The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by da_da071, 2021-11-16 23:11:29

สรุปโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้

สรุปโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้

โครงการอบรม
ให้ความรกู้ ารทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

รุ่นที่ 1 วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2564
รุ่นท่ี 2 วนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2564
รุ่นท่ี 3 วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2564

กศน.ตำบลบูกิต
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

อำเภอเจาะไอร้อง
สำนกั งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

จงั หวดั นราธิวาส

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

คำนำ

ตามท่ีสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส
ได้จัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕64 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอ
ร้อง ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกัน
โรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19 เพ่ือให้นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเจาะไอรอ้ งมคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับให้ความรู้การ
ทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19 ต่อไป

บัดนี้การดำเนินการดังกล่าวลุล่วงไปด้วยดี ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้องได้ดำเนินการโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรค
ไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ซ่ึงโดยดำเนินการ ในระหว่าง 12 – 14 กรกฎาคม 2564 ณ กศน. อำเภอเจาะไอ
ร้อง มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษา กศน.อำเภอเจาะไอร้อง จำนวน 30 คน จัดเป็นรุ่น ท้ังหมด 3 รุ่น รุ่น
ละ 10 คน กลุม่ เป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพต่อไป

ผจู้ ัดทำ
กศน.ตำบลบกู ิต

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควดิ -19

สารบัญ

เร่อื ง หน้า

❖ สรุปผลการดำเนนิ โครงการฯ ก
❖ คำนำ ข
❖ สารบัญ ค–ง
❖ บทที่ ๑ บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของการประเมิน

วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน ๑

ขอบเขตของการประเมนิ ๒

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ๒

ประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากประเมิน ๓

❖ บทที่ ๒ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

เอกสารแนวคิด ทฤษฎที เี่ ก่ียวกบั การประเมินโครงการ ๔

❖ บทท่ี ๓ วิธดี ำเนินการ ๑๔
นกั ศึกษาท่ีใช้ในการประเมิน ๑๔
เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน

การสรา้ งเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๑๕

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑๕
การวิเคราะห์ข้อมูล ๑๕
สถิตทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ๑๖
❖ บทท่ี ๔ ผลการประเมิน
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ๑๗
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ตอนที่ ๑.ขอ้ มลู เก่ยี วกับสถานภาพทั่วไปของผเู้ ข้าร่วมโครงการ ๑๗

ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตอนท่ี ๒.ขอ้ มูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้

ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ๑๘

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ตอนท่ี ๓.ขอ้ มลู เกี่ยวกับข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ๒๐

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

❖ บทท่ี ๕ สรปุ ผลการประเมิน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน ๒๑

ขอบเขตการประเมนิ ๒๑

นักศกึ ษาที่ใชใ้ นการประเมิน ๒๑

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน ๒๒

การเก็บรวบรวมข้อมลู ๒๒

การวิเคราะห์ข้อมูล ๒๒

สรุปผลการประเมิน ๒๓

การอภปิ รายผล ๒๓

ข้อเสนอแนะ ๒๔

❖ ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

 โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-

19 ๒๖

ภาคผนวก ข

ใบลงทะเบียนผ้เู ข้ารว่ มโครงการฯ ๓๕

ภาคผนวก ค

แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการฯ ๓๘

ภาคผนวก ง

ภาพกจิ กรรมโครงการฯ ๔๐

ผจู้ ดั ทำ ๔๔

บรรณานุกรม ๔๕

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

บทท่ี ๑
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของการประเมนิ

ความเป็นมาของโรคโควิด-19 (COVID-19) ไวรัสโคโรนาเปน็ ไวรัสในสตั ว์ มีหลายสายพันธุ์
โดยปรกติไม่ก่อโรคในคน แต่เม่ือกลายพันธ์ุเป็นสายพันธ์ุ ใหม่ท่ีก่อโรคในมนุษย์ได้ (ซึ่งมักเกิดจากการจัดการ
ท่ีผิดธรรมชาติโดยมนุษย์) ในขณะท่ีมนุษย์ยังไม่รู้จักและไม่มี ภูมิต้านทาน ก็จะเกิดการระบาดของโรคในคน
โรคโควิด-19 (COVID-19, ย่อจาก Coronavirus disease 2019) เป็นโรคติดเช้ือทางเดินหายใจท่ีเกิดจาก
ไวรัสโคโรนา ซ่ึงมีช่ือทางการว่า SARS-CoV-2 ทำให้เกิดไข้ ไอ และอาจมี ปอดอักเสบ เร่ิมพบผู้ป่วยคร้ังแรก
เม่ือเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ที่เมืองอู่ฮ่ัน เมืองหลวงของมณฑล หูเป่ย์ ภาคกลางของ
ประเทศจีน ซ่ึงเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนหนาแน่น จึงเกิดการระบาดใหญ่ได้รวดเร็ว การดูแลรักษา เป็นไปอย่าง
ฉุกเฉิน มีคนป่วยหนักและตายมากเกินท่ีควรจะเป็น จนประเทศจีนต้องปิดเมือง และปิดประเทศต่อมา
ขณะน้ีประเทศจีนสามารถควบคุมได้ จนแทบจะไม่มีผปู้ ่วยรายใหม่ แต่โดยธรรมชาติแล้ว จะยังมีผู้ท่ีมีเช้ืออยู่
ผู้ป่วยรายแรกท่ีรับการรักษาในประเทศไทย เม่ือวันที่ 13 มกราคม 2563 เป็นคนจีนที่รับเช้ือจากการ
ระบาดในประเทศจีน และได้เดินทางมาประเทศไทย หลังจากนั้น มีผู้ป่วยอีกหลายรายท่ีมาจากประเทศอื่น
ส่วนผู้ป่วยท่ีติดเชื้อในประเทศไทยรายแรก มีการรายงานเมื่อ 31 มกราคม 2563 โรคน้ีเกิดจากไวรัสโคโร
นา (Corona virus) ท่ีกลายพันธุ์ในธรรมชาติเป็นสายพันธุ์ใหม่ จากการท่ีธรรมชาติถูกมนุษย์ทำร้าย โดยมี
สมมุติฐาน ว่า ไวรัสอาจจะมีแหลง่ เร่ิมต้นคือคา้ งคาว และกลายพันธ์ุเม่ือผา่ นสัตว์ตัวกลาง กลายเป็นไวรสั สาย
พันธ์ุใหม่ ท่ีก่อโรคในคน และคนไปรับเชื้อมาแพร่ระหว่างคนสู่คน ท้ังน้ีต้องรอการพิสูจน์ต่อไป เคยมี
เหตุการณ์ท่ีคล้ายคลึง กันจากไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ท่ีเกิดข้ึนในอดีต คือ การเกิดโรค SARS (พ.ศ.2545)
และ MERS (พ.ศ.2557) ซึง่ ทั้งสองโรคน้ัน ผู้ป่วยมีอาการหนกั ทัง้ หมดและต้องอยู่ในโรงพยาบาล จึงสกัดการ
แพร่โรคได้ไม่ยากนัก ส่วนผู้ป่วยโรค COVID-19 ท่ีแพร่เชื้อ มีท้ังผู้ที่มีอาการน้อยหรืออาจไม่มีอาการ
นอกเหนือจากผู้มีอาการหนักซ่ึงมีน้อยกว่ามาก จึงควบคุมการระบาดได้ยากกว่า การระบาดท่ีใกล้เคียงกับ
คร้ังน้ีมากท่ีสุด คือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ ใหม่ 2009 (Influenza A (H1N1) pdm09 virus)
ใน พ.ศ.2552 ซ่ึงเร่ิมจากอเมรกิ าแล้วระบาดหนักไปท่ัวโลก แต่คนท่ีติดเชื้อโควิด-19 สามารถแพร่เชื้อได้ใน
ชว่ งเวลาของการตดิ เชื้อไดน้ านกว่า การระบาดจึงน่าจะ กว้างขวางกวา่ และควบคุมยากกว่า ในขณะนี้ โรคโค
วิด-19 ได้ระบาดไปทว่ั โลกแล้ว

วันท่ี 11 กุมภาพันธ์ 2563 ไดม้ กี ารกำหนดชื่อโรคและชอ่ื ไวรสั อยา่ งเปน็ ทางการ ดงั นี้
โรค COVID-19 (อ่านว่า โควิดไนน์ทีน ย่อมาจาก Corona Virus Disease 2019)
กำหนดชือ่ โดยองคก์ าร อนามัยโลก (WHO)
ไวรัส SARS-CoV-2 (อ่านว่า ซาร์สคอฟ ทู ย่อมาจาก Severe Acute Respiratory
Syndrome Corona Virus 2) กำหนดชื่อโดยคณะกรรมการระหว่าง ประเทศวา่ ดว้ ยอนกุ รมวธิ านของไวรสั (
ICTV ) โดยท่ีช่วงแรกของ การระบาด ใช้ช่ืออย่างไม่เป็นทางการ เช่น ไวรัสอู่ฮั่น 2019-nCoV (2019
novel coronavirus หรือ ไวรัสโคโรนา สายพนั ธุ์ใหม่ 2019) แต่มกั จะเรียกกันง่ายา วา่ ไวรสั โควดิ 19 สว่ น

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19

ไวรัส SARS-Co-1 คือไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรค ติดเชื้อทางเดินหายใจรนุ แรง หรือ SARS ท่ีระบาด ใน พ.ศ.
2545-2546 ไวรัสทีก่ อ่ โรคระบาดในครงั้ นี้จงึ เป็นชนิด ท่ี 2 หรือ SARS-CoV-2

ไวรัส SARS-CoV-2 เป็นเช้ือโรคที่ต้องอยู่ในเซลล์เน้ือเยื่อ หรือมีเมือกคลุมอยู่ เช่น เสมหะ
ไม่สามารถอยู่ เป็นอิสระ นอกจากน้ี ยังเป็นไวรัสที่เกราะด้านนอกเป็นไขมัน ซ่ึงจะสลายตัวเมื่อสัมผัสกับสาร
ซักฟอกหรอื สบ่ไู วรัส โคโรน่า ท่กี ่อโรคในมนุษยใ์ นขณะนม้ี ีทัง้ หมด 7 ชนิด

ชนิดท่ี 1-4: โรคหวดั ธรรมดา
ชนดิ ที่ 5: โรค SARS (ซาร์) จากไวรัสสายพนั ธุใ์ หม่ เมือ่ พ.ศ. 2545-2546
ชนิดที่ 6: โรค MERS (เมอรส์ ) จากไวรัสสายพนั ธ์ุใหม่ เมอ่ื พ.ศ. 2557
ชนดิ ท่ี 7: โรค COVID-19 (โควดิ -19) จากไวรสั สายพนั ธใุ์ หมใ่ นปัจจบุ ัน
ดังน้ันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะไอร้อง ได้ตระหนัก
และเห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัย
ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ข้ึน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับการป้องกันตนเอง
จากโรคไวรัสโควิด (COVID-19) และสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั และร่วมกันดูแลคน
ในชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

วตั ถปุ ระสงค์
๑ เพอ่ื ให้กลุม่ เป้าหมายมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การป้องกนั โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา่ (COVID-

19)
.๒ เพ่ือให้กลมุ่ เป้าหมายสามารถนำความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั และรว่ มกันดูแลคนใน

ชมุ ชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

เป้าหมาย
๑ เชิงปริมาณ
นักศกึ ษา กศน.ตำบลบูกิต (ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 15 คน และระดบั

มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 15 คน) จำนวน 3 รนุ่ รนุ่ ละ 10 คน รวมทง้ั สิน้ 30 คน
๒ เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองในการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-

19) และสามารถนำความรมู้ าปรับใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั ได้

วิธดี ำเนนิ การ

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมา พ้นื ที่ ระยะเว งบประมาณ
เป้าหมาย ย ดำเนนิ การ ลา
๑.สำรวจ เพ่อื ทราบจำนวนและ
กล่มุ เป้าหมาย ความต้องการของ - ๑ คน กศน. 15-16
กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอ อำเภอ มถิ นุ าย
บโครงการ เจาะไอร้อง

๒๕๖๔

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมา พืน้ ท่ี ระยะเว งบประมาณ
เป้าหมาย ย ดำเนินการ ลา
๒.ประชมุ /
เพอ่ื เตรยี มความ - ๑๕ คน กศน. 21
วางแผนการ
ดำเนินงาน พร้อมการ ผรู้ ับผดิ ชอ อำเภอ มถิ นุ าย

