ำกนิ หรือถูกจบั กุมจากการกระทำผดิ ในเรื่องป่าไม้ กม็ กั จะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าท่ีด้วย
การเผา ป่า
2.4 ความประมาท เกิดจากการเขา้ ไปพกั แรมในป่า ก่อกองไฟแล้วลืมดับ หรือทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพื้นป่า
เปน็ ตน้
2.5 ล่าสัตว์โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือจุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากที่ซ่อน หรือจุดไฟเพื่อให้แมลงบินหนีไฟ
นกชนิด ต่างๆ จะบินมากินแมลง แล้วดักยิงนกอีกทอดหนึ่ง หรือจุดไฟเผาทุ่งหญ้า เพื่อให้หญ้าใหม่แตกระบัด
ล่อใหส้ ัตว์ ชนดิ ต่างๆ เชน่ กระทงิ กวาง กระตา่ ย มากนิ หญา้ แลว้ ดกั รอยิงสัตว์นั้นๆ
2)สถานการณ์การเกิดไฟป่า ในปี พ.ศ.2543 ถือว่าเป็นปีแรกที่มีการสำรวจสถิติไฟป่าในภาพรวมของ
ทั้งโลก โดยใช้การแปลภาพถ่ายดาวเทียม จากรายงานชื่อ Global Burned Area Product 2000 พบว่าจาก
การ วิเคราะห์เบื้องต้นมีพื้นที่ไฟไหม้ทั่วโลกใน พ.ศ. 2543 สูงถึงประมาณ 2,193.75 ล้านไร่ และนับวัน
สถานการณ์ไฟปา่ ก็ยิ่งทวีความรนุ แรงมากยิ่งขึน้ ตวั อย่างเช่น เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ได้เกิดไฟป่าคร้งั
ใหญ่ในประเทศออสเตรเลีย ทำให้มีผู้เสียชีวิต 173 คนบาดเจ็บมากกว่า 500 คน และมีผู้ไร้ที่อยู่อาศัยกว่า
7500 คน เป็นต้น สถานการณ์ที่เกิดขึ้นมนประเทศไทย และบริเวณใกล้เคียง ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2549 ถึง
วันที่ 17 มีนาคม 2550 ปฏิบัติงานดับไฟป่า จำนวน 5609 ครั้ง พื้นที่ถูกไฟไหม้ 87,290.3 ไร่ โดยท้องที่ ภาค
เหนือมสี ถติ ไิ ฟไหม้มากทสี่ ุด จำนวน 3,273 ครั้ง พื้นท่ถี กู ไฟไหม้ 36,626.8 ไร่ การตรวจตดิ ตาม Hotspot (จุด
23
24
ที่คาดว่าจะเกดิ ไฟ) จากดาวเทียม Terra และ Aqua ด้วยระบบ MODIS พบว่า ตั้งแต่วันท่ี 4-9 มีนาคม 2550
เกิด Hotspot ในภูมิภาคอินโดจีนและประเทศพม่า โดยมีแนวโน้มการ เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือน
กุมภาพันธ์ 2550 จนถึงปัจจุบัน โดยพบค่าสูงสุดในวันที่ 6มีนาคม 2550 รวม 1,668 จุด วันที่ 4 และ 8
มีนาคม 2550 รวม 1,477 จุด และ 1,112 จุดตามลำดับ และจากการ ตรวจติดตาม Hotspot อย่างต่อเนื่อง
จนถึงวันที่ 17 มีนาคม 2550 พบว่า Hotspot มีจำนวนเหลือเพียง 217 จุด สำหรับพื้นที่ภาคเหนือ จำนวน
Hotspot มากที่สุดในวันที่ 6 มีนาคม 2550 จำนวน 944 จุด และ ในวันที่ 17 มีนาคม 2550 เหลือเพียง 59
จุด
3 ผลกระทบท่เี กดิ จากไฟป่า มีดงั น้ี
1. ลูกไม้กล้าไม้เล็กๆ ในป่า ถูกเผาทำลาย หมดโอกาสเติบโตเป็นไม้ใหญ่ส่วนต้นไม้ใหญ่หยุดการ
เจริญเติบโต เนื้อไม้เสื่อมคุณภาพลง เป็นแผล เกิดเชื้อโรค และ แมลงเข้ากัดทำลายเนื้อไม้ สภาพป่าที่อุดม
สมบูรณ์ เปลย่ี นสภาพเปน็ ทุ่งหญ้าไปในทีส่ ุด
2. หมอกควันที่เกิดจากไฟป่าก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสภาวะอากาศเป็นพิษ ทำลายสุขภาพของ
