The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patta Pool, 2021-07-26 09:18:58

รายงานชี้แจง

รายงานชี้แจง



คำนำ

เอกสารฉบบั น้ีจดั ทำขึน้ ประกอบการนำเสนอเพ่ือคัดเลอื กนวตั กรรมการปฏิบัตทิ ดี่ ี (Best Practice)
ภายใตโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา เรื่อง
“การนิเทศภายในโดยใช THUNG Model ในการพัฒนาการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active learning)” ได
นำเสนอตามองคประกอบ 3 ดาน 18 ตัวชี้วัด ไดแก องคประกอบที่ 1 ดานความสำคัญของนวัตกรรม
3 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 2 ดานกระบวนการพัฒนานวัตกรรม 6 ตัวชี้วัด องคประกอบที่ 3 ดานผลที่เกดิ ขึน้
จากการดำเนนิ งานตามนวัตกรรม 9 ตวั ชว้ี ัด

หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับนี้จะอำนวยความสะดวกแกคณะกรรมการคัดเลือกไดเปนอยางดี
และขอขอบพระคณุ ผมู ีสว นเก่ียวของทกุ ทา นท่ที ำใหเอกสารรายงานฉบบั นสี้ ำเรจ็ ลงไดด ว ยความสมบูรณ

คณะนเิ ทศ
โรงเรยี นกาฬสนิ ธพุ ิทยาสยั

สารบญั ข

เรอื่ ง หนา
คำนำ ก
สารบญั ข
องคป ระกอบที่ 1 ดา นความสำคัญของนวตั กรรม 2
องคป ระกอบท่ี 2 ดา นกระบวนการพฒั นานวตั กรรม 4
องคป ระกอบที่ 3 ดานผลท่ีเกิดขน้ึ จากการดำเนินงานตามนวัตกรรม 10

1

เกณฑก ารคดั เลอื กนวตั กรรมทางการจดั การเรียนรู
ภายใตโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาการศึกษา

สวนที่ 1 การประเมนิ นวัตกรรมของสถานศึกษานำรอง
ประกอบดว ย องคป ระกอบการประเมนิ จำนวน 3 ดา น 18 ตวั ช้ีวัด
องคป ระกอบที่ 1 ดานความสำคญั ของนวตั กรรม จำนวน 3 ตัวชี้วดั ดังน้ี
ตวั ชวี้ ดั ที่ 1 ความเปนมาและสภาพของปญ หา
ตวั ชีว้ ัดที่ 2 แนวทางการแกไขปญ หาและหรือการพฒั นา
ตัวชี้วัดที่ 3 ประโยชนและความสำคญั
องคป ระกอบท่ี 2 ดา นกระบวนการพฒั นานวัตกรรม จำนวน 6 ตัวช้ีวดั ดังนี้
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 วัตถปุ ระสงคแ ละเปา หมายการพฒั นา
ตวั ช้วี ัดที่ 2 หลกั การ ทฤษฎี แนวคดิ ในการพฒั นา
ตวั ชวี้ ัดที่ 3 การออกแบบและแนวทางการพฒั นา
ตัวชี้วดั ที่ 4 การมีสวนรวมในการพฒั นา
ตัวช้วี ดั ท่ี 5 การนำไปใช
ตวั ชว้ี ัดท่ี 6 การประเมินและการปรบั ปรุง
องคป ระกอบท่ี 3 ดา นผลท่เี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ งานตามนวตั กรรม จำนวน 9 ตัวชว้ี ดั ดงั นี้
3.1 ผลที่เกดิ ข้ึนกบั สถานศึกษาและผูบ ริหาร
ตัวช้ีวดั ท่ี 1 มขี อ มูลสารสนเทศของสถานศึกษา
ตัวชวี้ ัดท่ี 2 มีการดำเนินงาน/การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา/การจดั การเรียนร/ู
การนเิ ทศติดตามและประเมินผล อยา งเปนระบบ
ตัวช้วี ดั ท่ี 3 การมเี ครอื ขา ยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ตวั ช้ีวัดท่ี 4 การยอมรบั ทมี่ ตี อสถานศกึ ษา
3.2 ผลที่เกิดขึ้นกับครผู สู อน
ตวั ช้ีวัดที่ 1 การออกแบบการจัดการเรียนรู
ตวั ชีว้ ดั ที่ 2 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู
ตัวช้วี ัดที่ 3 การพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู
ตัวช้ีวัดท่ี 4 การวดั และการประเมินผล
3.3 ผลทีเ่ กดิ ขน้ึ กับผเู รียน
ตัวชี้วัดที่ 1 ผูเรยี นมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
แตละวิชาผานเกณฑเ พ่มิ ขนึ้

