The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายราชิน ธารวาวแวว, 2019-06-04 00:28:21

หน่วยที่ 1 ประวัติและความเป็นมาของ อกท.

E-book Future Farmers FFT unit 1

Keywords: fft

FFT |0

เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รี ย น รู้

หลกั สตู รประกำศนยี บตั รวิชำชีพ พุทธศกั รำช 2562 ประเภทวิชำเกษตรกรรม สำขำวิชำเกษตรศำสตร์

20500 - 1002

รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย

รำชิน ธำรวำวแวว

ราชนิ ธสารำวานวแกัววงำนคณะกรรม2ก05ำ00ร–ก1ำ00ร2ออำงคช์กีวารเศกษกึ ตษรกรำในอนกาครตะ(FทutรuวreงFaศrmกึ eษrs)ำธิกำร

FFT |1

หนว่ ยกำรเรยี นที่ 1

ประวตั ิควำมเป็นมำขององคก์ ำรเกษตรกรในอนำคต

อาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพท่ีมีความสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรของโลกมาช้านาน การ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีพ้ืนท่ีครอบคลุมเกือบทุกภูมิภาคของโลก ดังน้ันในหลายประเทศท่ีมีพลเมือง
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงมีระบบการจัดการเรียนการสอนทางดา้ นวิชาชีพเกษตรควบคู่กนั ไปด้วย จึงเกิด
การรวมกลุ่มของนักเรียนนักศึกษาที่เรียนทางด้านวิชาชีพเกษตรขึ้น เรียกว่า องค์การเกษตรกรในอนาคต ซึ่งมี
การดาเนินงานจนประสบผลสาเร็จหลายประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญ่ีปุ่น ประเทศเกาหลี
ประเทศฟิลปิ ปินส์ รวมทัง้ ประเทศไทยดว้ ย

1.1 ประวัติควำมเปน็ มำขององคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตในตำ่ งประเทศ

1.1.1 องคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตแหง่ อเมริกำ (FFA: Future Farmer of America)
องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งอเมริกา ได้จัดต้ังข้ึนคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) ณ

เมืองแคนซัสซิต้ี (Kansas City) รัฐมิสซูร่ี (Missouri) เป็นองค์การเกษตรกรแห่งชาติท่ีจัดตั้งโดยนักเรียน
นักศึกษาเพ่ือนักเรียนนักศึกษาและเป็นของนักเรียนนักศึกษาที่เลือกเรียนวิชาอาชีวศึกษาเกษตรในโรงเรียน
มัธยมศึกษาของสหรัฐอเมริกา เพ่ือเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญตั ิการอาชวี ศึกษา และโดยเฉพาะ
อย่างย่ิงพระราชบัญญัติการศึกษาเกษตรกรรมแห่งชาติ องค์การน้ีจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการศึกษา ไม่หวังผล
กาไร ไม่เกี่ยวข้องกับการเมอื ง และการเข้าเป็นสมาชิกมิได้บังคับ การจัดกิจกรรมขององค์กรเน้นหนกั ไปในการ
ฝึกฝนลักษณะการเป็นผนู้ า อุปนิสัยการมัธยัสถ์ การศึกษา ความร่วมมือ การปฏิบัติตัวเป็นพลเมืองดีและความ
รักชาติ สมาชกิ ทุกคนได้มีโอกาสศกึ ษาหาความรู้และประสบการณ์ โดยการแสดงออกทางการพดู ในทีส่ าธารณะ
การร่วมมือในการซ้ือและการขาย ฯลฯ นับได้ว่าเป็นองค์การท่ีมีส่วนสาคัญในการพัฒนาอาชีวเกษตรของชาติ
เปน็ อย่างย่งิ

FFA แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ระดับได้แก่ ระดับหน่วยท้องถ่ิน (Local Chapter) ระดับรัฐ
(State Level) ระดับภาค (Region Level) และระดับชาติ (National Level) โดยมีสานักงานใหญ่ของ
องค์การตงั้ อยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย (Alexandria) รฐั เวอรจ์ เิ นยี และมกี ารแบ่งสมาชิกออกเป็น 4 ประเภท คือ
สมาชิกสามัญ (Active Membership) สมาชิกวิสามัญ (Alumni Membership) สมาชิกวิทยาลัย (Colligate