คน เกิดทัศนวิสัยไม่ดีต่อการบิน บางครั้งเครื่องบินไม่สามารถบินขึ้นหรือลงจอดได้ ส่งผลให้เกิดความเสียหาย
ทาง เศรษฐกจิ และสูญเสียสภาพความสวยงามตามธรรมชาติ ไม่เหมาะสำหรับทอ่ งเท่ยี วอีกต่อไป
3. ไฟป่าทำลายสิ่งปกคลุมดิน หน้าดินจึงเปิดโล่ง เมื่อฝนตกลงมาเม็ดฝนจะตกกระแทกกับหน้าดิน
โดยตรง เกิดการชะลา้ งพังทลายของดนิ ได้ง่าย ทำให้น้ำท่ีไหลบ่าไปตามหน้าดิน พดั พาหน้าดินอันอุดมสมบูรณ์
ไป ด้วย และดินอัดตัวแน่นทบึ ขึน้ การซึมน้ำไม่ดี ทำให้การอุ้มน้ำหรอื ดูดซับความชืน้ ของดนิ ลดลง ไม่สามารถ
เก็บกกั นำ้ และธาตอุ าหารท่ีจำเปน็ ตอ่ พชื ได้
4. น้ำเต็มไปด้วยตะกอนและขี้เถ้าจากผลของไฟปา่ จะไหลสู่ลำห้วยลำธาร ทำให้ลำหว้ ยขุ่นข้นมีสภาพ
ไม่ เหมาะตอ่ การนำมาใช้ เมือ่ ดนิ ตะกอนไปทบั ถมในแมน่ ้ำมากขึ้น ลำนำ้ ก็จะตน้ื เขนิ จนุ ้ำได้นอ้ ยลง เมือ่ ฝน ตก
ลงมาน้ำจะเอ่อลน้ ทว่ มสองฝงั่ เกิดเปน็ อุทกภัย สร้างความเสยี หายในดา้ นเกษตร การเพราะปลูก การ สัตว์เล้ียง
และสร้างความเสียหายเม่อื น้ำทะลักเขา้ ท่วมบา้ นเรือนทำใหท้ รัพย์สินไดร้ ับความเสียหาย หนา้ แล้งพื้นดนิ ที่มีแต่
ตะกรวดทรายและชนั้ ดินแนน่ ทึบจากผลของไฟปา่ ทำให้ดนิ ไมส่ ามารถเก็บกักน้ำ ในชว่ งฤดูฝนเอาไวไ้ ด้ทำให้ลำ
น้ำแหง้ ขอดเกิดสภาวะแหง้ แล้งขาดแคลนน้ำเพ่อื การอุปโภคบริโภค และเพื่อ การเกษตร
4) การระวังภัยจากไฟป่า การจัดการและการแก้ไขปัญหาไฟป่าอย่างครบวงจร เริ่มตั้งแต่การป้องกัน
ไม่ให้เกิด ไฟป่า โดยศึกษาหาสาเหตุของการเกิดไฟป่าแล้ววางแผนป้องกันหรือกำจัดต้นตอของสาเหตุนั้น แต่
ไฟป่ายังมี โอกาสขึ้นได้เสมอ ดังนั้น จำเป็นต้องมีมาตรการอื่นๆ รองรับตามมา ได้แก่ การเตรียมการดับไฟปา่
การตรวจหาไฟ การดับไฟป่า และการประเมินผล การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานงานควบคุมไฟป่าแบ่งได้ 2
กจิ กรรมหลักได้ ดังนี้
24
25
4.1 การปอ้ งกนั ไฟปา่ สามารถดำเนนิ การได้ดงั น้ี
4.1.1.การรณรงค์ป้องกนั ไฟป่า ไฟปา่ ทเ่ี กิดขนึ้ ในหลายประเทศ สว่ นใหญ่มสี าเหตุมาจากการกระทำ
ของมนษุ ย์ ดงั น้นั แนวทางการแก้ไขปัญหาที่มีประสทิ ธภิ าพท่สี ุดคอื การปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ประชาชนจดไฟเผาปา่
ทง้ั นี้อาจทำได้ โดยการประชาสมั พนั ธ์ชี้แนะให้ประชาชนตระหนกั ถึงความสำคัญของทรัพยากรปา่ ไม้ ความ
จำเป็นที่จะต้อง ดูแลรักษา ตลอดจนผลเสียทจ่ี ะเกิดขนึ้ หากมีการบุกรุกทำลายหรอื เผาป่า เพื่อให้ประชาชนเกิด
ทัศนคติท่ี ถกู ต้อง เลิกจุดไฟเผาป่า และหนั มาให้ความร่วมมือป้องกันไฟป่า การรณรงค์ปอ้ งกนั ไฟป่าสามารถ
ดำเนนิ การ ได้ในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ การประชาสมั พันธ์ สอื่ มวลชน การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ การแจกจา่ ย