2

รายละเอยี ดตามเกณฑการคัดเลอื กนวัตกรรมทางการจดั การเรยี นรู
ภายใตโ ครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาการศกึ ษา
รูปแบบการนเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model ในการพฒั นาการจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active Learning)

สว นที่ 1 การประเมนิ นวัตกรรมของสถานศึกษานำรอ ง

องคประกอบที่ 1 ดา นความสำคญั ของนวัตกรรม

จำนวน 3 ตัวชี้วัด ดงั น้ี

ท่ี ตัวชว้ี ัด รายละเอียด/หลกั ฐาน หมายเหตุ
1. ความเปนมาและสภาพของ
- ผรู ายงานไดน ำเสนอสวนของความเปน มาและ แบบรายงานการ
ปญ หา
สภาพของปญ หา ดงั ในแบบรายงานการสรา ง สรางนวตั กรรม
2. แนวทางการแกป ญ หาและหรือ
แนวทางการพฒั นา นวตั กรรม หนา 1-2 หมายถงึ รายงาน

- แนวทางการแกป ญหาและหรอื แนวทางการ การสราง

พัฒนา ไดศ ึกษาปญ หาเพื่อหาวิธีการแกปญ หาให นวตั กรรม “การ

สอดคลอ งกบั ปญหาท่พี บ โดยสรางนวตั กรรม นเิ ทศภายในโดย

รปู แบบการนเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model ใช THUNG

ในการพฒั นาการจัดการเรียนรูเ ชงิ รกุ (Active Model ในการ

Learning) เปนระบบปฏบิ ตั ิการเพอ่ื การ พัฒนาการจัดการ

พัฒนาการจัดการเรียนรเู ชิงรกุ (Active เรียนรเู ชงิ รุก

Learning) และยกระดับคณุ ภาพผลสมั ฤทธ์ิ (Active

ทางการเรียนของนักเรยี นใหมีคุณภาพ learning)”

ประกอบดวย 5 องคป ระกอบ ไดแก หลักการ

(Principle) วตั ถุประสงค (Aim) เน้ือหา

(Content) กระบวนการ (Process) การวัดผล

และประเมินผล (Measurement and

Evaluation) และเง่ือนไขความสำเร็จ

(Condition for Success) (กระบวนการนเิ ทศ

ภายใน THUNG Model ไดแ ก สรา งทีมงาน (T

: Team Building) ประสานแนวรว ม (H :

Harmony) รวมความเขา ใจ (U :

Understanding) มนั่ ในบำรงุ (N : Nourishing)

มงุ ผลสัมฤทธิ์ (G : Good Achievement))

3

ที่ ตวั ชว้ี ดั รายละเอยี ด/หลักฐาน หมายเหตุ
3. ประโยชนแ ละความสำคญั รวมกับการพฒั นางานอยางเปน ระบบตามวงจร
เดมมงิ่ ดังปรากฏในแบบรายงานการสรา ง
นวตั กรรม หนา 3-4 รวมทั้งการศกึ ษาเอกสาร
หลกั การ ทฤษฎี หนา 1-2 และรายงานวจิ ัย บทที่
2 จากน้นั สรปุ เปน กรอบการดำเนินงานดังแสดง
หนา 18