๓.เขียนโครงการ ดำเนินงาน บโครงการ เจาะไอรอ้ ง น
เพื่อขออนุมตั ิ
- บคุ ลากรที่ ๒๕๖๔
๔.แต่งต้งั คำสั่ง
คณะทำงาน เกีย่ วข้อง

๕. ดำเนนิ การ ค่าอาหารกลางวนั

โครงการอบรมให้ เพอื่ ขออนุมตั ิ - ๑ คน กศน. 23 (มื้อละ 7๐ บาท x
ความรู้การทำเจล งบประมาณใน ผู้รบั ผดิ ชอ อำเภอ มิถุนาย 90 คน x ๑ มื้อ)
และหน้ากาก การดำเนนิ บโครงการ เป็นเงิน
อนามัยป้องกันโรค เจาะไอรอ้ ง น 6,3๐๐ บาท
ไวรัสโคโรน่าโควิด-
19 โครงการ ๒๕๖๔ คา่ อาหารว่างและ

เครื่องดมื่ (มอ้ื ละ

20 บาท x 90 คน

เพอื่ ดำเนนิ การ - ๑๕ คน กศน. 23 x 2 มื้อ) เปน็ เงนิ
3,600 บาท
ตามโครงการให้ ผ้รู บั ผิดชอ อำเภอเจาะ มถิ นุ าย ค่าวิทยากร (ชม.ละ
๒๐๐ บาท x 6 ชม.
บรรลุตาม บโครงการ ไอรอ้ ง น x 3 วัน)
วตั ถปุ ระสงค์ที่ - บคุ ลากรที่ ๒๕๖๔ เป็นเงิน3,6๐0บาท
วางไว้ เกย่ี วข้อง คา่ วสั ดุ เป็นเงิน

๕.๑ เพื่อให้ นักศึกษา 30 คน อาคาร 2,25๐ บาท
กลุ่มเป้าหมายมี กศน. อำเภอ 30 คน อเนกประส
ความร้คู วามเข้าใจ เจาะไอรอ้ ง งคก์ ศน. 12 ก.ค. ค่าป่ายไวนลิ
เกยี่ วกบั การป้องกัน จำนวน อำเภอเจาะ 2564 1,000บาท
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโร 3 รุ่น
13 ก.ค.
นา่ (COVID-19) 2564
รนุ่ ละ 30 30 คน ไอรอ้ ง 14 ก.ค.
๕.๒ เพือ่ ให้ คน 2564
กลมุ่ เป้าหมาย

สามารถนำ

ความรไู้ ปใช้

ประโยชนใ์ น

ชีวติ ประจำวนั ได้

๖.นิเทศ/ตดิ ตามผล การดำเนนิ การ ผู้รบั ผดิ ชอบ ๑ คน กศน. 12-14
โครงการตาม โครงการ อำเภอ กรกฎา
วตั ถุประสงค์
เจาะไอรอ้ ง คม
๒๕๖๔

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เป้าหมา พ้ืนที่ ระยะเว งบประมาณ
เป้าหมาย ย ดำเนนิ การ ลา
๗.สรุปประเมนิ ผล เพอ่ื ประเมินผลและ
โครงการ แกไ้ ขปรับปรุงการ ผูร้ ับผดิ ชอบ ๑ คน กศน. 20
ดำเนินโครงการใหม้ ี โครงการ อำเภอ กรกฎา
๘.สรปุ และรายงานผล ประสิทธภิ าพตอ่ ไป ๑ คน เจาะไอร้อง
การดำเนินงาน คม
เพื่อรวบรวมผลการ ผรู้ ับผดิ ชอบ กศน. ๒๕๖๔
ดำเนนิ งานรายงานต่อ โครงการ อำเภอ
ผู้บงั คบั บญั ชา เจาะไอร้อง 20
กรกฎา

คม
๒๕๖๔

วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ

แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัด

การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน

พืน้ ฐาน งบเงินอุดหนุน คา่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหสั งบประมาณ 2000243016500225จำนวน

16,75๐บาท (หน่ึงหมืน่ หกพันเจ็ดรอ้ ยหา้ สิบบาทถว้ น) ดงั น้ี

๑ ค่าอาหาร

๑.๑ นกั ศึกษามัธยมศึกษาตอนตน้ 45 คน X 70 บาท เปน็ เงนิ 3,150.-

1.2 นักศึกษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย 45 คน X 70 บาท เปน็ เงนิ 3,150.-

๒ คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม
๒.๑ นักศึกษามธั ยมศึกษาตอนต้น 45 คน X 20 บาท X 2 มอ้ื เป็นเงิน ๑,80๐.-
๒.๒ นักศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย 45 คน X 20 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน ๑,80๐.-

๓ คา่ ตอบแทนวทิ ยากร เป็นเงนิ 3,6๐๐.-
๓.๑ ค่าวทิ ยากร ๑ คน X 6 ชว่ั โมง X ๒๐๐ บาท X 3 วนั

4 ค่าวสั ดุ เปน็ เงิน 2,250.-
4.1 คา่ วัสดดุ ำเนินงานโครงการ เป็นเงนิ ๑,๐๐๐.-
4.2 คา่ ป้ายไวนลิ (โครงการ)

รวมเปน็ เงนิ ท้งั สน้ิ 16,75๐ บาท (หนึง่ หมน่ื หกพันเจ็ดร้อยหา้ สิบบาทถ้วน)

(ทกุ รายการขอถัวเฉลีย่ ตามท่จี า่ ยจริง)

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลกั ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ไตรมาสที่ ๔
(ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๖๓) (ม.ค.-มี.ค. (๒๕๖๔) (เม.ย.-มิ.ย. ๒๕๖๔) (ก.ค.-ก.ย. ๒๕๖๔)
๑.สำรวจกลุ่มเปา้ หมาย
- - √ -
๒.ประชุม / - - √ -
-
วางแผนการดำเนนิ งาน - √ -
๓.เขียนโครงการเพ่ือขอ -
อนมุ ัติ - √ (16,75๐ บาท)
-
๔.แต่งต้ังคำสงั่ คณะทำงาน - - √
- - √
๕. ดำเนินการโครงการอบรม - - √
ให้ความรู้การทำเจลและ - -
หนา้ กากอนามัยป้องกนั โรค -
ไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

๖.นเิ ทศ/ตดิ ตามผล

๗.สรุปประเมนิ ผลโครงการ

๘.สรุปและรายงานผลการ
ดำเนินงาน

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
นางสาวซาณยี า ยะโก๊ะ ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย โทรศพั ท์ 089-2941481

เครือข่าย
๑ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นราธิวาส
๒ โรงพยาบาลเจาะไอร้อง
๓ สาธารณสุขอำเภอเจาะไอร้อง

โครงการที่เก่ียวข้อง
๑ โครงการการจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ผลลัพธ์ (Outcome)
เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19)

และสามารถนำความร้มู าใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้

ดชั นีชีว้ ัดความสำเร็จของโครงการ
๑ ตัวชว้ี ัดผลผลิต (Output)
รอ้ ยละ ๑๐๐ ของการดำเนินงานโครงการ สามารถดำเนนิ การได้ตามเป้าหมายและบรรลุวตั ถุประสงค์

ของโครงการ และมีความพึงพอใจต่อการเขา้ ร่วมโครงการ อยู่ในระดับดีข้ึนไป

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

๒ ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome)
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
(COVID-19) และสามารถนำความรู้มาปรับใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวันได้

ขอบเขตของการประเมนิ

การประเมนิ ครงั้ น้ไี ด้กำหนดขอบเขตไวด้ ังน้ี
๑. นกั ศกึ ษาทใี่ ช้ในการประเมิน

กลุม่ เปา้ หมายทเ่ี ข้าร่วมโครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั โคโร

น่าโควดิ -19 ไดแ้ กน่ ักศกึ ษา ตำบลบกู ติ จำนวนท้ังสิ้น 30 คน โดยแบ่งเปน็

๑.ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 15 คน

๒. ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 15 คน
๒. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการประเมนิ
๓. เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการประเมนิ

แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและ
หน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19 โดยแบง่ เป็น ๓ ตอน คอื

ตอนท่ี ๑ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการ

เรียนรู้
ตอนที่ ๒ เป็นแบบประเมินเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้

ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการตอ่ การเรยี นรู้ มี ๓ ด้าน ดงั น้ี

๑. ดา้ นวทิ ยากร จำนวน ๔ ข้อ

๒. ด้านสถานท/ี่ สอ่ื อุปกรณ/์ ระยะเวลา จำนวน ๓ ข้อ

๓. ดา้ นความรู้ทไี่ ดร้ ับ/การนำความรไู้ ปใช้ จำนวน ๕ ข้อ

ตอนท่ี ๓ เปน็ แบบประเมนิ เกีย่ วกบั ขอ้ เสนอแนะอื่นๆของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการต่อการเรยี นรู้
๔. ตวั แปรทีป่ ระเมิน

๔.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้

ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19
๔.๒ ตวั แปรตาม ได้แก่

๔.๒.๑ ผลการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้

การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19
๔.๒.๒ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและ

หน้ากากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19

นิยามศัพท์เฉพาะ

นกั ศึกษา คอื นกั ศึกษา กศน.ตำบลบูกิต จำนวนท้ังสิ้น 30 คน โดยแบง่ เป็น

๑.ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 15 คน

๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 15 คน

การฝกึ อบรม คือ กระบวนการในอนั ที่จะทำให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ
และความชำนาญ ในเรอ่ื งหนึ่งเร่อื งใด และเปลย่ี นพฤติกรรมไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไว้

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19

บทที่ ๒
เอกสารที่เก่ยี วข้อง

ความเป็นมาของโรคโควิด-19 (COVID-19) ไวรัสโคโรนาเป็นไวรัสในสตั ว์ มหี ลายสายพันธุ์
โดยปรกติไม่ก่อโรคในคน แต่เม่ือกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ ใหม่ท่ีก่อโรคในมนุษย์ได้ (ซึ่งมักเกิดจากการจัดการ
ท่ีผิดธรรมชาติโดยมนุษย์) ในขณะที่มนุษย์ยังไม่รู้จักและไม่มี ภูมิต้านทาน ก็จะเกิดการระบาดของโรคในคน
โรคโควิด-19 (COVID-19, ย่อจาก Coronavirus disease 2019) เป็นโรคติดเช้ือทางเดินหายใจท่ีเกิดจาก
ไวรัสโคโรนา ซึ่งมีช่ือทางการว่า SARS-CoV-2 ทำให้เกิดไข้ ไอ และอาจมี ปอดอักเสบ เร่ิมพบผู้ป่วยคร้ังแรก
เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ท่ีเมืองอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑล หูเป่ย์ ภาคกลางของ
ประเทศจีน ซ่ึงเป็นเมืองใหญ่มีผู้คนหนาแน่น จึงเกิดการระบาดใหญ่ได้รวดเร็ว การดูแลรักษา เป็นไปอย่าง
ฉุกเฉิน มีคนป่วยหนักและตายมากเกินท่ีควรจะเป็น จนประเทศจีนต้องปิดเมือง และปิดประเทศต่อมา
ขณะน้ีประเทศจีนสามารถควบคุมได้ จนแทบจะไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ แต่โดยธรรมชาติแล้ว จะยังมีผู้ท่ีมเี ชื้ออยู่
ผู้ป่วยรายแรกท่ีรับการรักษาในประเทศไทย เม่ือวันที่ 13 มกราคม 2563 เป็นคนจีนท่ีรับเชื้อจากการ
ระบาดในประเทศจีน และได้เดินทางมาประเทศไทย หลังจากนั้น มีผู้ป่วยอีกหลายรายที่มาจากประเทศอ่ืน
ส่วนผู้ป่วยที่ติดเชื้อในประเทศไทยรายแรก มีการรายงานเม่ือ 31 มกราคม 2563 โรคน้ีเกิดจากไวรัสโคโร
นา (Corona virus) ที่กลายพันธุ์ในธรรมชาติเป็นสายพันธุ์ใหม่ จากการท่ีธรรมชาติถูกมนุษย์ทำร้าย โดยมี
สมมุติฐาน ว่า ไวรสั อาจจะมีแหลง่ เรมิ่ ต้นคือคา้ งคาว และกลายพันธุ์เม่ือผา่ นสัตว์ตวั กลาง กลายเป็นไวรสั สาย
พันธ์ุใหม่ ท่ีก่อโรคในคน และคนไปรับเชื้อมาแพร่ระหว่างคนสู่คน ทั้งนี้ต้องรอการพิสูจน์ต่อไป เคยมี
เหตุการณ์ท่ีคล้ายคลึง กันจากไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ท่ีเกิดข้ึนในอดีต คือ การเกิดโรค SARS (พ.ศ.2545)
และ MERS (พ.ศ.2557) ซงึ่ ท้ังสองโรคน้ัน ผู้ป่วยมีอาการหนักท้ังหมดและตอ้ งอยู่ในโรงพยาบาล จึงสกัดการ
แพร่โรคได้ไม่ยากนัก ส่วนผู้ป่วยโรค COVID-19 ที่แพร่เช้ือ มีท้ังผู้ท่ีมีอาการน้อยหรืออาจไม่มีอาการ
นอกเหนือจากผู้มีอาการหนักซ่ึงมีน้อยกว่ามาก จึงควบคุมการระบาดได้ยากกว่า การระบาดที่ใกล้เคียงกับ
ครั้งนี้มากท่ีสุด คือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ ใหม่ 2009 (Influenza A (H1N1) pdm09 virus)
ใน พ.ศ.2552 ซึ่งเร่ิมจากอเมรกิ าแล้วระบาดหนักไปท่ัวโลก แต่คนที่ติดเชื้อโควิด-19 สามารถแพร่เชื้อได้ใน
ชว่ งเวลาของการตดิ เช้อื ไดน้ านกวา่ การระบาดจึงน่าจะ กว้างขวางกว่า และควบคุมยากกว่า ในขณะน้ี โรคโค
วิด-19 ได้ระบาดไปท่ัวโลกแลว้