สง่ิ ตีพมิ พ์ และเอกสารเผยแพร่การจดั นทิ รรศการ การให้การศึกษา การจัดฝกึ อบรม ตลอดจนการเปิดโอกาส
ให้ ประชาชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมดา้ นปา่ ไม้ เป็นต้น
4.1.2.การจดั การเชือ้ เพลงิ โดยการทำแนวกนั ไฟ และการกำจดั เช้ือเพลงิ ในพื้นท่ีท่ีล่อแหลมตอ่ การเกดิ
ไฟป่า เชน่ มีวัชพชื หนาแน่น พนื้ ทปี่ ่าสองขา้ งถนน ซง่ึ มโี อกาสเกิดไฟป่าได้งา่ ย เพ่ือลดโอกาสการเกิดไฟป่าได้
ง่าย เพ่ือลด โอกาสการเกิดไฟป่า หรอื หากเกิดไฟป่าข้นึ กจ็ ะมีความรนุ แรงน้อย สามารถควบคมุ ง่าย
4.2 การปฏบิ ตั งิ านดับไปไฟป่า เป็นการปฏบิ ัติงานเพื่อควบคุมดับไฟป่า มิใหล้ ุกลามเผาทำลายต้นไม้
ในกรณี ที่เกดิ ไฟปา่ ขึ้นแลว้ ในปจั จุบนั มหี นว่ ยปฏบิ ัตงิ านภาคสนามของกรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์
พืช ทที่ ำหนา้ ท่ีในการดับไฟป่า คอื สถานีควบคมุ ไฟป่าทอี่ ยู่ในทกุ จังหวัด ในส่วนของประชาชนท่อี าศยั อยู่ใน
พืน้ ทปี่ า่ อย่ใู นป่า มีสว่ นสำคัญท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ไฟป่าและมีส่วนสำคญั ในการให้ ความร่วมมือในการปอ้ งกนั ไฟป่า ซง่ึ
สามารถทำได้ดงั น้ี
4.2.1.เมอื่ ทำการเผ่าไร่ในพ้นื ทค่ี วบคมุ ดูแลไฟไม่ให้ลุกลามเข้าไปในป่า และควรทำแนวป้องกันไฟป่า
ก่อนเผาทุก ครั้ง
4.2.2. ไม่จุดไฟเผาป่าเพ่ือลา่ สัตว์ และไม่จดุ ไฟเล่นด้วยความสนุกหรอื คึกคะนอง
4.2.3. ระมดั ระวังการใชไ้ ฟ เมอื่ อยูใ่ นปา่ หรอื พักแรมในป่า หากมีความจำเป็นตอ้ งใชไ้ ฟ ควรดับไฟให้
หมดกอ่ น ออกจากป่า
4.2.4. เมื่อพบเห็นไฟไหมป้ ่าหรือสวนป่า ให้ชว่ ยกันดับไฟป่าหรือแจ้งหน่วยราชการที่อยู่บริเวณ
ใกล้เคียง
4.2.5. มีสว่ นรว่ มดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ ชีใ้ หเ้ ห็นความสำคัญของป่าไม้และความเสียหายที่เกดิ จากไฟ
ป่าและโทษ ทจ่ี ะได้รับ หรือเป็นอาสาสมัครป้องกนั ไฟป่า
25
26
4.2.6. ชว่ ยเป็นหูเปน็ ตาให้เจา้ หน้าที่ในการส่องดูแลไมใ่ ห้เกิดไฟไหมป้ ่ารวมท้ังชว่ ยจบั กมุ ผู้ฝา่ ฝืนมา
ลงโทษตาม กฎหมาย เพ่ือมิให้เปน็ เยี่ยงอยา่ งแก่บุคคลอื่นต่อไป
แนวทางและวธิ กี ารป้องกันภัยพิบตั ิ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศโลกในปัจจุบันสืบเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย จึง
ก่อให้เกิดภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ซึ่งเป็นเรื่องใกลต้ วั มนษุ ย์ เกิดขึ้นบ่อยคร้ัง และนับวนั จะทวคี วามรุนแรงยิง่ ขึ้น
สรา้ งความเสยี หายท้งั ต่อชวี ิตและทรัพยส์ นิ ซ่งึ เหตุการณ์และปญั หาท่เี กิดขน้ึ ในแตล่ ะครั้ง เป็นสถานการณ์ท่ีไม่
ทันรู้ตัว หรือรู้ตัวแต่ไม่ทันเตรียมการในการป้องกัน หรือขาดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ในการเตรียม
ความพรอ้ มที่จะรับมือกบั เหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดข้ึน