- ประโยชนแ ละความสำคัญของการดำเนินการ
สรางและพฒั นานวตั กรรมการนเิ ทศภายในโดยใช
THUNG Model ในการพฒั นาการจดั การเรยี นรู
เชิงรุก (Active Learning) คือ
1.ไดรูปแบบการนเิ ทศภายในโดยใช THUNG
Model ในการพฒั นาการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ
(Active Learning) เปน คูมอื ในการนิเทศภายใน
ของโรงเรียน
2. สามารถยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและ
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ัน
พนื้ ฐาน (O-NET) ในการพฒั นาการจัดการเรียนรู
เชงิ รกุ (Active Learning) ตามเปา หมายที่
โรงเรยี นกำหนด
3. โรงเรียนมกี ระบวนการนเิ ทศ กำกับติดตาม
ตรวจสอบและประเมนิ ผลการพัฒนาการจัดการ
เรยี นรเู ชิงรุก (Active Learning) ทีเ่ ปนระบบ ซงึ่
สงผลตอ การดำเนนิ งานของโรงเรียน 3 ดาน ดงั น
(ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวตั กรรม หนา
19-27)

4

องคประกอบท่ี 2 ดา นกระบวนการพฒั นานวตั กรรม

จำนวน 6 ตวั ช้ีวัด ดังน้ี

ที่ ตัวชีว้ ัด รายละเอยี ด/หลกั ฐาน หมายเหตุ
1. วัตถปุ ระสงคแ ละเปา หมายการ
- ผรู ายงานไดร ะบวุ ัตถุประสงคของการ
พฒั นา ดำเนินงานครง้ั ไวดงั น้ี
1. เพอ่ื ศึกษาองคป ระกอบการนเิ ทศภายในโดย
2. หลกั การ ทฤษฎี แนวทางการ ใช THUNG Model ในการพฒั นาการจัดการ
พฒั นา เรียนรูเชิงรกุ (Active learning)
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช
3. การออกแบบและแนวทางการ THUNG Model ในการพัฒนาการจดั การเรียนรู
พฒั นา เชงิ รุก (Active learning)
3. เพ่อื ศกึ ษาผลการใชร ปู แบบการนเิ ทศภายใน
โดยใช THUNG Model ในการพัฒนาการจดั การ
เรียนรเู ชงิ รุก (Active learning) (ปรากฏในแบบ
รายงานการสรา งนวตั กรรม หนา 2-3 )

- ผูรายงานไดศกึ ษา หลกั การ ทฤษฎี แนว
ทางการพัฒนา รวมท้งั งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ ง ดงั
ปรากฏในแบบรายงานการสรางนวัตกรรม หนา
3-4 และรายงานวิจัย บทท่ี 2

การวิจยั และพฒั นา (Research and
Development : R&D) โดยมีข้ันตอนและ
วิธีดำเนินการ ดังน้ี
ระยะที่ 1 การศึกษาองคป ระกอบของรปู แบบ
การนเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model ในการ
พฒั นาการจัดการเรียนรเู ชงิ รกุ (Active
Learning) โดยมขี ้นั ตอน ดงั น้ี

ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาองคป ระกอบจากเอกสาร
แนวคดิ ทฤษฎี งานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวชอ ง การนิเทศ
ภายในและการสรา งชุมชนแหง การเรยี นรู การ
พฒั นาบทเรียนรว มกนั

5

ที่ ตวั ชี้วดั รายละเอียด/หลักฐาน หมายเหตุ

ข้นั ตอนท่ี 2 ผทู รงคณุ วฒุ ิ ยืนยัน และ

ประเมินความเหมาะสมขององคป ระกอบรูปแบบ

การนเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model ในการ

พฒั นาการจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active

Learning)