วันที่ 11 กมุ ภาพันธ์ 2563 ไดม้ กี ารกำหนดชอ่ื โรคและชือ่ ไวรัสอยา่ งเป็นทางการ ดงั นี้
โรค COVID-19 (อ่านว่า โควิดไนน์ทีน ย่อมาจาก Corona Virus Disease 2019)
กำหนดช่ือโดยองคก์ าร อนามัยโลก (WHO)
ไวรัส SARS-CoV-2 (อ่านว่า ซาร์สคอฟ ทู ย่อมาจาก Severe Acute Respiratory
Syndrome Corona Virus 2) กำหนดชื่อโดยคณะกรรมการระหวา่ ง ประเทศวา่ ดว้ ยอนุกรมวธิ านของไวรสั (
ICTV ) โดยท่ีช่วงแรกของ การระบาด ใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการ เช่น ไวรัสอู่ฮั่น 2019-nCoV (2019
novel coronavirus หรือ ไวรสั โคโรนา สายพันธใุ์ หม่ 2019) แต่มักจะเรียกกนั ง่ายา ว่า ไวรสั โควิด19 ส่วน
ไวรัส SARS-Co-1 คือไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรค ติดเชื้อทางเดินหายใจรนุ แรง หรือ SARS ที่ระบาด ใน พ.ศ.
2545-2546 ไวรสั ทก่ี อ่ โรคระบาดในครัง้ น้จี งึ เป็นชนิด ที่ 2 หรือ SARS-CoV-2

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควดิ -19

ไวรัส SARS-CoV-2 เป็นเช้ือโรคท่ีต้องอยู่ในเซลล์เนื้อเย่ือ หรือมีเมือกคลุมอยู่ เช่น เสมหะ
ไม่สามารถอยู่ เป็นอิสระ นอกจากนี้ ยังเป็นไวรัสท่ีเกราะด้านนอกเป็นไขมัน ซ่ึงจะสลายตัวเมื่อสัมผัสกับสาร
ซักฟอกหรอื สบไู่ วรัส โคโรนา่ ทีก่ ่อโรคในมนษุ ยใ์ นขณะน้มี ที ้ังหมด 7 ชนิด

ชนิดท่ี 1-4: โรคหวดั ธรรมดา
ชนิดท่ี 5: โรค SARS (ซาร)์ จากไวรัสสายพันธใ์ุ หม่ เม่อื พ.ศ. 2545-2546
ชนดิ ท่ี 6: โรค MERS (เมอรส์ ) จากไวรสั สายพันธ์ุใหม่ เมือ่ พ.ศ. 2557
ชนิดที่ 7: โรค COVID-19 (โควดิ -19) จากไวรสั สายพันธุ์ใหม่ในปัจจบุ นั

แหล่งแพรเ่ ชอ้ื ไวรสั COVID-19
1.คาดว่าเริ่มจากสัตว์ป่าที่นำมาขายในตลาดสดเมืองอู่ฮ่ัน ประเทศจีน ซ่ึงคนไปสัมผัสและ
นำมา เผยแพร่ต่อ โดยเริ่มจากไวรัสจากค้างคาวที่มกี ารผสมพันธุ์กับไวรัสอน่ื และกลายพนั ธุ์
2.คนท่ีมีเช้ือแลว้ แพร่สคู่ นอ่ืน ทางส่งิ คดั หลัง่ จากทางเดนิ หายใจ

ขั้นตอนจากการรับเชอื้ ถงึ การป่วย
ผู้สัมผัสเชื้อโรค (contact) หมายถงึ ผู้ทส่ี ัมผัสใกล้ชดิ กับผู้ติดเช้ือ หรือ อาจจะสัมผัสกับเชื้อ
ที่ออกมากับสิ่งคัดหล่ังจากระบบหายใจ ของผู้ป่วย (น้ำลาย เสมหะ น้ำมูก) แล้วอาจจะนำเข้าสู่ร่างกายทาง
ปาก จมูก ตา (อวัยวะท่ีมีเยื่อเมือกบุ) โดยได้อยู่ ในชุมชนที่มีผู้ป่วยอยู่ด้วย โดยไม่ระมัดระวังเพียงพอ หากมี
การสัมผัสดังกล่าว ก็อาจเกิดการติดเช้ือตามมา และเป็นแหล่งแพร่เชื้อต่อไปได้ผู้ท่ีต้องเฝ้าระวังในระยะน้ี
(มี.ค.63) ไดแ้ ก่ ผู้สัมผัสหรืออาจจะสมั ผัสโรค โดยมี ประวัติอย่างใดอยา่ งหนึ่งในช่วงเวลา 14 วันกอ่ นหน้าน้ี
(คือ ระยะฟกั ตัวที่ยาวท่สี ดุ ของโรค คือ ติดเช้อื แลว้ แตย่ งั ไม่มอี าการป่วย) ดังต่อไปน้ี
1. มปี ระวตั เิ ดนิ ทางไปยงั มาจาก หรืออยอู่ าศัย ในพ้นื ทีท่ ม่ี รี ายงานการระบาด
2. เป็นผสู้ มั ผสั ใกลช้ ิดกับผทู้ มี่ าจากพน้ื ทท่ี ่ีมีรายงานการระบาด
3. มปี ระวตั ิใกลช้ ิดหรอื สมั ผัสกับผทู้ เ่ี ขา้ ขา่ ยหรอื ไดร้ บั การตรวจยนื ยนั วา่ ตดิ เชือ้

ผลจากการสัมผัสกบั เช้ือโรค
ผทู้ ่สี ัมผัสกบั เชื้อโรคโควดิ -19 หากไดร้ ับเชื้อโรคมาอาจจะมีผลเป็น
1.พาหะของเช้ือ คอื ผู้ทร่ี บั เชื้อโรคแต่ไม่เกดิ การติดเชือ้ ซง่ึ เชอ้ื มักจะตดิ มาทางมอื
2.ผู้ติดเชื้อ คือ ผู้ที่ตรวจพบเชื้อ และมีปฏิกิริยาทางอิมมูนต่อเชื้อ ซ่ึงตรวจพบได้ทางการ
ตรวจเลอื ด แบ่งเปน็

2.1 ผู้ติดเชอ้ื ทไ่ี มม่ อี าการ
2.2 ผปู้ ่วย หรอื ผ้ตู ิดเช้อื ทม่ี ีอาการ ซ่งึ อาจจะมีอาการน้อยหรือมาก

ลักษณะของโรค COVID-19
การวินิจฉัย และ การรักษาการติดเช้ือทางเดินหายใจจากไวรัส ระบบทางเดินหายใจเร่ิม
จากจมูกลงไปถึง ถุงลมในปอด แบ่งออกเป็นทางเดินหายใจส่วนบน (จมูก โพรงรอบจมูกหรือไซนัส กล่อง
เสียง) และส่วนล่าง (หลอดลมและปอด) ความเจ็บป่วยจากการติดเช้ือที่ทางเดินหายใจส่วนบน จะไม่รนุ แรง
เท่าการติดเช้ือทางเดนิ หายใจส่วนล่าง ไวรสั ทีช่ อบทางเดินหายใจส่วนล่างจึงก่อโรครนุ แรงกว่าความเจบ็ ปว่ ย

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

จากการติดเช้ือไวรัสที่ ทางเดินหายใจ เป็นผลจากที่ไวรัสเข้าไปแบ่งตัวในเซลล์ของทางเดินหายใจ และ
เกิดปฏกิ ริ ยิ าต่อต้านจากร่างกาย ความรุนแรงของโรคมากน้อยข้นึ อย่กู บั

1. ลักษณะเฉพาะตัวของไวรัส ซ่ึงชอบท่ีจะไปอยู่ท่ีส่วนไหนของทางเดินหายใจ เช่น ในรู
จมูก ทำให้มนี ำ้ มกู หรอื ลงปอดเกดิ ปอดอกั เสบ และความสามารถในการกระตนุ้ ปฎิกริ ิยาการอักเสบ

2. ปฏิกิริยาทางอิมมูนของผ้ตู ิดเชื้อ เพือ่ การกำจัดไวรสั ซึ่งอาจก่อให้เกดิ การอักเสบมากเกิน
พอ และหาก กระบวนการยับย้งั ไมด่ ี ก็จะทำใหโ้ รครนุ แรง

การดำเนนิ โรค
การติดเชื้อไวรัสโควิด-19 รวมถึงไวรัสอื่นที่ทำให้ติดเชื้อที่ทางเดินหายใจ เข้าสู่ร่างกายโดย
ทาง “ปาก จมูก ตา” โดยที่ไวรัสจะเข้าไปเกาะติดและเข้าไปแบ่งตัวในเซลล์ของเยอื่ บุทางเดินหายใจ ไวรัสไม่
เขา้ ทาง ผิวหนงั หรือแผลทผ่ี ิวหนงั
ระยะฟักตัว (Incubation period, IP) หมายถึงระยะเวลาตั้งแต่รับเชื้อจนถึงเริ่มมีอาการ
ป่วยระยะฟักตัว ของโรค COVID-19 เท่ากับ 2-14 วัน ซ่ึงเป็นเหตุผลที่ให้ผู้สัมผัสโรคกักกันตัวจากคนอื่น
14 วัน จากรายงานผู้ป่วย นอกเมืองอู่ฮั่น ระหว่าง ม.ค.-กพ. 2563 พบว่าค่ามัธยฐาน (median, ค่ากลาง)
ของระยะฟักตัวของโรคนี้ ประมาณ 5.1 วัน (95% CI, 4.5 to 5.8 days) และ 97.5% ของผู้ป่วยมีระยะ
ฟักตัวของโรคน้อยกว่า 11.5 วนั (95% CI,8.2 to 15.6 days) ปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ ระยะฟักตวั ได้แก่
1. ปริมาณของเช้อื ไวรัสทีไ่ ด้รบั ถ้ามากจะทำให้เกดิ โรคเร็ว คอื ระยะฟกั ตวั ส้ัน
2. ทางเข้าของเช้ือโรค เชน่ ไวรัส COVID-19 หากเข้าสู่ปอดโดยตรงทางจมูกและปาก จะ
เกิดโรคเร็วกว่าการรบั เชื้อ ทางเย่ือบุตา
3. ความเร็วของการเพ่ิมจำนวนไวรสั ในรา่ งกายมนษุ ย์
4. สุขภาพของผู้ท่ีได้รับเช้ือ 5. ปฏิกิริยาทางอิมมูนของผู้ติดเช้ือต่อไวรัส ซึ่งมีผลทั้งในการ
กำจดั เช้ือ และการอกั เสบซง่ึ มีผลให้เกิดอาการของโรค เช่น ไข้ ไอ หอบ