ซึ่ง ประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อภัยพิบัติต่างๆ อาทิ ภัยน้ำท่วม ดินถล่ม แผนดินไหว สึนามิ ภัย
แล้ง ฯลฯ ในขณะเดียวกันมีประชาชนจำนวนมากที่ไม่มีข้อมูลสำหรับการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ จึงไม่
สามารถหาทางป้องกันและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัยดังนั้น เพื่อเป็นการให้ความรู้และสร้างความ
ตระหนักแก่ประชาชนเกี่ยวกับภัยพิบัติต่างๆ จึงรวบรวมข้อมูลอันเป็นประโยชน์เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภัย
พิบตั แิ ตล่ ะประเภท ดังน้ี
การเตรียมความพร้อมรับมือกับภยั พบิ ตั ิ
1. เตรยี มพรอ้ มกอ่ นภยั มา สร้างแผนฉุกเฉนิ เช่น หาวิธีแจง้ เหตุ กระจายขา่ ว เส้นทางอพยพ
กำหนดจดุ ปลอดภัย และประกาศให้ทราบโดยทว่ั กัน
2. เตรยี มพร้อมด้านรา่ งกาย ทอ่ี ยู่อาศยั และสัตว์เลย้ี ง รวมทงั้ ต้องซกั ซ้อมบ่อยๆในเรื่องการ
อพยพและการส่ือสาร
3. เตรียมปัจจยั ส่ี จัดเป็นชดุ ให้หยิบฉวยง่าย จัดเตรียมน้ำ ยารกั ษา และของใชท้ จ่ี ำเป็น ใส่ถงุ
เป็นชดุ ๆ เก็บไวใ้ นที่ที่ปลอดภัย
4. ติดตามฟังข่าวสารบ้านเมือง
5. ประชาสัมพนั ธ์ใหค้ วามรทู้ ่ีถูกต้องแก่ประชาชนทัว่ ไป
ภัยจากนำ้ ทว่ ม
1. ตดิ ตามขา่ วสาร และ เชอ่ื ฟงั ประกาศ จากเจ้าหน้าท่ี
2. สบั คตั เอาท์ไฟก่อนออกจากบ้าน แลว้ อพยพจากพื้นทน่ี ้ำทว่ มสูงอย่างทันที อย่าหว่ งทรัพย์สิน
ห่วงชีวติ ตนและคนรอบข้างก่อน
3. โทรแจ้งสายด่วน 1669 หากพบผู้ถูกไฟดดู ให้การปฐมพยาบาลตามคำแนะนำ หากหัวใจ
หยุดเตน้ ใหร้ ีบกดหนา้ อกช่วยหายใจ
26
27
4. ห้าม ลงเล่นน้ำหรอื พายเรือเขา้ ใกลส้ ายไฟ และระวงั อนั ตรายจากสัตว์มพี ิษ และเช้ือโรคทม่ี า
กบั น้ำ
5. หากเดนิ ลยุ นำ้ หลังจากเข้าบ้านแลว้ ควรรบี ลา้ งเท้าทำความสะอาดและเช็ดให้แห้ง หากเทา้ มี
บาดแผลควรชะล้างดว้ ยน้ำยาฆา่ เช้ือ เพ่ือป้องกนั โรคนำ้ กดั เทา้
6. นำถงุ พลาสติก ใสท่ รายหรือดนิ อุดท่คี อห่านและท่อนำ้ ทิ้ง เพ่อื ป้องกันน้ำท่วมดนั เขา้ มาทางโถ
สว้ ม
ภยั จากนำ้ ท่วมเฉียบพลัน
1. ตดิ ตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด และปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ
2. สับคัตเอาทไ์ ฟก่อนออกจากบ้าน แล้วรีบอพยพขน้ึ ท่ีสูง โดยหลกี เลีย่ งแนวธารน้ำ ชอ่ งระบาย
น้ำ
3. สวมเชอ้ื ชชู ีพเสมอ ห้าม เดินฝา่ กระแสน้ำ และใช้ไม้ปกั ดินคลำทางเพือ่ สังเกตุว่าดนิ ตื้นลกึ แค่
ไหน
4. หา้ ม ขับรถฝา่ กระแสนำ้ ท่วมและถ้าหากน้ำขึ้นสงู รอบๆรถ ให้รีบออกจากรถ
5. อย่า เส่ยี งช่วยผู้อ่นื หากอุปกรณ์ไม่พร้อม เพราะอาจไม่รอดทั้งคู่
6. โทรแจง้ สายดว่ นฉุกเฉิน 1669 หากพบผู้บาดเจ็บ
ภัยจากดนิ โคลนถล่ม
1. หากฝนตกหนกั ให้สงั เกตุสญั ญาณเตือนภยั ของเหตุดนิ โคลนถล่ม เชน่ เสียงต้นไมห้ ัก หนิ ก้อน
ใหญต่ กลงมาน้ำมีสขี ุ่น
27
28