ระยะที่ 2 การพฒั นารปู แบบการนเิ ทศภายใน

โดยใช THUNG Model ในการพัฒนาการจัดการ

เรียนรเู ชงิ รุก (Active Learning) โดยมขี ัน้ ตอน

คือ

ขนั้ ตอนที่ 1 รางรูปแบบ และคูมือการใช

รปู แบบการนเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model

ในการพฒั นาการจดั การเรียนรูเ ชิงรุก (Active

Learning) ในโรงเรยี นกาฬสินธุพทิ ยาสยั จาก

ขอ มลู ในระยะท่ี 1

ข้นั ตอนที่ 2 ผทู รงคณุ วฒุ ิ ตรวจสอบและ

ยนื ยนั รูปแบบการนเิ ทศภายในโดย THUNG

Model ในการพฒั นาการจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ

(Active Learning) โดยการสมั มนาองิ

ผเู ช่ยี วชาญ (Connoisseurship) ปรบั ปรงุ

รปู แบบ และคมู ือการใชรปู แบบการนเิ ทศภายใน

โดยใช THUNG Model ในการพัฒนาการจัดการ

เรียนรเู ชงิ รกุ (Active Learning)

ระยะที่ 3 การใชรูปแบบการนิเทศภายในโดยใช

THUNG Model ในการพัฒนาการจดั การเรยี นรู

เชงิ รุก (Active Learning) จากผลการดำเนินงาน

ในระยะท่ี 2 ไดร ปู แบบ และคมู อื การใชรปู แบบ

การนิเทศภายในโดยใช THUNG Model ในการ

พฒั นาการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ

(Active Learning) เปนรปู เลม และนำไปใชก บั

ครกู ลมุ เปา หมายตามความสมัครใจ ครโู รงเรียน

กาฬสนิ ธพุ ิทยาสัย 4 กลมุ สารการเรียนรทู กุ คน

6

ท่ี ตวั ชว้ี ดั รายละเอยี ด/หลักฐาน หมายเหตุ
4. การมสี วนรว มในการพฒั นา (กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย กลุมสาระการ
เรยี นรคู ณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรียนรู
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และกลมุ สาระการ
เรยี นรภู าษาตา งประเทศ) และมีการประเมิน
ความพึงพอใจของการใชร ปู แบบ ซึ่งผลท่เี กิดขึน้
ครมู ีการจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active Learning)
และนกั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน
(O-NET) ทสี่ งู ข้ึน
(ปรากฏในแบบรายงานการสรางนวตั กรรม หนา
17-18 และภาคผนวก ก หนา 32)

การสรา งและพฒั นานวัตกรรมรปู แบบการนเิ ทศ
ภายในโดยใช THUNG Model ในการพฒั นาการ
จดั การเรยี นรเู ชิงรุก (Active Learning) ไดย ึด
หลักการมสี ว นรว มในการพฒั นาเปน หลกั ในการ
สนบั สนุนใหป ระสบความสำเรจ็ โดย
1. ผบู รหิ ารโรงเรยี นใหก ารสง เสรมิ สนบั สนนุ ครูใน
การจดั การเรยี นรูเชงิ รุก (Active Learning)
2. ผรู ับการนเิ ทศ เขาใจกระบวนการจัดการ
เรียนรูเชงิ รุก (Active Learning) และแกป ญหา
ในชนั้ เรยี น ตามบรบิ ท สภาพและความแตกตา ง
ของแตละบคุ คล สามารถพัฒนาศกั ยภาพของ
ผูเรยี น และสงผลใหผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
สูงขึ้น
3. ผูนเิ ทศ นเิ ทศติดตามอยางตอ เนอื่ งโดยใชการ
นเิ ทศรปู แบบ THUNG Model ชว ยใหเกิดการ
พัฒนาท่ีย่ังยืน
4. ผูนิเทศเปน บคุ คลทีม่ ีความรูความสามารถ
เพยี งพอทางดา นวิชาการ และท่ีสำคัญเปน ผูที่
ไดร ับการยอมรับจากบคุ ลากรสวนใหญของ
โรงเรียน