อาการปว่ ย (Symptoms)
โดยทั่วไป ผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีอาการ “ไข้ และ ไอ” เป็น พื้นฐาน ส่วน
ใหญ่เริ่มจาก ไอ แห้งา ตามด้วย ไข้ ผู้ป่วยส่วนน้อยคือ ร้อยละ 5 มนี ้ำมูก เจ็บคอ หรือ จาม ไม่มีอาการเสียง
แหบหรือเสียงหาย ร้อยละ 98.6 มีไข้ (ไข้อาจจะไมได้เร่ิมในวันแรกของการป่วย) ร้อยละ 69.6 มีอาการ
ออ่ นเพลียผดิ ปรกติรอ้ ยละ 59.4 ไอแหง้ า (Wang et al JAMA 2020)

ความรุนแรงของโรค
ความรนุ แรงของโรค ขึ้นอยกู่ ับ
1. ปริมาณไวรัสที่ได้รบั เข้าทางเดินหายใจ
2. ปัจจัยทางผู้ติดเชื้อ เช่น สุขภาพ โรคประจำตัว ปฏิกิริยาอิมมูน การปฏิบัติตนเม่ือเร่ิม
ป่วย
3. การดแู ลรกั ษาเม่อื ติดเช้ือและปว่ ย
ผ้ตู ิดเช้ือส่วนใหญ่มีอาการน้อย และส่วนน้อยมากไม่มีอาการป่วยเลย เด็กส่วนใหญ่มีอาการ
นอ้ ย ผู้สงู อายุ และผูม้ ีโรคประจำตวั มักจะมีอาการหนักกว่า -ร้อยละ 80 มีอาการน้อย คล้ายไข้หวัดธรรมดา

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

หรือไข้หวัดใหญ่ท่ีอาการน้อย หายได้เองหลังพักผ่อน และดูแลตามอาการ -ร้อยละ 14 มีอาการหนักจาก
ปอดอักเสบ หายใจผิดปรกติ -ร้อยละ 5 มีอาการวิกฤติ เช่น การหายใจล้มเหลว ช็อคจากการป่วยรุนแรง -
ร้อยละ 1-2 เสียชีวิต หลังจากมีอาการหนัก มักเกิดกับผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัวทางหัวใจและปอด
เบาหวาน ภมู ิต้านทานตา้ นหรือโรคประจำตวั อ่ืน

ระยะเวลาทีป่ ว่ ย
ข้อมูลผู้ป่วย 55,924 ราย ให้ค่ามัธยฐาน (median time หรือ ค่ากลาง) ของระยะเวลา
จากเร่ิมมอี าการ จนถึงวนั ทเ่ี รม่ิ ฟ้นื ตวั จากการป่วย คอื อาการเร่มิ ดีขึน้ ดังน้ี
-ผู้ปว่ ยทมี่ อี าการนอ้ ย (mild cases) 2 สัปดาห์
-ผู้ปว่ ยท่ีมีอาการหนกั (severe or critical) 3-6 สปั ดาห์
-เรมิ่ ป่วยจนมอี าการหนกั 1 สัปดาห์
-เริ่มป่วยจนถึงแก่กรรม 2-8 สัปดาห์(WHO-China Joint Mission, publish Feb 28,
2020 by WHO)

อตั ราตายจากการตดิ เชอ้ื ไวรสั สายพนั ธ์ุใหม่
ท่ีเคยพบในประเทศไทย พ.ศ. 2545: โรค SARS ร้อยละ 10 พ.ศ.2553: ไข้หวัดใหญ่-
2009 (Flu-pandemic 2009) ร้อยละ 0.03-0.5 พ.ศ. 2557: โรค MERS ร้อยละ 30 พ.ศ. 2562-
2563: โรค COVID-19 ร้อยละ 1-2 (ซึ่งน่าจะตำ่ กวา่ ขณะน้)ี

การวนิ จิ ฉัยโรค และการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร
1.ข้อมูลจากประวตั ิอาการผดิ ปรกติ และการสัมผสั โรค
1.1 ประวตั อิ าการไม่สบาย ผลการตรวจรา่ งกาย และการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการพื้นฐาน
1.2 ประวตั สิ มั ผสั โรค ตามทกี่ ล่าวแล้วในเรือ่ งผ้สู ัมผสั
2. การตรวจหาไวรัส SARS-CoV-2 (หรือ ไวรัสโควิดไนนท์ นี )

วัตถปุ ระสงค์
1. การควบคุมการแพรร่ ะบาด
2. การพิจารณาใช้ยาตา้ นไวรสั ที่ตรงกับชนดิ ของเชือ้
3. การวิจัยเพื่อใช้ในการควบคมุ โรค และการรักษา การติดตามดูการเปล่ียนแปลงของไวรัส
การตรวจ มกี ารพฒั นาการตรวจเพิ่มเติมและดีขึน้ เรอ่ื ยา

หลักการมีดงั นี้
1. ส่ิงส่งตรวจ - สารท่ีเก็บจากด้านในของจมูกและคอหอย โดยการเก็บตรวจอย่างถูกต้อง
ตาม – เลือด
2. วิธีการตรวจ -Real-Time RT-PCR for coronavirus จากส่ิงส่งตรวจจากทางเดิน
หายใจ เปน็ การตรวจหลักในปัจจุบัน ซึง่ เป็นการตรวจระดับโมเลกลุ การเก็บส่ิงส่งตรวจไม่ดีทำให้ตรวจไม่พบ
ไวรสั ได้ บอกไม่ได้จากผลตรวจว่ามีไวรัสท่ี มีชีวิตหรอื ไม่ -Serology คือการตรวจเลอื ดหา immuglobulin ท่ี

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19

เฉพาะต่อเช้ือ ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของปฏิกิริยาภูมิ ต้านทาน หลักการในการตรวจหาการติดเช้ือไวรัสโดยทั่วไป
จะตรวจ IgM ในสัปดาห์แรก และ IgG หลงั จาก 1 สัปดาห์ นับตั้งแต่ตดิ เช้ือ -Viral culture คือการเพาะเชื้อ
ไวรสั จากสงิ่ สง่ ตรวจ ใชใ้ นการวจิ ยั เปน็ หลกั การปอ้ งกันอันตรายในหอ้ ง แลปยากกวา่ และคา่ ใช้จ่ายสงู กวา่

3. การตรวจปอดด้วยภาพรังสี (Chest X-ray, CT- Chest) -ในช่วงที่มีการระบาดหนักใน
ประเทศจีนจนการตรวจทางโมเลกุลรบั ไม่ไหว ได้มีการแนะนำการตรวจ ปอดด้วยภาพเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์
เพ่ือการวินิจฉัย COVID-19 อาจพิจารณาเป็นส่วนประกอบของการวินิจฉัย ทางการแพทย์ และเป็น
ทางเลือก การดูแลรักษาผู้ติดเช้ือ โรคน้ีคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ คือ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (ประมาณ ร้อยละ 80) มี
อาการน้อย และหายไดเ้ อง แต่ตอ้ งปฏบิ ตั ิตัวให้รา่ งกายไดซ้ อ่ มแซมตัวเอง และป้องกนั คนอนื่

การดูแลรกั ษาผ้ตู ดิ เช้ือ
โรคนค้ี ลา้ ยกับไขห้ วัดใหญ่ คือ ผปู้ ่วยสว่ นใหญ่ (ประมาณ ร้อยละ 80) มีอาการน้อย และหายได้
เอง แต่ต้องปฏิบตั ิตัวใหร้ ่างกายได้ซ่อมแซมตวั เอง และป้องกนั คนอืน่

1. การรกั ษา
1.1 การรักษาทัว่ ไป:
1. พักผ่อนทนั ทีท่ีเรม่ิ ปว่ ย และพักผ่อนให้พอ ใหร้ ่างกายอบอนุ่ กินอาหาร และดม่ื น้ำให้
เพยี งพอ รกั ษา ตามอาการ เช่น ลดไข้
2. ปรกึ ษาแพทย์ เพ่ือการดแู ลรกั ษา ถา้ เป็นผูเ้ สี่ยงตอ่ การท่จี ะป่วยรุนแรง เช่น ผ้สู ูงอายุ
ผู้มีโรคประจำตวั หรือมีอาการหนัก ยังมขี ้อมลู เก่ยี วกับการติดเชือ้ ในหญงิ มคี รรภ์น้อยมาก ซง่ึ ยังไม่
พบว่ามีการติดเชอ้ื จากแม่สลู่ ูก หรอื มีอาการทรี่ ุนแรงขึน้ แต่ควรจะเฝา้ ระวงั
3. ผ้ปู ว่ ยทีม่ ีอาการน้อย สามารถรักษาตัวทบ่ี า้ น ผปู้ ว่ ยทีม่ อี าการหนกั ต้องรับการรกั ษาใน
โรงพยาบาล ในระยะท่ผี ู้ตดิ เช้ือยังไมม่ ากเกนิ กำลังควบคุมดูแล มขี ้อกำหนดใหร้ บั ผตู้ ดิ เช้ือไวใ้ น
สถานพยาบาลท้ังหมด เพ่ือการ ดูแลรักษาและป้องกนั การแพร่เชือ้
1.2 เฉพาะโรค: เริ่มมยี าต้านไวรัสต่อไวรสั ชนดิ น้ีในขั้นทดลองในวงกว้างแล้ว

2. การปอ้ งกนั -ในระยะท่ีควบคุมการระบาด ต้องรายงานเจา้ พนกั งาน เม่อื มีผูต้ ิดเช้ือ -ป้องกันการแพรเ่ ชอื้
ให้คนอนื่ ตามข้อแนะนำภูมติ ้านทานหลังติดเชอ้ื คนทเี่ คยติดเชือ้ ไวรัส COVID-19 แล้ว จะตดิ เช้ือน้ีอกี ไหม ?
แม้ว่าจะยงั ไมม่ ีขอ้ มูลทชี่ ดั เจนในเรือ่ งนี้ แต่ขอ้ มูลจากการติดเช้อื โคโรนาไวรัสอ่นื ท่ี คล้ายคลงึ กัน เชน่ โรค
SARS ในปี 2545 และ MERS-CoV ในปี 2557 ชี้แนะวา่ ภมู ติ ้านทานที่เกิดจากการติดเช้อื ไวรสั โคโรนา
ไมใ่ ชภ่ ูมติ า้ นทานทจ่ี ะอยนู่ าน ไม่นา่ จะมกี ารติดเชื้อซ้ำในระยะเวลาใกล้ เชน่ ภายใน 1ปี ท้ังน้ี การสร้างภมู ิ
ตา้ นทานต่อ COVID-19 ยงั ไม่เป็นทีเ่ ขา้ ใจดนี กั 3. การแพรเ่ ช้ือ และ การรบั เช้อื แหล่งเช้ือโรค COVID-19
และการแพรเ่ ช้อื 1. คนทตี่ ิดเช้อื 1.1 ไอ จาม หรือ พูด โดยไมม่ ีอุปกรณ์ปิดปาก ในระยะใกล้ชดิ (น้อยกว่า 1
เมตร) มีผลให้ละอองฝอย เสมหะ น้ำมูก น้ำลาย ท่ีมีไวรสั อยู่ด้วย ฟงุ้ กระจายออกมา เรียกว่า airborne
droplet หรือ หยดน้ำเล็กท่ีลอยใน อากาศ (ขนาด >5 micron) ซงึ่ จะตกลงบนพื้นในระยะ 1-2 เมตร 1.2
ทำให้เกดิ การฟุ้งของไวรสั ในอากาศ โดยการปฏบิ ัตติ ่อผ้ตู ิดเชอ้ื บาง ลักษณะในสถานพยาบาล (เช่น การใช้
อุปกรณ์พ่นยาเข้าทางเดนิ หายใจ การใชส้ ายยางดดู เสมหะ การสอ่ งกลอ้ งตรวจภายในหลอดลม การใส่และ
ถอดท่อหายใจใหผ้ ปู้ ว่ ย การดูดเสมหะดว้ ยระบบเปดิ ) ก่อให้เกิดละอองขนาดเล็กมาก (fine mist) เรียกวา่
airborne aerosole