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |2

Membership) และสมาชิกกิตติมศักด์ิ (Honorary Membership) ส่วนระดับของสมาชิก มีการแบ่งออกเป็น
4 ระดับ คือ สมาชิกใหม่ (Green Hand) สมาชิกระดับหน่วย (Chapter Farmer) สมาชิกระดับรัฐหรือระดับ
ภาค (State Farmer) และสมาชิกระดับชาติ (American Farmer) โดยมีคติพจน์ประกอบด้วยข้อความ 4
วรรค คอื

Learning to Do Doing to Learn
Earning to Live Living to Serve

ตราเคร่ืองหมายของ FFA ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง ได้แก่ รูปนกฮูก (The Owl)หมายถึง
ความเฉลียวฉลาด เป็นเครื่องหมายประจาครูท่ีปรึกษา หรือครูเกษตรและศึกษานิเทศก์ที่เป็นที่ปรึกษา รูปไถ
(The Plow)หมายถึง เครื่องมือพลิกผืนดิน และแรงงาน อันเป็นรากฐานแห่งการเกษตรแผนใหม่ รูปอาทิตย์
แรกขึ้น(The Rising Sun) หมายถึง ความก้าวหน้าของการเกษตรยุคใหม่ รูปฝักข้าวโพดตัดกลาง (The Cross
Section of an Ear of Corn) หมายถึง พชื หลักของอเมริกาและรูปนกอินทรีย์ (The Eagle) หมายถงึ ขอบเขต
การดาเนินงานขององค์การพรอ้ มกับรูปธงชาติอยู่ข้างลา่ งนกอินทรีย์ ภายในตราเคร่อื งหมายจะมีอักษรว่า FFA
และมีคาวา่ AGRICULTURAL EDUCATION อยู่ภายในตราด้วยดงั ภาพท่ี 1.1

ภำพท่ี 1.1 ตราเคร่ืองหมายของ FFA
ท่ีมำ : http://www.dairyfarm forum.com/Logo FFAJPG
(สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2562)

FFA มีการจัดประชุมระดับชาติขึ้นคร้ังแรก มีสมาชิกร่วมงานรวม 33 หน่วย และมีการพัฒนามา
จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีองค์กรระดับหน่วยท้องถ่ิน 7,242 หน่วยใน 50 รัฐของอเมริกา
รวมทั้งในเขตเปอร์โตริโก้ และเวอร์จ้ินไอซ์แลนด์ด้วย มีจานวนสมาชิกมากถึง 495,046 คน FFA ได้พัฒนา
คุณภาพสมาชิกด้านบุคลิกภาพความเป็นผู้นา และการจัดการธุรกิจเกษตร จนเป็นที่ยอมรับทั่วโลก
และเป็นแบบอย่างให้กับประเทศอ่ืน ๆ เช่น ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ประเทศฟิลิปปินส์ และ
ประเทศไทย

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |3

1.1.2 องคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตแหง่ ประเทศญ่ีปนุ่ (FFJ: Future Farmers of Japan)
องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศญ่ปี ุ่น ได้รบั การอนุมตั ิจากรฐั บาลให้จัดต้ังขน้ึ ครง้ั แรกเมื่อ

ปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยพัฒนาความสามารถ ส่งเสริมความรู้เทคนิคใหม่ ๆ และ
ประสบการณ์ที่จาเป็น โดยดาเนินการจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดประสบการณ์แก่สมาชิกน้ัน ได้เน้นหนักไปใน
ทางการเป็นผู้นาทางสังคมและความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตร FFJ มีการจัดให้การประชุมวชิ าการข้นึ ปีละ
1 ครง้ั ในเดอื นตุลาคม หรือ เดอื นพฤศจิกายนของทกุ ปี