7

ที่ ตวั ชว้ี ดั รายละเอียด/หลกั ฐาน หมายเหตุ
5. การนำไปใช 5. การนเิ ทศภายในยึดหลักการการพัฒนาชุมชน
แหง การเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) จึงทำใหค รูใน
โรงเรียนเกิดความสบายใจในการเขารว ม
โครงการ
6. ผูบรหิ ารโรงเรยี นใหความสำคญั ใน
กระบวนการนเิ ทศภายใน และเขามามบี ทบาทใน
การนเิ ทศอยางจรงิ จัง ทำใหค รูในโรงเรยี นเกดิ
ความตระหนกั และเห็นความสำคญั
7. การไดร บั ความรวมมอื รวมใจจากบคุ ลากรและ
หนวยงานทีเ่ กี่ยวของจงึ ทำใหก ารดำเนนิ งานเกิด
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลอยางแทจ รงิ
(ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวัตกรรม หนา
28 และภาคผนวก ค หนา 45-51)

นำนวตั กรรมไปใชก บั ผเู รียนกลมุ เปาหมาย ไดแ ก
ครูทกุ คนในกลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย
คณติ ศาสตร วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และ
ภาษาตา งประเทศ โดยการเลอื กแบบเจาะจง
(Purposive sampling) (ปรากฏในแบบรายงาน
การสรางนวตั กรรม หนา 3)
โดยกระบวนการ (Process) เปน การดำเนินการ
นเิ ทศภายในของทมี นเิ ทศ ในการใหคำแนะนำ
และชว ยเหลอื ครผู รู บั การนิเทศใหม ีความรูความ
เขา ใจในการจดั กระบวนการเรยี นรู ไดนำแนวคิด
และหลกั การจากการศกึ ษาองคประกอบ ตวั ชีว้ ัด
และการศกึ ษาโรงเรยี นท่ีมกี ารปฏิบตั ทิ ่ดี ี มา
สังเคราะหร วมกบั กระบวนการ PDCA
โดยมีกระบวนการนเิ ทศ 4 ขนั้ ตอน ไดแ ก การ
วางแผนการนเิ ทศภายใน (Plan) ปฏบิ ตั กิ าร
นิเทศภายใน (Do) การตดิ ตามตรวจสอบ
ประเมินผลการนิเทศภายใน (Check) การ
ปรบั ปรงุ แกไ ขการนเิ ทศภายใน (Act ) ออกมา

8

ที่ ตัวชี้วัด รายละเอยี ด/หลกั ฐาน หมายเหตุ
6. การประเมนิ และการปรบั ปรงุ เปนรปู แบบการนเิ ทศภายในโดยใช THUNG
Model (ปรากฏในแบบรายงานการสราง
นวัตกรรม หนา 6-16 และภาคผนวก ก หนา 32)
จนเกิดผลเปน ท่ีนาพอใจซง่ึ ไดว เิ คราะหผ ลใน
รายงานการวจิ ยั บทท่ี 4 และแบบรายงานการ
สรา งนวัตกรรม และยังไดเ ผยแพรใหโ รงเรยี น
เครอื ขา ยพฒั นาไดนำนวัตกรรมไปทดลองใชอีก
ดวย (ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวตั กรรม
หนา 28-29 และภาคผนวก ง หนา 53-65)