2. อพยพไปในพ้ืนทส่ี ูงและมั่นคง ตามเส้นทางทเี่ ตรยี มการไว้ เมอ่ื ได้รบั สัญญาณเตอื นภยั
3. ตงั้ สติ ท่องไว้ “รักษาชวี ติ ก่อน ทรัพยส์ นิ ไวท้ หี ลงั ” ให้นำของใช้เฉพาะทีจ่ ำเปน็ ตดิ ตัวไป
เทา่ นั้น
4. หากพลดั ตกนำ้ หาต้นไม้ใหญเ่ กาะแล้วรีบข้ึนจากนำ้ ใหไ้ ด้
5. หากหนไี ม่ทัน ให้ม้วนตัวเปน็ ทรงกลม ให้มากทสี่ ุด เพ่อื ปอ้ งกนั ศรีษะกระแทก
ภัยจากแผ่นดินไหว และสนึ ามิ
1. อพยพตามแผนของหม่บู า้ น ชุมชน หรือจงั หวดั
2. หากออกเรือขณะเกิดสนึ ามิ ห้าม เข้าใกลช้ ายฝั่งเด็ดขาดและให้อยู่ในบริเวณนำ้ ลกึ
3. หากอยู่ในบา้ นขณะเกิดแผ่นดนิ ไหว รีบหมอบลงใต้โต๊ะท่ีแขง็ แรง หากอยภู่ ายนอกอาคารให้
อยู่บริเวณที่โลง่ ไมม่ สี ่งิ กีดขวาง
4. ใชผ้ า้ ปดิ ปากและจมกู เพื่อปอ้ งกนั ฝ่นุ และส่ิงแปลกปลอม
5. หยดุ รถ และจอดชิดขอบทาง อยา่ ออกจากรถจนกว่าจะแน่ใจว่าปลอดภยั
6. เมอื่ เหตุการณ์สงบ เรง่ ตรวจสอบ ตรวจดูสายไฟ ท่อน้ำ ทอ่ แกส๊ อยา่ เปดิ ใช้จนกว่าจะแนใ่ จว่า
ปลอดภยั
ภยั จากพายุ
1. ฟงั ประกาศการเตือนภัย และปฏิบัติตามอยา่ งเคร่งครัด
28
29
2. ตรงึ ประตหู น้าต่างใหม้ น่ั คง ถอดปลั๊กเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ทุกชนดิ เพื่อป้องกนั ไฟฟ้าลดั วงจรขณะ
ฝนตกฟา้ คะนอง
3. เตรยี มอุปกรณ์จำเปน็ เชน่ เทียนไข ไฟฉาย ยาประจำตัวตดิ ตวั ตลอด
4. ขณะฝนตกฟ้าคะนอง หา้ ม อยู่ใต้ต้นไม้ เสาไฟฟ้า และ ห้าม โทรศพั ท์เด็ดขาด
5. หากรู้สึกตัวว่าบ้านกำลงั จะพังใหห้ ่อตวั เองดว้ ยผ้าหม่ หลบใต้โตะ๊ ใตเ้ ตยี ง หรือทแี่ ข็งแรงมนั่ คง
ภยั จากเหตุเพลิงไหม้
1. ต้งั สติ โทร 199
2. ใชถ้ งั ดับเพลิงดับไฟ หากประเมินว่าเพลิงไหม้ในวงแคบและสามารถดับไฟได้
3. อพยพผา่ นประตหู นไี ฟ ก่อนเปดิ ประตใู หใ้ ชห้ ลังมือสมั ผสั ประตูหรอื ลกู บดิ หากพบวา่ ร้อน
หา้ ม เปิดและใชเ้ ส้นทางอ่ืนแทน หา้ ม ใชล้ ิฟท์โดยเด็ดขาด
4. หมอบคลานตำ่ ใชผ้ า้ ชุบน้ำปิดจมกู เพอื่ ป้องควนั ไฟ
5. หากตดิ อยูภ่ ายในอาคาร ใช้ผา้ ชุบนำ้ อุดตามชอ่ งว่างรอบประตูหน้าต่างเพ่ือกนั ควนั ไฟ และ
พยายามขอความช่วยเหลอื เช่น โบกผา้ ใช้ไฟฉายสง่ สญั ญาณ
ภยั จากความแห้งแล้ง
1. กกั เก็บนำ้ สะอาดและวางแผนใช้น้ำอยา่ งประหยัด
2. ดืม่ น้ำบอ่ ยๆ หรอื ใชผ้ า้ ชบุ น้ำประคบเพ่อื ลดความร้อนในร่างกาย
3. โทรแจง้ 1669 หากพบผู้ปว่ ยหมดสติ ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ โดยจดั ให้ผู้ปว่ ยอยูใ่ นท่ีรม่ จัด
ท่ากงึ่ นัง่ กง่ึ นอน คลายเสอื้ ผ้าและใชผ้ า้ ชบุ นำ้ เชด็ ตัวเพื่อคลายร้อน
4. รับประทานอาหารร้อนๆ และด่มื น้ำสะอาดเพื่อป้องกันโรคทางเดนิ อาหาร เช่น อุจจาระรว่ ง
บดิ อหวิ าตกโรค
5. ไมอ่ ยกู่ ลางแจ้งเป็นเวลานานๆ เพราะอาจทำใหเ้ ปน็ ลมแดดได้
29
30
ภยั หนาว
1. ดื่มน้ำให้เพียงพอ ความเช่อื เรอื่ งการด่มื แอลกอฮอล์ทำให้ร่างกายอบอุน่ เป็นความเชื่อที่ผิด
2. หากเปน็ หวดั ถา้ ออกนอกบ้านให้สวมผา้ ปดิ ปากป้องกนั การติดต่อไขห้ วดั สู่คนรอบข้าง