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19

การแพรเ่ ชอ้ื COVID-19 และการรบั เชื้อ เกิดจากการติดตอ่ จากคนที่มีเช้ือสคู่ นอน่ื โดย 1.
ทางตรง (direct) โดยทางละอองฝอย (drople)t จากทางเดนิ หายใจ - การคลกุ คลีใกลช้ ิดกับผู้ติดเชือ้ /ผู้ป่วย
ในระยะน้อยกวา่ 1-2 เมตร - โดยทางละอองฝอย (droplet) ของน้ำลาย เสมหะ น้ำมกู ของผปู้ ว่ ย ด้วยการ
ไอ จาม หรือการพูดท่ี น้ำลายกระเดน็ - ละอองฝอยเหลา่ นี้ อาจจะเข้า ปาก จมูก ตา ของผูท้ ีอ่ ยใู่ กล้
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง เมอ่ื หันหน้าเข้าหากัน และสดู หายใจเข้าไป เนอื่ งจาก ไวรสั COVID-19 เป็นไวรสั ทต่ี ้อง
อยใู่ นเซลลจ์ งึ จะมีชวี ิตอยไู่ ด้ ดังนนั้ เมอื่ ละออง ฝอยแห้งลง ไวรัสกต็ าย ไม่ลอยอยู่ในอากาศฟงุ้ กระจาย 2.
ทางอ้อม (indirect) โดยการสัมผัส (contact) - โดยการสัมผสั บริเวณ พื้นผิว สงิ่ ของ มอื ของคนอืน่ ที่มีการ
ปนเปือ้ นเชอ้ื โรคจากผู้ป่วยจากการไอ จาม แล้วนำไปเขา้ จมกู ปาก ตา ของตนเอง – มสี ่ิงอืน่ นำเชอ้ื ไปโดย
การสัมผสั เชน่ ของเลน่ ของเด็กท่ปี นเป้ือนเชื้อ สตั วเ์ ล้ยี งที่มผี ู้นำเชือ้ มาสมั ผัสทิ้งไว้ ที่ขน ท้งั น้ี ยงั ไม่มี
หลกั ฐานว่าสัตว์เลยี้ งจะติดเชือ้ สายพันธุ์นี้ - สุนัขมไี วรัสโคโรนาของสุนขั แต่เปน็ สายพันธุ์ทไ่ี ม่กอ่ โรคในคน 3.
ทาง aerosol เปน็ กรณีเฉพาะ - Aerosol คอื ละอองฝอยขนาดเลก็ กว่า 5 ไมครอน ลอยในอากาศ - ไวรัสโค
โรนาจากผปู้ ่วยจะลอยเป็นละอองฝอยขนาดเล็ก ในกรณีทมี่ ีหตั ถการในการรักษาบางอย่าง เชน่ การดดู
เสมหะโดยใช้เครื่องต่อสายยาง การพน่ ยาเปน็ ละอองเขา้ ทางเดนิ หายใจ เปน็ ตน้ - มขี ้อมูลบา้ งวา่ ในลกั ษณะ
อากาศบางอยา่ ง อาจจะเป็นอากาศเย็นและชนื้ ไวรสั อาจจะลอยอยูใ่ นอากาศ นานขึ้น ซ่ึงอาจจะสร้างปัญหา
ของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ต้องตดิ ตามข้อมูลต่อไป “COVID-19 ตดิ ตอ่ จากคนสู่คน ด้วยวิธกี ารท่ี
คลา้ ยคลึงกบั ไขห้ วดั ใหญ่” การคลุกคลีใกล้ชิดกัน (close contact) การคลกุ คลีใกลช้ ดิ ผู้ปว่ ยทำใหม้ โี อกาส
รับเชื้อจากผปู้ ว่ ยได้ ทั้งนี้ หมายถงึ 1. การอยู่ใกล้ผ้ปู ่วย ในระยะน้อยกวา่ 2 เมตร เปน็ เวลานาน เชน่ อยู่ร่วม
ห้อง พูดคุยกัน หนั หน้าเข้า หากนั เปน็ คนดแู ลผปู้ ่วย เปน็ ต้น 2. มกี ิจกรรมที่มีการสมั ผัสโดยตรงกับเชื้อโรค
จากนำ้ ลาย เสมหะของผตู้ ิดเช้อื เช่น กอดจูบกนั สมั ผัสตัว การใช้ของร่วมกัน เช่น ช้อนส้อม แกว้ น้ำ การกิน
อาหาร รว่ มกัน การท่ีกำหนดระยะใกล้ชิดท่ีอาจจะรับเชอื้ หรอื ระยะหา่ งในการปอ้ งกันการรับเชื้อ ที่ 1-2
เมตร เพราะการไอจามของคนทัว่ ไปจะส่งฝอยน้ำลายได้ไกล ถึง 1 เมตร แต่ถา้ คนตัวโตไอแรงมากา อาจจะ
ไกลถงึ 2 เมตร
การรบั เชอื้ COVID-19 1. คนที่คลกุ คลใี กล้ชดิ (close contact) ไดร้ ับเชือ้ เขา้ ทางปาก จมกู ตา ส่วน ใหญ่
เกดิ จากการไอ จาม ของผูป้ ว่ ย 2. มอื ท่ีสัมผสั ไวรัสจากผู้ปว่ ย ทีป่ นเปอ้ื นอยู่บนผิววัตถุแล้วนำเขา้ สทู่ างเดนิ
หายใจทาง ปาก จมกู ตา หรือ แพร่ไปท่ีอ่นื ต่อ 3. แม้ว่าจะมรี ายงานการตรวจพบไวรัสโคโรนา19 ใน
อจุ จาระ และผู้ปว่ ยบาง คนมีอจุ จาระรว่ ง การติด เชอื้ ทางทางเดินอาหารไม่เป็นการแพรเ่ ชอื้ ที่มีความสำคัญ

การปอ้ งกนั การแพร่เชือ้ และการติดเชือ้
1. ลา้ งมอื ดว้ ยน้ำและสบูใ่ ห้ทวั่ และนานพอ (ประมาณ 20 วนิ าที) และเชด็ มอื ให้ แหง้ –การล้าง

มอื ดว้ ย น้ำและสบจู่ ะกำจัดคราบสกปรก และฆา่ เชอื้ ไวรัส ไม่จำเป็น ต้องใชส้ บ่ทู ี่ผสมสารฆ่าเช้อื –ถ้าไม่มีน้ำ
และสบู่ จงึ ใช้ แอลกอฮอล์(60-70 % ซ่งึ มกั อยู่ในรปู เจล หรอื สเปรย)์ ทาทว่ั มือที่ไม่เปยี กเพ่ือฆา่ เช้ือโรค (ถา้
มอื เปยี ก แอลกอฮอล์ จะเจือจางจนฆา่ เชอ้ื ไม่ได)้ ๑๕ ทง้ิ ให้แห้ง หา้ มล้างน้ำต่อ เพราะจะลา้ งแอลกอฮอล์หมด
ไป แตถ่ า้ มือสกปรกต้อง ล้าง มือดว้ ยน้ำและสบู่ เพราะแอลกอฮอลจ์ ะไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคทอ่ี ยู่ในคราบ
เป้ือน

2. ไม่เอามือจับหนา้ ปาก จมูก หรอื ตา ถ้าจำเปน็ ควรทำมือให้สะอาดก่อน
3. เว้นระยะหา่ ง จากคนอน่ื ท่ีอาจจะแพรเ่ ชอื้ (keep distance) ได้แก่ - คนที่มีอาการซึ่งอาจจะเกดิ
จาก การตดิ เช้อื ทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ - หลีกเลี่ยงการไปในที่ทีม่ ีคนหนาแน่น โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงคนท่ีไม่
รู้จกั และ อาจ ติดเช้ือ โดยไม่สามารถอยู่ห่างกันเกิน 1 เมตร ไดต้ ลอดเวลา ถ้าจำเป็น ควรใส่ หนา้ กากอนามัย
และไม่หัน หนา้ เผชิญกนั เพราะเขาอาจไอ จามรดได้

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

4. ทำความสะอาดสง่ิ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างย่ิงบริเวณที่อาจปนเปอ้ื นเสมหะ น้ำมกู น้ำลาย จาก
ผู้ป่วย และมไี วรัส

คนกลุ่มต่างท่ีมโี อกาสสัมผัสเชื้อโรคน้ี ควรปฏิบัติดังน้ี
1.คนทกุ คน
มือสะอาด : ล้างมือด้วยน้ำและสบูอ่ ย่างถกู วิธีเป็นหลัก โดยเฉพาะเม่ือมคี ราบ สกปรก ใช้
แอลกอฮอล์ เจลเฉพาะเวลาท่ีไม่สามารถใช้น้ำและสบู่ล้างมือ หน้า : ไม่สมั ผสั ดว้ ยมอื ทยี่ ังไมส่ ะอาด เพราะ
ปาก จมูก ตา เป็น ทางเข้าของเช้ือ
หนา้ กากป้องกนั : คนที่ไมต่ ิดเชื้อไมจ่ ำเป็นต้องใช้หน้ากากเมือ่ อยูใ่ นทีช่ ุมชนที่ แน่ใจว่าไม่มผี ตู้ ิดเช้อื
อาจ ใชห้ นา้ กากผา้ ทีม่ ีคณุ ภาพ เพื่อป้องกันอบุ ัติเหตทุ ่ีคาดไมถ่ ึง ว่าจะมีคนไอจามรด หากเกิดขน้ึ รีบเอา
หนา้ กากออก ลา้ งหน้า หรือเชด็ หนา้ หากไม่ เกิดอุบตั ิเหตุ จดั การหนา้ กากทใี่ ช้คร้ังเดยี วเช่นเดียวกับ ขยะ
ทว่ั ไป สว่ นหน้ากากผ้า นน้ั ซักแลว้ ใชใ้ หม่ได้
กิน: อาหารปรุงใหม่ ดว้ ยกระบวนการทส่ี ะอาด ล้างมือก่อนกนิ อาหาร และไม่ ปนเปื้อนอาหาร
สว่ นกลางดว้ ยช้อนสอ้ มส่วนตัว
2. ผูป้ ว่ ย
-หน้ากากป้องกนั : ใช้หนา้ กากอนามยั ทางการแพทย์ ใช้และทงิ้ อย่าง ขยะติดเชือ้ ในท่ีท่ีมีการจัดไว้ให้
ที่ เปน็ ลักษณะปดิ หรอื ทง้ิ ในถุงหรือถังขยะปดิ ทีใ่ ชเ้ ฉพาะ
-ไอ จาม : ใหป้ ลอดภัยต่อคนอน่ื เว้นระยะห่างและหันหนา้ ออกจากคนอนื่ ใชข้ ้อ พับศอกด้านในปดิ
ปาก และจมูก หรือใชท้ ชิ ชูปิดปากและจมกู แล้วทง้ิ ในถังขยะติด เชอ้ื หรอื ใสถ่ งุ ทปี่ ิด หากใส่หน้ากากอนามยั
อยู่ ใหไ้ อ จาม ในหน้ากากอนามยั ถา้ ใช้ ผา้ เชด็ หน้าปิดปากจมูก เสรจ็ แลว้ ใหพ้ ับด้านเป้ือนไวข้ า้ งใน เก็บไวใ้ น
ถุงพลาสติก ก่อนนำไปซัก
-อยูห่ ่างจากคนอน่ื : งดหรอื เล่ียงการเข้าใกล้คนอ่นื ในระยะนอ้ ยกว่า 1 เมตร 3. ผู้ดูแลผปู้ ว่ ย ถ้าตอ้ ง
เป็นผ้ดู แู ลผูป้ ว่ ยทบี่ า้ น
1. แยกผู้ป่วยจากคนอ่ืน เวน้ ระยะห่างให้เกนิ 1-2 เมตร ตลอดเวลา หาก เปน็ ไปได้ ผู้ปว่ ยควรจะอยู่
ใน หอ้ งแยกและแยกใชห้ ้องน้ำจากคนอนื่
2. หน้ากากอนามยั ผ้ปู ่วยใส่หนา้ กากอนามยั เม่อื อยู่ในห้องรว่ มกบั คนอน่ื คนที่ ดแู ลผปู้ ่วยใกล้ชิดก็
ควรจะ ใสห่ น้ากากอนามัยเมื่ออยใู่ นห้องผู้ปว่ ย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมื่อผูป้ ว่ ยใส่ไม่ได้
3. ระมัดระวงั ในการสมั ผสั เสมหะ น้ำมูก น้ำลาย และสงิ่ คัดหล่ังอ่นื จากผปู้ ว่ ย ใส่หนา้ กากอนามัย
ผา้ กัน เปือ้ น และถุงมือ ตามกรณี และล้างมือ
4. ทำความสะอาดบริเวณทีใ่ ชด้ แู ลผู้ป่วย และส่ิงของ เช่น โทรศพั ท์
5. ล้างมือดว้ ยน้ำและสบู่ ใชแ้ อลกอฮอลเ์ มื่อไม่มีน้ำและสบ