การประเมินผลการนเิ ทศคร้ังนเี้ ปนการ
ประเมินผลการนิเทศเพื่อตรวจสอบ
การดำเนินการตา ง ๆ วา บรรลตุ ามวตั ถุประสงค
และเปา หมายการนเิ ทศมากนอยเพยี งใด มปี ญ หา
อปุ สรรคใดทที่ ำใหการนิเทศไมไดผ ล หรือมปี จ จยั
ใดท่ีสง เสริมหรอื สงผลตอการนเิ ทศทมี่ ี
ประสิทธภิ าพ โดยพิจารณาองคป ระกอบ
ตวั ช้วี ดั เปา หมาย วิธีการ เคร่อื งมอื โดยระบุใน
หัวขอ ดงั น้ี
1. ทมี นเิ ทศมคี วามรคู วามเขา ใจกระบวนการ
นิเทศภายในโดยใช THUNG Model
2. ทมี นเิ ทศสามารถนเิ ทศภายในโดยใช THUNG
Model
3. ครูมีความรูค วามเขา ใจและวเิ คราะหร ายงาน
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั
พน้ื ฐาน (O-NET)
4. ครูออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู ชิงรกุ (Active
Learning) ผา นกระบวนการ LS – PLC
5. ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นรเู ชิงรกุ (Active
Learning) ผานกระบวนการ LS - PLC
เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

9

ที่ ตัวช้ีวัด รายละเอยี ด/หลักฐาน หมายเหตุ

6. นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 มผี ลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนและผลการทดสอบทางการศกึ ษา

ระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) สงู ขึ้น

7. ทมี นเิ ทศและผรู บั การนเิ ทศมคี วามพึงพอใจตอ

การนิเทศภายในโดยใช THUNG Model

(ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวตั กรรม หนา

28 ภาคผนวก ก หนา 32)

10

องคประกอบท่ี 3 ดา นผลทเ่ี กิดขนึ้ จากการดำเนินงานตามนวัตกรรม

จำนวน 9 ตัวช้ีวดั ดังนี้

ท่ี ตวั ชี้วดั รายละเอียด/หลักฐาน หมายเหตุ

1. ผลทเี่ กดิ ขน้ึ กบั สถานศึกษาและผูบรหิ าร

1. มขี อมูลสารสนเทศของ - กอนดำเนนิ การผรู ายงานไดศึกษาบริบทของ

สถานศกึ ษา โรงเรียนจากขอ มลู ในเอกสารรายงานการประเมิน

ตนเองของสถานศกึ ษาเพือ่ ใหการดำเนินงาน

สอดคลอ งกบั บรบิ ท สภาพปญ หาของสถานศกึ ษา

(ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวตั กรรม

ภาคผนวก ข หนา 34)

2. การดำเนินงาน/การบรหิ าร 1. โรงเรียนใชระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาใน

จัดการของสถานศึกษา/การ การขับเคลอ่ื นการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา

จัดการเรยี นรู/การนเิ ทศติดตาม 2. โรงเรยี นมีการปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษาให

และประเมินผล อยางเปน ระบบ สอดคลอ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

บรบิ ทของโรงเรียน และหลักสูตรทอ งถนิ่

3. โรงเรียนมกี ารจดั การเรยี นรเู ชงิ รกุ (Active

Learning) อยางเปน ระบบ ตอเน่อื งและนำผลการ

นเิ ทศไปใชในการพฒั นาและแกป ญ หา

4. โรงเรยี นมขี อ มลู และมแี นวทาง วิธกี ารสง เสรมิ

สนบั สนุน สรา งความรคู วามเขาใจในการยกระดับ

ผลสัมฤทธ์ิ รวมทง้ั การสรา งนวตั กรรมใหกบั ครู

5. โรงเรียนใชข อ มลู การสอบในระดับตาง ๆ ใน

การสง เสรมิ สนับสนุน สรา งความรคู วามเขา ใจกับ

ครูในการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ รวมท้งั เปนแนวทาง

ในการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการและ

กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ใิ หก บั โรงเรียน

6. โรงเรยี นมีระบบนเิ ทศ ชีแ้ นะชวยเหลอื ในการ

ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิอยา งเปนระบบตอ เน่อื ง และนำ