3. หากเปยี กน้ำ รบี เช็ดตวั ให้แหง้ และเปล่ยี นเสื้อผา้ ทนั ที เพ่อื ป้องกันโรคปอดบวม
4. รีบโทรแจ้ง 1669 หากพบผู้ปว่ ยฉกุ เฉิน และระวงั โรคท่มี ากบั ภยั หนาว
5. ทำรา่ งกายให้อบอุ่น แต่ ควรหลีกเล่ียง การผงิ ไฟเพราะควันไฟอาจอนั ตรายตอ่ สุขภาพ
6. เก็บกวาดเศษใบไม้ ขยะ รอบบรเิ วณบา้ น เพื่อป้องกันไฟไหม้
30
31
บทท่ี ๓
วธิ ดี ำเนนิ การ
โครงการอบรมให้ความรู้การรับมือกับสาธารณภัย. ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เป็นโครงการที่จัดทำขึ้น เยาวชน และประชาชน
กศน.อำเภอเจาะไอร้อง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดสา
ธารณภัยภัยในรูปแบบต่าง ๆ ได้ และมีจิตสาธารณะที่จะช่วยเหลือเมื่อมีเหตุการณ์ภัยพิบัติเกิดข้ึน รวมทั้ง
สามารถไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั
โดยมีขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ดงั นี้
ข้ันท่ี ๑ ข้ันการเตรยี มการ
๑.๑ ประชุม/ วางแผนบุคลากร
๑.๒ จดั เวทปี ระชาคมสำรวจความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย
๑.๓ เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัตงิ บประมาณในการดำเนนิ โครงการ
ขน้ั ท่ี ๒ ขัน้ ดำเนินการ
ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมตามโครงการอบรมให้ความรู้การรับมอื กบั สาธารณภัย
ข้นั ที่ ๓ นเิ ทศติดตามผล และรายงานผล / ประเมินผล
๓.๑ การนเิ ทศติดตามผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๒ การประเมนิ ผลและสรุปผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพรผ่ ลการดำเนินโครงการ
ดชั นีชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator : KPI)
ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ สอดคลอ้ งกับ วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมือที่ใช้
มาตรฐาน กศน.ท่ี การสังเกต แบบบนั ทึกการสังเกต
ผลผลติ ( Output)
- กลุ่มเปา้ หมายร้อยละ 100 ผ่าน ๑ ประเมนิ ความพึง แบบประเมนิ ความพงึ
พอใจของ พอใจ
การอบรมตามวัตถปุ ระสงค์ ๑
- ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมาย กล่มุ เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องเก่ียวกับการป้อง
กนั การเกิดภัยพิบัตใิ นรูปแบบตา่ ง ๆ มีทกั ษะ
สามารถแก้ไขปัญหาอปุ สรรคเมื่อมเี หตุการณ์
เกิดข้ึน และมจี ิตสาธารณะทจ่ี ะชว่ ยเหลอื เมือ่ มี
เหตกุ ารณภ์ ัยพบิ ัตเิ กิดขนึ้ รวมท้งั สามารถไป
ปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
31
32
บทที่ ๔
ผลการศกึ ษา
ผลการศึกษาความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการอบรมให้ความรู้การรับมือกับสาธารณภยั ของศูนย์
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง จงั หวัดนราธวิ าส จำนวน ๖ คน ปรากฏผล
ดังนี้