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19

บทท่ี ๓
วิธดี ำเนินการ

การประเมินโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-
19 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการป้องกันตนเองจากโรค
ไวรัสโควิด (COVID-19) และสามารถนำเจลล้างมือไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยประเมินจากความพึงพอใจ
ของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรยี นรู้ ผ้ปู ระเมินไดด้ ำเนินการประเมิน ดงั น้ี

๑. นกั ศกึ ษาท่ีใชใ้ นการประเมนิ
๒. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ
๓. การสรา้ งเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ
๔. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
๕. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
๖. สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู

นกั ศึกษาท่ใี ช้ในการประเมิน
กลุ่มเป้าหมายทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกนั โรคไวรัสโคโร

น่าโควิด-19 ได้แก่ ประชาชนทว่ั ไปในพืน้ ท่ีอำเภอเจาะไอร้อง ๓ ตำบล จำนวนทงั้ สน้ิ 90 คน

เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการประเมนิ

เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ เป็นแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 โดยแบ่งเป็น ๓

ตอน มีรายละเอยี ดดงั น้ี

ตอนท่ี ๑ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับข้อมูลสถานภาพท่ัวไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี

ลกั ษณะเป็นแบบตวั เลือกท่ีกำหนดคำตอบไว้ให้ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศึกษา และอาชพี

ตอนที่ ๒ เป็นแบบประเมินเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของ

ผู้เข้ารว่ มโครงการตอ่ การเรียนรู้ มี ๓ ดา้ น ดังน้ี

๑. ดา้ นวิทยากร จำนวน ๔ ข้อ

๒. ดา้ นสถานที่/สือ่ อปุ กรณ/์ ระยะเวลา จำนวน ๓ ขอ้

๓. ดา้ นความรทู้ ไ่ี ด้รับ/การนำความรู้ไปใช้ จำนวน ๕ ข้อ

มีข้อคำถามจำนวน ๑๒ ข้อ ลักษณะแบบประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)

มี ๕ ระดับ โดยกำหนดค่าของคะแนน ๕ , ๔ , ๓ , ๒ และ ๑ โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณาข้อความใน

แตล่ ะข้อท่เี กี่ยวข้องกับระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ของผู้เรียนต่อการเรียนร้วู ่าอยใู่ น

ระดับใด ซึ่งใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ในการแปลความหมาย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

(รศ.ดร.บุญชม ศรสี ะอาด)

๕ หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด

๔ หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อยู่ในระดับมาก

๓ หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง

๒ หมายถงึ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั อยู่ในระดับน้อย

๑ หมายถงึ มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั น้อยท่ีสดุ

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควดิ -19

ตอนที่ ๓ เป็นแบบประเมินเกี่ยวกับข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้การทำ
เจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

การสร้างเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
แบบประเมินฉบับนี้ ผู้ประเมินได้ดำเนินการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการ

เรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ข้ึนเอง มี
ขนั้ ตอนการดำเนนิ การ ดังน้ี

๑. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับคู่มือการจัดการศึกษาต่อเน่ือง (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๙) คู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัด
กิจกรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงาน กศน. แนวคิดเก่ียวกับการนิเทศการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการอบรมให้ความรู้
การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19

๒. กำหนดกรอบแนวคิดท่ีใช้ในการประเมิน กำหนดนิยาม และเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้าง
แบบสอบถาม

๓. สรา้ งแบบประเมินเกี่ยวกับการเรียนรู้ต่อการจัดโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากาก
อนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 และตรวจสอบเนื้อหาของแบบสอบถามว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์
หรือไม่ จากนั้นนำไปให้ผู้บริหารสถานศึกษาตรวจสอบแบบประเมิน แล้วนำมาปรับปรุงตามคำแนะนำของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ผู้ประเมนิ ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยมีข้ันตอนดังนี้
๑. ให้วิทยากรดำเนินการบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติ ตามหลักสูตรของโครงการอบรมให้ความรู้

การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19
๒. เม่ือดำเนินโครงการครบตามหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินให้ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบประเมินความ

พึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโค
โรนา่ โควิด-19

๓. เม่อื ผู้ประเมินไดร้ บั แบบประเมินคืน ผ้ปู ระเมินดำเนินการมาตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกตอ้ ง ของ
แบบประเมิน แล้วดำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมลู ตามขัน้ ตอนการประเมินโครงการต่อไป

การวเิ คราะหข์ ้อมลู
การประเมินในคร้งั น้ี ผู้ประเมินได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป

(SPSS) เพ่อื ประมวลผลและหาค่าทางสถติ ิ โดยดำเนินการตามขัน้ ตอนดังน้ี
๑. ตรวจสอบความสมบูรณข์ องแบบประเมิน
๒. วิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ข้อมลู สถานภาพทั่วไปของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ โดยการหาค่าร้อยละ
๓. วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการ โดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

Deviation) เพ่ือทราบระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือหาค่า

ได้แล้วนำค่าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ผลการประเมิน โดยวิธีการแปลผลตามเกณฑ์สัมบูรณ์

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19

(Absolute Criteria) โดยใช้เกณฑ์การประเมินของตามแบบของ รศ.ดร.บุญชม ศรีสะอาด แปลผลคะแนน
เป็นช่วงๆ ซ่งึ มีความหมาย ดังน้ี

คา่ เฉล่ีย ๔.๕๑ - ๕.๐๐ แปลความว่า ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สดุ
คา่ เฉลี่ย ๓.๕๑ - ๔.๕๐ แปลความว่า ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจมาก
คา่ เฉล่ีย ๒.๕๑ - ๓.๕๐ แปลความวา่ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจปานกลาง
คา่ เฉลี่ย ๑.๕๑ - ๒.๕๐ แปลความว่า ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจน้อย
คา่ เฉล่ยี ๑.๐๐ - ๑.๕๐ แปลความวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ
สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
ผู้ประเมินเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและตอบวัตถุประสงค์
ดงั นี้
๑. ข้อมูลสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ซึ่งวิเคราะห์
ขอ้ มลู โดยใช้ค่าความถี่ร้อยละ
๒. ข้อมูลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉล่ีย (Mean) ค่า
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
๓. ขอ้ มลู ท่เี ป็นคำถามปลายเปดิ ไดท้ ำการวิเคราะห์เนอ้ื หา (Content Analysis)

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควดิ -19

บทท่ี ๔

ผลการประเมิน

ผลการประเมินผลโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า
โควิด-19 ผ้ปู ระเมนิ ไดน้ ำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามลำดบั ดังนี้

การเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การประเมินผลการดำเนนิ โครงการครัง้ น้ี ผู้ประเมนิ นำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู แบ่งเป็น ๓ ตอน

ดังนี้
ตอนท่ี ๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้

ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ
ตอนท่ี ๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของ

ผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย ด้านวิทยากร ด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้าน
ความร้ทู ีไ่ ดร้ ับ/การนำความรู้ไปใช้

ตอนที่ ๓ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เก่ียวกบั ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ของผ้เู ข้ารว่ มโครงการตอ่ การเรียนรู้

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การนำเสนอผลการประเมิน ผู้ประเมินได้เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ประเมินได้แจก
แบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรค
ไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ชุด ท้ังน้ีในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
แบง่ เป็น ๓ ตอน ดงั นี้

ตอนท่ี ๑. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย
เพศ อายุ การศกึ ษา และอาชีพ ปรากฏดงั ตาราง ท่ี ๑ – ๔

ตารางท่ี ๑ จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบประเมนิ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ

ชาย 19 63.33

หญิง 11 36.67

รวม 30 ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๑ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือจำแนกตามเพศ
พบวา่ ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 63.33 รองลงมาเป็นเพศหญงิ คดิ เป็นร้อยละ 36.67

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

ตารางที่ ๒ จำนวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมิน จำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

ต่ำกว่า ๑๕ ปี - -

๑๕ - ๓๙ ปี 22 73.33

๔๐ - ๕๙ ปี 8 26.67

๖๐ ปขี น้ึ ไป - -

รวม 30 ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๒ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม เมื่อจำแนกตามอายุ พบว่า
ส่วนใหญ่มีช่วงอายุ ๑๕ - ๓๙ ปี คิดเป็นร้อยละ 73.33 รองลงมามีช่วงอายุ ๔๐ - ๕๙ ปี คิดเป็นร้อยละ

26.67
ตารางที่ ๓ จำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมิน จำแนกตามการศึกษา

การศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ

ตำ่ กว่าประถมศึกษา --

ประถมศึกษา --

มธั ยมศึกษาตอนต้น 15 50.00

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 15 50.00

อืน่ ๆ (ระบุ).......-

................................................ - -

รวม 30 ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๓ พบว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือจำแนกตาม
การศึกษา พบว่าส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 50.00 และส่วนน้อยมี
การศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 50.00

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19

ตารางที่ ๔ จำนวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมนิ จำแนกตามอาชพี

อาชีพ จำนวน (คน) ร้อยละ

เกษตรกร 8 26.67

รบั จา้ ง 8 26.66

ธุรกิจสว่ นตวั 2 6.67

อน่ื ๆ (ระบุ).........................................

นกั ศกึ ษา............. 12 40.00

รวม 30 ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๔ พบวา่ ผูต้ อบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ เมือ่ จำแนกตามอาชีพ
พบว่าส่วนใหญ่มีอาชีพนักศึกษา คิดเป็นร้อย 40.00 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 26.67 อาชีพรับจ้าง

คิดเปน็ รอ้ ย 26.66 และสว่ นน้อยมีอาชพี ธุรกจิ สว่ นตวั คิดเป็นร้อยละ 6.67

ตอนที่ ๒. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของ
ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วยด้านวิทยากร ด้านสถานที่/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้านความรู้ที่
ได้รับ/การนำความรู้ไปใช้ ปรากฏดังตาราง ท่ี ๕ – ๘

๒.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม
โครงการ จำนวน ๓ ด้าน ประกอบด้วย ๑.ด้านวิทยากร ๒.ด้านสถานท่ี/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา และ ๓.
ด้านความร้ทู ไี่ ดร้ บั /การนำความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมและรายดา้ นปรากฏดังตาราง ท่ี ๕

ตารางที่ ๕ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การ
นำไปใช้ ของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ โดยภาพรวมและรายด้าน

รายการ ˉx S.D. ระดบั ความสำคญั

ด้านวทิ ยากร ๔.๕๒ .๒๘๘ มากทสี่ ดุ

ดา้ นสถานที/่ ส่อื อุปกรณ์/ระยะเวลา ๔.๕๔ .๒๘๗ มากทีส่ ดุ

ด้านความรู้ที่ไดร้ ับ/การนำความรไู้ ปใช้ ๔.๔๖ .๒๔๑ มาก

คา่ เฉล่ยี ๔.๕๑ .๑๔๕ มากท่สี ุด

จากตารางที่ ๕ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านสถานที่/สื่ออุปกรณ์/
ระยะเวลา และด้านวิทยากรอยูใ่ นระดับความสำคัญ “มากที่สุด” โดยด้านความรู้ที่ได้รบั /การนำความรู้ไปใช้
อยูใ่ นระดับความสำคญั “มาก” ตามลำดับ

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19

๒.๒ ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ดา้ นวิทยากรโดยภาพรวมและรายขอ้ ปรากฏดังตาราง ท่ี ๖

ตารางที่ ๖ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การ
นำไปใช้ ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ด้านวิทยากร จำแนกโดยภาพรวมและรายขอ้

ด้านวิทยากร xˉ S.D. ระดบั ความสำคญั

๑.วทิ ยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา ๔.๖๗ .๔๗๖ มากท่สี ุด

๒.วทิ ยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสตู รกำหนด ๔.๓๕ .๔๘๓ มาก

๓.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากร ๔.๔๘ .๕๐๕ มาก

๔.เน้อื หาวชิ าทจี่ ดั การเรียนรตู้ รงตามความต้องการของทา่ นเพยี งใด ๔.๖๐ .๔๙๔ มากทีส่ ดุ