ผลการนเิ ทศไปใชใ นการพฒั นาและแกป ญ หา

11

ที่ ตวั ช้วี ดั รายละเอียด/หลกั ฐาน หมายเหตุ
7. โรงเรยี นและครมู ขี อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
3. การมเี ครอื ขา ยพฒั นาคุณภาพ ระดับตา ง ๆ เชน O-NET NT RT
การศกึ ษาของสถานศึกษา ผลการประเมนิ ระดับชน้ั เรยี นและระดบั โรงเรียน
8. โรงเรยี นมรี ะบบนเิ ทศ ชแ้ี นะ ชวยเหลือครใู น
4. การยอมรบั ทม่ี ีตอสถานศกึ ษา การดำเนินงานประกนั คุณภาพภายใน (มาตรฐาน
ดานกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รียน
เปน สำคญั ) อยา งเปนระบบ ตอ เน่อื ง และนำผล
การนิเทศไปใชในการพัฒนา
สงผลใหโรงเรียนไดร ับรางวลั ตา ง ๆ มากมาย
(ปรากฏในแบบรายงานการสรางนวัตกรรม
ภาคผนวก หนา 19 - 21)

โรงเรียนไดพฒั นานวตั กรรม การนเิ ทศภายในโดย
ใช THUNG Model ในการพฒั นาการจดั การ
เรียนรเู ชิงรุก (Active learning) จากน้นั ได
เผยแพร ประชาสัมพันธส รางเครอื ขา ยการพฒั นา
คณุ ภาพผเู รยี นโดย การเผยแพรผ ลงานผาน
เว็บไซต http://pittayasai.ac.th และเผยแพร
ผลงานใหกบั โรงเรยี นอนบุ าลกาฬสนิ ธุ โรงเรียนบงึ
วชิ ยั สงเคราะห โรงเรียนพพิ ัฒนร าษฎรบำรุง
โรงเรยี นชุมชนหนองสอวทิ ยาคาร โรงเรียนบา นบัว
ขาว (วันครู 2500) และโรงเรยี นบา นตอนวิทยา
คาร (ปรากฏในแบบรายงานการสรางนวตั กรรม
ภาคผนวก การเผยแพรและการสรา งเครอื ขา ย
หนา 52 -65)

- หนว ยงานตนสงั กัดใหก ารยอมผลการดำเนนิ งาน
ของโรงเรียน
- ผปู กครองใหการยอมผลการดำเนินงานของ
โรงเรยี น
- นวตั กรรมไดรับการยอมรับท้งั ในโรงเรยี นและ
โรงเรียนอน่ื ๆ ดังแสดงในแบบรายงานการสราง
นวัตกรรม

12

ท่ี ตวั ช้ีวดั รายละเอียด/หลักฐาน หมายเหตุ
(ปรากฏในแบบรายงานการสรา งนวตั กรรม
2. ผลทเี่ กดิ ข้ึนกบั ครูผสู อน ภาคผนวก ข หนา 33-43)
1. การออกแบบการจดั การเรยี นรู
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ในสว นผลท่ีเกดิ ข้นึ กบั ครจู ากการใชรูปแบบการ
3. การพฒั นาสอ่ื การเรียนรู นเิ ทศภายในโดยใช THUNG Model ในการ
4. การวัดและประเมนิ ผล พัฒนาการจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ (Active learning)
สง ผลให
1. ครูมีการจัดการเรียนรเู ชงิ รุก (Active
Learning) ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
เปน เครือ่ งมือในการจดั การเรยี นรู และใชแ หลง
เรียนรูทห่ี ลายหลายและเหมาะสม
2. ครมู ีการคดั กรองและขอ มลู ดา นการอา นและ
การเขียนของนกั เรียนเปนรายบคุ คล
3. ครูมีวิธกี าร นวัตกรรมในการแกป ญ หาและ
พฒั นานักเรยี นใหม ีความสามารถในการอานและ
การเขียนตามระดับชน้ั
4. ครมู ีการจัดทำหนว ยและแผนการจัดการเรยี นรู
เชิงรกุ (Active Learning) ผา นกระบวนการ LS
- PLC และนำไปใชในการจดั การเรียนรทู เี่ นนให
ผเู รียนมีคณุ ลักษณะ ดังน้ี