๑. ผลการศกึ ษาข้อมลู เก่ยี วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผ้ตู อบแบบสอบถามในการศกึ ษาในครงั้ น้ี เปน็ ประชาชนทั่วไปในพน้ื ทอี่ ำเภอเจาะไอร้อง ท่ีเข้ารว่ ม
โครงการโดยใช้คา่ รอ้ ยละดงั ปรากฏในตารางท่ี ๑ ดังนี้
ตาราง ๑ แสดงจำนวนและค่าร้อยละของประชากรนักศกึ ษา จำแนกตามสถานภาพของนกั ศึกษา
สถานภาพของประชากร จำนวน รอ้ ยละ
๑. เพศ 4 66.67
๑.๑ ชาย 2 33.33
๑.๒ หญิง 6 ๑๐๐
รวม 5 83.33
๒. อายุ 1 16.67
๒.๑ ระหวา่ ง ๑๘-๓๕ ปี 6 ๑๐๐
๒.๒ ๓๖ ปี ขึ้นไป
- -
รวม 5 50.00
๓. ระดบั การศกึ ษา 5 50.00
๓.๑ ประถมศกึ ษา -
๓.๒ มธั ยมศึกษาตอนต้น - -
๓.๓ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 6 -
๓.๔ ปวส. ๑๐๐
๓.๕ ปรญิ ญาตรี
รวม
จากตารางที่ ๑ ผู้ตอบแบบสอบถามมี จำนวน 6 คน จำแนกตามสถานภาพ ดังนี้
๑. เพศ โดยแยกเป็นเพศชาย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 เป็นเพศหญิงจำนวน
2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.33
๒. อายุ ระหวา่ ง ๑๘-๓๕ ปี จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.33 อายุ ๓๖ ปี ข้นึ ไป
จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67
๓. ระดับการศึกษา การศกึ ษาระดับประถมศึกษา จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5๐.๐๐ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 5 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 5๐.๐๐
๒. ผลการศึกษาระดบั ความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการท่มี ตี ่อโครงการอบรมให้ความรู้การรับมอื กับสา
ธารณภยั ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จงั หวัดนราธิวาส
32
33
ตาราง ๒ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตยและ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอรอ้ ง โดย
ภาพรวมดังนี้
ดา้ น ความพึงพอใจ ระดับ ลำดบั ที่
๑ การใหก้ ารต้อนรบั ของเจา้ หน้าทท่ี ี่ลงทะเบียน มาก ๓
๒ ความเหมาะสมของสถานท่จี ัดการอบรม ๓.๙๖ มาก ๑
๓ ระยะเวลาการจัดโครงการ ๔.๐๔ มาก ๕
๔ ท่านพอใจกบั การจดั โครงการครง้ั นี้ ๓.๙๐ มาก ๒
๕ ท่านไดร้ ับความรจู้ ากการเขา้ ร่วมโครงการคร้งั นี้ มาก ๖
๖ ทา่ นคดิ ว่าสามารถนำความรู้ท่ีไดถ้ า่ ยทอดให้ผ้อู ืน่ ได้ ๓.๙๒ มาก ๑
๗ เน้อื หาสาระทไ่ี ด้จากการเขา้ ร่วมโครงการน้ี มาก ๔
๘ ท่านคดิ วา่ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน ๓.๘๑ มาก ๕
๙ ทา่ นพงึ พอใจในการบรกิ ารของเจา้ หนา้ ท่ี กศน.อำเภอเจาะไอร้อง ๔.๐๑ มาก ๓
๑๐ ทา่ นอยากใหม้ ีการจัดโครงการลักษณะน้ีอีก ๓.๙๕ มาก ๑
๓.๙๐ มาก
รวม ๓.๙๓
๔.๐๑
๓.๘๔
จากตาราง ๒ พบว่าความความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการเสริมสร้างความรเู้ กี่ยวกบั ประชาธิปไตยและการ
มีส่วนร่วมของประชาชนของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัด
นราธิวาสโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดย
เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ อยากให้มีการจัดโครงการลักษณะนี้อีกและความเหมาะสมของ
สถานที่จัดการอบรม พอใจกับการจัดโครงการครั้งนี้ พึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าที่ กศน.อำเภอเจาะไอ
ร้อง เนื้อหาสาระที่ได้จากการเข้ารว่ มโครงการนี้ ระยะเวลาการจัดโครงการ และได้รับความรู้จากการเขา้ รว่ ม
โครงการคร้งั นี้ ตามลำดบั
33
34
บทที่ ๕
สรุปผลการศกึ ษา
จากผลการประเมินความพึงพอใจตามโครงการอบรมให้ความรู้การรับมือกับสาธารณภัยของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส มีผู้เข้าร่วมโครงการ
จำนวน 6 คน มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจหลังการเข้ารับการอบรม จำนวน 6 คน โดยเป็นเพศชาย
จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 เป็นเพศหญิงจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 จำแนกตามอายุ
ระหว่าง ๑๘-๓๕ ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 อายุ ๓๖ ปี ขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
16.67 ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้การรับมือกับสาธารณภัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลย่ี
๓.๙๔ คิดเป็นร้อยละ ๘3.๒1 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยากให้มีการจัดโครงการลักษณะนี้อีก
ความเหมาะสมของสถานที่จัดการอบรม พอใจกับการจัดโครงการครั้งน้ี พึงพอใจในการบริการของเจ้าหน้าท่ี
กศน.อำเภอเจาะไอร้อง เนื้อหาสาระที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการนี้ ระยะเวลาการจัดโครงการ และได้รับ
ความร้จู ากการเข้ารว่ มโครงการครงั้ น้ี ตามลำดบั
ประโยชน์การเขา้ รว่ มโครงการ
กลุ่มเป้าหมายอำเภอเจาะไอร้อง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการ
ป้องกันการเกิดสาธารณภัยภัยในรูป แบบต่าง ๆ ได้ และให้กลุ่มเป้าหมาย มีทักษะสามารถแก้ไขปัญหา
อปุ สรรคเมอ่ื มเี หตุการณ์เกิดข้นึ รวมทั้งให้กลมุ่ เป้าหมาย มีจิตสาธารณะท่ีจะช่วยเหลือเมื่อมีเหตุการณ์ภัยพิบัติ
เกิดข้ึน รวมทงั้ สามารถไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ขอ้ คิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้เข้าร่วมการอบรม
๑. ควรเพม่ิ ระยะเวลาในการฝกึ อบรม
๒. ควรมกี ารติดตามและใหค้ ำแนะนำเพม่ิ เติมหลังการผ่านการฝึกอบรม
๓. ควรมีการดำเนนิ กจิ กรรมอย่างต่อเนื่อง
34
35
อ้างอิง
https://sites.google.com/site/khundee11/
http://ridceo.rid.go.th/buriram/natural_disasters.html
https://quizizz.com/admin/quiz/5c1a1638b63566001bcf5328/-
https://nature7165.wordpress.com/about/
35
36
ภาคผนวก
36
37
ภาพประกอบกจิ กรรม
37
38
ภาพประกอบกจิ กรรม
38
39
39