ค่าเฉล่ยี ๔.๕๒ .๒๘๘ มากทส่ี ดุ

จากตารางท่ี ๖ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านวิทยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อ ๑.
วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา และข้อ ๔.เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน
เพียงใด อยู่ในระดับความสำคัญ “มากที่สุด” โดยข้อ ๓.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร
และขอ้ ๒.วทิ ยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสตู รกำหนดอยู่ในระดบั ความสำคญั “มาก” ตามลำดบั

๒.๓ ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านสถานท/ี่ สือ่ อปุ กรณ์/ระยะเวลาโดยภาพรวมและรายข้อปรากฏดังตาราง ที่ ๗

ตารางท่ี ๗ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การ
นำไปใช้ ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ดา้ นสถานท/ี่ สอ่ื อุปกรณ/์ ระยะเวลา จำแนกโดยภาพรวมและรายข้อ

ดา้ นสถานท่/ี สื่ออปุ กรณ์/ระยะเวลา xˉ S.D. ระดบั ความสำคญั

๑.สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด ๔.๔๖ .๕๔๔ มาก

๒.จำนวนสอื่ /อุปกรณ์การฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด ๔.๖๐ .๕๗๔ มากท่ีสุด

๓.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสมเพยี งใด ๔.๕๘ .๔๙๘ มากทสี่ ุด

คา่ เฉลยี่ ๔.๕๔ .๒๘๗ มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี ๗ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ดา้ นสถานที่/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” และเม่ือพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่าข้อ ๒.จำนวนส่ือ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด และข้อ ๓.ระยะเวลาใน
การเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด อยู่ในระดับความสำคัญ “มากที่สุด” โดยข้อ ๑.สถานท่ีเรียนเหมาะสม
เพียงใดอยูใ่ นระดับความสำคญั “มาก” ตามลำดับ

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

๒.๔ ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านความรู้ทีไ่ ด้รบั /การนำความรูไ้ ปใช้โดยภาพรวมและรายข้อปรากฏดงั ตาราง ท่ี ๘

ตารางท่ี ๘ ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การ
นำไปใช้ ของผเู้ ข้าร่วมโครงการ ด้านความรู้ที่ไดร้ ับ/การนำความรูไ้ ปใช้ จำแนกโดยภาพรวมและรายข้อ

ด้านความรู้ท่ไี ดร้ บั /การนำความร้ไู ปใช้ xˉ S.D. ระดับความสำคัญ

๑.ท่านไดร้ บั ความร/ู้ ทักษะจากการเข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด ๔.๕๔ .๕๔๔ มากทีส่ ุด
๒.ทา่ นสามารถนำความร/ู้ ทกั ษะท่ีได้ ไปใช้ได้มากเพียงใด ๔.๔๙ .๕๐๔ มาก
๓.ทา่ นได้รับโอกาสในการเรียนร้เู ท่าเทียมกนั เพยี งใด ๔.๔๐ .๕๗๔ มาก
๔.ความรู้ที่ได้รบั คุ้มคา่ กับเวลา และความต้ังใจเพยี งใด ๔.๔๐ .๖๔๔ มาก
๕.ทา่ นพงึ พอใจต่อหลักสูตรน้เี พียงใด ๔.๕๔ .๕๐๔
มากทีส่ ดุ

คา่ เฉล่ยี ๔.๔๖ .๒๔๑ มาก

จากตารางท่ี ๘ พบว่าระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ด้านความรู้ที่ได้รับ/การนำความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสำคัญ “มาก” และเม่ือพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่าข้อ ๑.ท่านได้รับความรู้/ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด และข้อ ๕.ท่าน
พึงพอใจต่อหลกั สูตรน้เี พียงใด อย่ใู นระดับความสำคัญ “มากที่สุด”โดยขอ้ ๒.ท่านสามารถนำความรู้/ทกั ษะที่
ได้ ไปใช้ได้มากเพียงใดข้อ ๓.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด และข้อ ๔.ความรู้ท่ีได้รับ
คมุ้ ค่ากบั เวลา อยใู่ นระดับความสำคญั “มาก”ตามลำดบั

ตอนที่ ๓ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกี่ยวกบั ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ
- อยากให้มีการจัดโครงการส่งเสริมด้านสุขภาพแบบน้ีอีก เพราะเป็นเร่ืองที่มีประโยชน์

สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ และดแู ลคนในครอบครวั ได้
- การทำเจลและหน้ากากอนามยั ใช้เอง สามารถลดรายจา่ ยในครอบครัวลงได้
- พบว่าความความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กาก

อนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19 ซงึ่ โดยดำเนินการ ในระหว่าง 12-14 กรกฎาคม 2564 ณ
กศน. อำเภอเจาะไอร้อง มกี ลมุ่ เปา้ หมายเปน็ นักศึกษา กศน.อำเภอเจาะไอร้อง จำนวน 30 คน จดั เป็นรุ่น
ทงั้ หมด 3 รนุ่ รนุ่ ละ 10 คน ของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเจาะไอร้อง
จงั หวัดนราธิวาสโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก และเมื่อพจิ ารณารายดา้ นพบว่ามคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับ
มาก โดยเรียงลำดบั ค่าเฉลยี่ จากมากไปหาน้อย คือ ดา้ นความพงึ พอใจต่อการให้บริการผู้เรียนมคี วามพึงพอใจ
ต่อการใหบ้ ริการ เจ้าหน้าท่ีให้บรกิ ารด้วยความเตม็ ใจ รวดเรว็ ช้แี จงข้อมูลรายละเอียดชัดเจนและมีการติดต่อ
ประสานงาน ด้านหลกั สตู รมเี นื้อหาตรงตามความต้องการของผเู้ รียน ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ส่งเสรมิ
ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจหรือมีทักษะตามจุดประสงค์ของหลักสูตร การจดั กิจกรรมเป็นไปตามลำดับ
ขั้นตอนเรยี งลำดับจากง่ายไปหายาก ด้านวิทยากรมีความรู้และชำนาญในเร่ืองทีส่ อน ถา่ ยทอดความรูไ้ ด้
ชัดเจนและเข้าใจงา่ ย ด้านสอื่ และวสั ดอุ ุปกรณส์ อดคล้องกับขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรมและดา้ นผลทไ่ี ด้รบั จาก
การเรียนรหู้ รอื การเขา้ รว่ มกิจกรรม ผู้เรยี นได้รับความร้แู ละทกั ษะดา้ นการประกอบอาชพี มีความเชื่อม่นั ต่อ
ความสามารถในสถานศึกษาของกศน.ในการจดั กจิ กรรมตามลำดบั

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

บทที่ ๕
สรุปผลการประเมิน อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การประเมินโครงการน้ีเป็นการประเมินโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัย
ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 ข้ึน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเจาะ
ไอร้อง ในบทน้ีจะสรุปถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขตการประเมิน ประชากร เคร่ืองมือในการประเมิน วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปผลการประเมิน การอภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะตามลำดับต่อไปน้ี

วัตถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-

19)
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และร่วมกันดูแลคนใน

ชุมชนได้อยา่ งเหมาะสม

สมมตฐิ านของการประเมนิ
ความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกันโรคไวรัส

โคโรน่าโควิด-19

ขอบเขตการประเมนิ
การประเมินโครงการครั้งน้ีเป็นการประเมินมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั การป้องกันตนเองจากโรค
ไวรัสโควิด (COVID-19) สามารถนำเจลและหน้ากากอนามัย ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยดำเนินการ
ประเมินระหวา่ งเดอื นกันยายน ๒๕๖๔

นักศกึ ษาทีใ่ ช้ในการประเมิน
กลมุ่ เป้าหมายท่เี ข้าร่วมโครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโร

นา่ โควิด-19 จำนวนทง้ั ส้ิน 30 คน

เครอื่ งมือท่ีใช้ในการประเมนิ

เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ เป็นแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19 โดยแบ่งเป็น ๓

ตอน มีรายละเอียดดงั นี้

ตอนท่ี ๑ เป็นแบบประเมินเกี่ยวกับข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี

ลกั ษณะเปน็ แบบตัวเลือกที่กำหนดคำตอบไว้ให้ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ

ตอนท่ี ๒ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของ

ผ้เู ข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ มี ๓ ดา้ น ดงั นี้

๑. ดา้ นวทิ ยากร จำนวน ๔ ขอ้

๒. ด้านสถานท/ี่ สือ่ อุปกรณ์/ระยะเวลา จำนวน ๓ ข้อ

๓. ดา้ นความรูท้ ไ่ี ดร้ บั /การนำความรไู้ ปใช้ จำนวน ๕ ขอ้

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

มีข้อคำถามจำนวน ๑๒ ข้อ ลักษณะแบบประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
มี ๕ ระดับ โดยกำหนดค่าของคะแนน ๕ , ๔ , ๓ , ๒ และ ๑ โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการพิจารณาข้อความใน
แต่ละข้อที่เก่ียวข้องกับระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ของผู้เรยี นต่อการเรียนรวู้ ่าอยใู่ น
ระดับใด ซ่ึงใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ในการแปลความหมาย โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังน้ี
(รศ.ดร.บญุ ชม ศรีสะอาด)

๕ หมายถงึ มีความพึงพอใจ อย่ใู นระดบั มากที่สดุ
๔ หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับมาก
๓ หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อยู่ในระดบั ปานกลาง
๒ หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับอยใู่ นระดบั น้อย
๑ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยใู่ นระดบั น้อยทส่ี ุด
ตอนที่ ๓ เป็นแบบประเมินเก่ียวกับข้อเสนอแนะอื่นๆ ของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ใน
โครงการ

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ผู้ประเมนิ ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยมขี ้นั ตอนดังนี้
๑. ให้วทิ ยากรดำเนินการบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบตั ิ ตามหลกั สตู รของโครงการ
๒. เม่ือดำเนินโครงการครบตามหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินให้ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบประเมินความ

พึงพอใจของผเู้ รียนตอ่ การเรยี นรู้โครงการ
๓. เมอ่ื ผู้ประเมนิ ไดร้ ับแบบประเมินคืน ผูป้ ระเมินดำเนินการมาตรวจสอบความสมบูรณ์ ถกู ต้อง ของ

แบบประเมิน แลว้ ดำเนนิ การวิเคราะหข์ อ้ มูลตามขน้ั ตอนการประเมินโครงการตอ่ ไป

การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การประเมินในครง้ั นี้ ผู้ประเมินได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป

(SPSS.) เพื่อประมวลผลและหาค่าทางสถติ ิ โดยดำเนินการตามขนั้ ตอนดังนี้
๑. ตรวจสอบความสมบูรณข์ องแบบประเมนิ
๒. วิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ข้อมูลสถานภาพทั่วไปของผเู้ ข้าร่วมโครงการ โดยการหาคา่ รอ้ ยละ
๓. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการ โดยการหาค่าเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) เพื่อทราบระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ของผู้เข้าร่วมโครงการ เม่ือหาค่า
ได้แล้วนำค่าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ผลการประเมิน โดยวิธีการแปลผลตามเกณฑ์สัมบูรณ์
(Absolute Criteria) โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินของตามแบบของ รศ.ดร.บญุ ชม ศรสี ะอาดแปลผลคะแนนเป็น
ช่วงๆ ซ่งึ มีความหมาย ดังนี้

ค่าเฉลย่ี ๔.๕๑ - ๕.๐๐ แปลความว่า ผเู้ ข้ารว่ มโครงการมีความพึงพอใจมากทส่ี ดุ
ค่าเฉลย่ี ๓.๕๑ - ๔.๕๐ แปลความวา่ ผ้เู ข้ารว่ มโครงการมีความพึงพอใจมาก
คา่ เฉลี่ย ๒.๕๑ - ๓.๕๐ แปลความว่า ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความพึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลย่ี ๑.๕๑ - ๒.๕๐ แปลความวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจน้อย
คา่ เฉลยี่ ๑.๐๐ - ๑.๕๐ แปลความว่า ผเู้ ข้ารว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจน้อยท่สี ดุ

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

สรุปผลการประเมิน
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามวัตถุประสงค์เกีย่ วกับผ้เู ขา้ รว่ มโครงการตอ่ การเรยี นรโู้ ครงการ
๑. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม

โครงการ ประกอบด้วยด้านวิทยากร ด้านสถานท่ี/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา และด้านความรู้ที่ได้รับ/การนำ
ความรูไ้ ปใช้ พบวา่

- ระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้ารว่ มโครงการ โดยภาพรวม
อยู่ในระดับความสำคัญ “มากที่สุด” เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านสถานที่/ส่ืออุปกรณ์/
ระยะเวลา และด้านวิทยากรอยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” โดยด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนำ
ความรไู้ ปใช้ อยูใ่ นระดบั ความสำคัญ “มาก” ตามลำดบั
๒. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม
โครงการ ด้านวทิ ยากรโดยภาพรวมและรายขอ้ พบว่า

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ดา้ นวทิ ยากร
โดยภาพรวมอยใู่ นระดับความสำคญั “มากทสี่ ุด” และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่าข้อ ๑.วิทยากร
มาให้ความรู้ตรงตามเวลา และข้อ ๔.เนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน
เพียงใด อยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” โดยข้อ ๓.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของ
วิทยากรและข้อ๒.วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกำหนดอยู่ในระดับความสำคัญ “มาก”
ตามลำดับ
๓. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม
โครงการ ดา้ นสถานท/ี่ ส่อื อปุ กรณ์/ระยะเวลา โดยภาพรวมรายข้อ พบว่า

- ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการ ด้านสถานท่ี/
ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด” และเม่ือพิจารณาเป็นราย
ข้อ พบว่าข้อ ๒.จำนวนส่ือ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด และข้อ ๓.ระยะเวลา
ในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสมเพียงใด อยู่ในระดับความสำคญั “มากที่สุด” โดยข้อ ๑.สถานทเ่ี รยี น
เหมาะสมเพยี งใดอย่ใู นระดับความสำคญั “มาก” ตามลำดบั
๔. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผู้เข้าร่วม
โครงการ ดา้ นความรทู้ ่ีได้รบั /การนำความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมและรายขอ้ พบวา่

- ระดับความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ด้านความร้ทู ี่
ไดร้ ับ/การนำความรู้ไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ความสำคัญ “มาก” และเม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อ
พบวา่ ข้อ ๑.ท่านได้รับความรู้/ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด และข้อ ๕.ท่าน
พึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด อยู่ในระดับความสำคัญ “มากท่ีสุด”โดยข้อ ๒.ท่านสามารถนำ
ความร/ู้ ทกั ษะท่ีได้ ไปใช้ได้มากเพยี งใดขอ้ ๓.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทยี มกนั เพียงใด และ
ขอ้ ๔.ความรทู้ ่ไี ดร้ บั คุ้มค่ากับเวลา อยใู่ นระดับความสำคัญ “มาก”ตามลำดับ

การอภิปรายผล
การอภิปรายผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ประเมินอภิปรายผลตาม

วัตถุประสงค์ ดังน้ี
ข้อ ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า

(COVID-19) ได้ถูกต้อง

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

พบว่ากลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการมีมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการป้องกันตนเองจากโรค
ไวรัสโควิด (COVID-19) อยู่ในระดับความสำคัญ“มากท่ีสุด” ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะวิทยากรมีเทคนิคในการ
ถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย การใช้ส่ือต่างๆ ตามหลักสูตรที่กำหนด ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ
กิจจา เวสประชุม ที่ได้กล่าวถึงขอบข่ายของการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย “วิทยากร” ซึ่งเป็น
บุคคลสำคัญทจี่ ะถา่ ยทอดวิชาความรู้ มีความชดั เจนในเน้อื หาวิชามปี ระสบการณ์ทางการสอนมีความสามารถ
ในการปรับเน้ือหาวิชาตามสภาพของผู้เรียน และ “ส่ือการเรียนการสอน” น้ัน มีความสำคัญเป็นอย่างมาก
เพราะนอกจากจะเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียน เรียนได้ดี
และรวดเรว็ ขึน้ (หน้า ๑๖)

ข้อ ๒. เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และร่วมกันดูแลคน
ในชมุ ชนไดอ้ ย่างเหมาะสม

พบว่ากลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
อยู่ในระดับความสำคัญ “มาก” ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของ
ผ้เู ข้าร่วมโครงการ อันเกิดจากการวางแผนการการดำเนินของสถานศึกษาที่เร่ิมจากสำรวจ/จดั เวทีประชาคม
เพ่ือทราบจำนวนและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายสอดคล้องกับคู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
ที่ได้ระบุในขั้นตอนการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน๑.การสำรวจสภาพปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาสามารถดำเนินการได้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การจัดเวที
ประชาคม การใช้ข้อมูลสารสนเทศในแผนจุลภาค (Micro Planning) แผนชุมชน ข้อมูล จปฐ. นโยบาย และ
ข้อมูลท่ีเก่ยี วข้อง และนำข้อมูลมาวิเคราะห์พร้อมจัดลำดับความตอ้ งการและความจำเป็น (หน้าท่ี ๑๒) อีกทั้ง
กล่มุ เป้าหมายทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการเป็นประชาชนท่วั ไปในพื้นที่อำเภอเจาะไอรอ้ ง ทำใหม้ ีแรงจูงใจต่อการเรยี นรู้
โครงการดังกล่าว ซึ่งสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
สอดคล้องกับคู่มือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ที่ได้ระบุในตอนที่ ๒ การจัดกิจกรรมฝึกอบรม
ประชาชน เป็นกระบวนการที่จะทำให้ผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม มคี วามรู้ มที ักษะ และเจตคติ ในเร่ืองใดเรอื่ งหน่ึง
(หนา้ ท่ี ๑๒)

ขอ้ คดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผเู้ ข้าร่วมการอบรม
๑. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัย
ป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19
๒. ควรมกี ารดำเนินโครงการอย่างต่อเนอ่ื งเพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติในชวี ิตประจำวนั

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19

ภาคผนวก

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

ภาคผนวก ก

โครงการอบรมใหค้ วามรกู้ ารทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรสั
โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

ภาคผนวก ข

ใบลงทะเบียนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการอบรมให้ความรกู้ ารทำเจล
และหนา้ กากอนามัยปอ้ งกนั โรคไวรสั โคโรน่าโควิด-19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควิด-19

ภาคผนวก ค

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผูเ้ รียนตอ่ การเรียนรู้
โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกันโรคไวรัส
โคโรนา่ โควิด-19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู รียนตอ่ การเรียนรู้

โครงการอบรมให้ความร้กู ารทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

วันที่ 12-14 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.256๔
สถานทจ่ี ดั ณ อาคารอเนกประสงค์ กศน.อำเภอเจาะไอร้อง จังหวดั นราธิวาส

กศน.ตำบลบูกติ
กศน.ตำบลมะรือโบออก

*********************************************
คำอธบิ าย แบบประเมนิ ฉบับนี้มที ั้งหมด 3 ตอน ขอให้ผู้ตอบแบบประเมนิ ตอบให้ครบทัง้ 3 ตอน เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ โครงการ/
กิจกรรม

เป็นไปตามวตั ถุประสงค์และเพือ่ เปน็ ประโยชนใ์ นการนำไปใช้ตอ่ ไป

ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไป

คำชแ้ี จงโปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง  หนา้ ขอ้ ความ

1. เพศ  หญิง  ชาย

2. อายุ ต่ำกวา่ 15 ปี  15-39 ปี  40-59 ปี 60 ปีข้ึนไป

3. การศกึ ษา
 ตำ่ กว่าประถมศกึ ษา  ประถมศกึ ษา  มัธยมศกึ ษาตอนต้น  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  อืน่ ๆ......................

4. อาชีพ  เกษตรกร  รบั จ้าง  ธุรกิจสว่ นตวั อื่นๆ (ระบ)ุ .........................................................

ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจ / ความรู้ความเข้าใจ / การนำไปใช้ ต่อการเข้ารว่ มโครงการ
คำชแ้ี จงโปรดทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งท่ีตรงกับความพึงพอใจของท่านเพียงระดับเดยี ว

ระดบั ความพึงพอใจ

ท่ี ประเดน็ การถาม 543 2 1

ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ ง ต้องปรับปรงุ
ปรับปรงุ เร่งด่วน

ดา้ นวิทยากร

1 วทิ ยากรมาใหค้ วามรูต้ รงตามเวลา

2 วทิ ยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลักสูตรกำหนด

3 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากร

4 เน้ือหาวิชาทีจ่ ัดการเรยี นรตู้ รงตามความตอ้ งการของทา่ นเพยี งใด

ดา้ นสถานท่ี/สื่ออปุ กรณ/์ ระยะเวลา

5 สถานที่เรยี นเหมาะสมเพยี งใด

6 จำนวนสื่อ/อปุ กรณ์การฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพยี งใด

7 ระยะเวลาในการเรยี น/ กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด

ดา้ นความร้ทู ่ีได้รับ/การนำความรไู้ ปใช้

8 ท่านได้รบั ความรู/้ ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมมากเพยี งใด

9 ท่านสามารถนำความรู/้ ทกั ษะทไ่ี ด้ ไปใชไ้ ด้มากเพียงใด

10 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทียมกันเพยี งใด

11 ความร้ทู ไ่ี ด้รับคุ้มคา่ กับเวลา และความตง้ั ใจเพียงใด

12 ท่านพึงพอใจต่อหลกั สูตรน้เี พียงใด

ตอนท่ี 3ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………....................……………………………………………………

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

ภาคผนวก ง

ภาพกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามยั
ปอ้ งกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

ภาพกจิ กรรม

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหน้ากากอนามัยป้องกันโรคไวรัสโคโรน่าโควิด-19

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ โควดิ -19

ภาพกจิ กรรม

โครงการอบรมใหค้ วามรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามยั ป้องกนั โรคไวรสั โคโรนา่ โควดิ -19

คณะผ้จู ดั ทำ

ท่ีปรึกษา หะยนี ุ ประธานกรรมการสถานศึกษา
สาหลัง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอร้อง
นายมลุ รยี า
นายคมกฤช ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเจาะไอร้อง
ครูผู้ช่วย
สนับสนุนขอ้ มลู สาหลัง ครผู ชู้ ว่ ย
สามะ ครูผชู้ ่วย
นายคมกฤช แซะเซ็ง ครูผู้ช่วย
นายแวดาโอะ จารู ครูผชู้ ว่ ย
นายซอบือรี แวสอเฮาะ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
นางสาวรอฮานา หะยวี าจิ ครอู าสาสมัครประจำสถาบนั ศึกษาปอเนาะ
นายอนสั ลาเตะบอื ริง ครอู าสาสมัครประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ
นางสาวนภิสา อาแวกาจิ ครอู าสาสมัครประจำสถาบนั ศึกษาปอเนาะ
นายมะซายูตี สอีด ครู กศน.ตำบล
นางสาวนาอีหม๊ะ เอีย่ มสะอาด บรรณารกั ษ์
นายสุรศักดิ์ เจ๊ะเมาะ
นางสาวนิรดา ซายอ ครผู ชู้ ว่ ย
นางสาวมาดฮี ๊ะ
นางสาวรตั นาวาตี

เรียบเรยี ง/ทาน/ตน้ ฉบบั /จัดพิมพ์

นางสาวซาณียา ยะโกะ๊

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยป้องกันโรคไวรสั โคโรน่าโควดิ -19

บรรณานุกรม

https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/
https://www.facebook.com/informationcovid19
รศ.ดร.บุญชม ศรีสะอาด การแปลผลเมือ่ ใชเ้ ครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราสว่ นประมาณค่า
เข้าถึงไดจ้ ากhttps : //www.watpon.com/boonchom/05.doc
(วนั ทสี่ บื คน้ ข้อมูล:๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)
คมู่ ือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจดั กจิ กรรมฝึกอบรม
ประชาชนของสถานศึกษา ในสังกัดสำนกั งาน กศน.
เข้าถึงไดจ้ าก:http://203.146.15.79/ROS/index.php/2015-03-31-08-45-49/2015-
04-02-02-54-10/2015-04-02-16-46-42 (วนั ท่ีสบื ค้นข้อมลู : ๒๓ มกราคม ๒๕๖๐)

โครงการอบรมให้ความรู้การทำเจลและหนา้ กากอนามัยปอ้ งกันโรคไวรัสโคโรนา่ โควิด-19


Click to View FlipBook Version