4.1 มีสวนรว มในชัน้ เรียน
4.2 มุงใหผูเ รียนลงมือปฏิบตั ิ
4.3 เรียนรจู ากแหลง เรียนรทู ่หี ลากหลาย
4.4 เรียนรอู ยา งมีความหมาย (Meaningful
learning)
4.5 สรางองคค วามรูได
4.6 มีความเขา ใจในตนเอง
4.7 ใชส ติปญญา ในการคดิ วิเคราะห
4.8 สรา งสรรคผ ลงานนวัตกรรมทสี่ อดคลอ งกบั
สมรรถนะสำคญั ในศตวรรษที่ 21

13

ท่ี ตัวช้วี ัด รายละเอียด/หลักฐาน หมายเหตุ
4.9 มีทักษะวชิ าการ ทกั ษะชีวิต และทกั ษะ
3. ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู รียน วิชาชีพ ในการเรยี นรตู ามระดับชวงวัย
1. ผเู รียนมีคะแนนผลการทดสอบ 5. ครูมีการบันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู และนำ
ผลไปใชใ นการแกปญ หาและพฒั นา
ทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั นักเรยี นหรอื ใชป ระกอบการวิจยั ในชน้ั เรียน
พน้ื ฐาน (O-NET) แตล ะวิชาผาน 6. ครูมขี อมูลและใชขอ มูลรายบุคคลของนกั เรยี น
เกณฑเพม่ิ ขนึ้ ในการพฒั นาการเรียนรูของผเู รียน
7. ครูมีการนำผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-
NET) ไปวิเคราะหเ พื่อหาจุดพฒั นา
8. ครมู ีแผนงานโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนรู
9. ครมู กี ารรายงานผลการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนรตู ามแผนงานโครงการ
10. ครูมีวจิ ัยในช้นั เรียนเพ่ือแกปญ หาและพัฒนา
นักเรียน
สงผลใหครูไดรบั รางวลั ตา ง ๆ มากมาย (ปรากฏใน
แบบรายงานการสรา งนวัตกรรม หนา 21-24 และ
ภาคผนวก ข หนา 36-38)

ในสว นผลทีเ่ กิดข้ึนกบั ผูเรยี นจากการใชรปู แบบการ
นิเทศภายในโดยใช THUNG Model ในการ
พฒั นาการจดั การเรียนรเู ชงิ รกุ (Active learning)
สง ผลให
1. นักเรียนมคี วามสามารถในการอานออกเขียนได
มที กั ษะทางวชิ าการ ทักษะชวี ติ ทกั ษะอาชพี
มีสมรรถนะที่สำคัญของผเู รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงคต ามมาตรฐานหลกั สูตรและมาตรฐานการ
ประกนั คณุ ภาพภายในโรงเรยี น รวมทัง้ มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู รียนสงู ขน้ึ

14

ท่ี ตัวช้ีวดั รายละเอียด/หลักฐาน หมายเหตุ

2. นกั เรียนมที กั ษะการคดิ วเิ คราะหร ะดบั สงู สราง

องคความรไู ดดว ยตนเอง

3. นกั เรียนมีทักษะวิชาการ ทกั ษะวชิ าชพี และ

ทกั ษะชีวิตในการเรยี นรูตามระดบั ชวงวยั

4. นกั เรียนเปนรายบุคคลมีความกา วหนา ในการ

เรยี นรูเปนไปตามเปาหมายท่ีกำหนด

5. นกั เรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน แตละวิชาผานเกณฑเ พมิ่ ขึน้

(ปรากฏในแบบรายงานการสรางนวตั กรรม หนา

24-27 และภาคผนวก ข หนา 39-43)

ลงชอื่ .................................................... ผรู ายงาน
(นายสชุ าติ แวงโสธรณ)

ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรียนกาฬสนิ ธุพทิ ยาสยั


Click to View FlipBook Version