การดาเนินงานน้ัน FFJ แต่ละระดับจะต้องมีการเลือกตั้งกรรมการขึ้นมาบริหารงาน โดยคัดเลือก
มาจากสมาชิก กรรมการแต่ละชุดจะอยู่ในตาแหน่งได้คร้ังละ 1 ปี จึงจะมีการเลือกต้ังใหม่ สาหรับ
คณะกรรมการระดับชาติ ประกอบไปด้วย นายกองค์การ 1 คน รองนายกองค์การ 4 คน Director 15 คน
สมุห์บัญชี 3 คน ตัวแทนจากครู 1 คน ท่ีปรึกษาระดับชาติ 2 คน และฝ่ายแนะแนวอีก 5 คน มีวารสารช่ือ
Leadership และ FFJ News พมิ พเ์ ผยแพรข่ า่ วและกจิ กรรมต่างของ FFJ

ตราเคร่อื งหมายของ FFJ มสี ัญลักษณ์สาคัญ 3 ประการคือ รปู นกพิราบ ภเู ขาฟจู ิและรวงขา้ ว ซ่ึง
เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงมิตรภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และแสดงถึงการเก็บเก่ียวผลผลิตท่ีมีคุณภาพสูง ดัง
ภาพที่ 1.2

ภำพที่ 1.2 ตราเครื่องหมายของ FFJ
ท่ีมำ : สุรพงษ์ มีศรี (2551)

FFJ มีการแบ่งระดับการดาเนินงานออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับหน่วย มี 450 หน่วย
ทั่วประเทศ ระดับจังหวัด (Prefecture) ระดับกลุ่ม (Block) มี 9 กลุ่ม และ ระดับชาติ (National) สมาชิก
ของ FFJ จะทาโครงการที่บ้านหรือที่โรงเรียน มีการจัดกิจกรรมประกวดและแข่งขันกัน ต้ังแต่ระดับจังหวัด
ระดบั กลมุ่ จนถงึ ระดบั ชาติ นอกจากนยี้ งั ไดฝ้ กึ เยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทางด้านการเกษตร ไดอ้ อกไปทาฟาร์มตาม
ชนบท หรือทางานท่ีมีส่วนสัมพันธ์กับการเกษตรเปน็ จานวนมาก เยาวชนเหล่านี้ได้นาเอาความรู้เทคนิคใหม่ไป
ปรบั ปรุงฟาร์ม ซ่งึ เปน็ แรงผลักดนั ใหเ้ กิดการปฏริ ูปและพัฒนาการเกษตรของชาติอยา่ งใหญห่ ลวงในปจั จุบัน

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |4

1.1.3 องคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตแห่งประเทศเกำหลี (FFK: Future Farmers of Korea)
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) เป็นประเทศตั้งอยู่ทางตะวันออกของทวีปเอเชีย มีการจัด

การศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับอนุบาล (1-3 ปี) ระดับประถมศึกษา (6 ปี) ระดับมัธยม ศึกษา
ตอนต้น (3 ปี) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (3 ปี) ระดับวิทยาลัย (2 ปี) ระดับอุดมศึกษา (4 ปีข้ึนไป) การ
จัดการศึกษาท้ัง 5 ระดับแยกสถานศึกษาและการบริการออกจากกันโดยเด็ดขาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มที ั้งหมด 1,688 แหง่ เปดิ สอนเป็นโรงเรียนเกษตรโดยเฉพาะประมาณ 100 แห่ง ซง่ึ จะเรยี กชื่อแตกต่างไปจาก
โรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย สาขาวชิ าเกษตรท่ีเปิดสอน เป็นโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาด้านวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ
กวางจู (Kwangju Natural Science High School) โรงเรียนมัธยมศึกษาเกษตรกรรมซูวอน (Suwon
Agricultural Life Science High School) ซง่ึ ตง้ั อยทู่ ่ีเมืองซวู อน และทโ่ี รงเรียนนเ้ี องเป็นทต่ี ้ังของสานักงาน
เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศเกาหลี และท่ีต้ังของสมาคมการศึกษาด้านเกษตรกรรมของประเทศเกาหลี
(Korean Agricultural Education Association : KAEA ) องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศเกาหลีเร่ิม
ก่อตั้งข้ึนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) มีการดาเนินงานแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับหน่วย มี
ท้ังหมดรวม 100 หน่วย ระดับจงั หวัด และระดับชาติ มีตราสญั ลักษณอ์ งคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศ
เกาหลี ดังภาพท่ี 2.3

ภำพที่ 2.3 ตราเครื่องหมายของ FFK
ท่มี า : สรุ พงษ์ มีศรี (2551)

1.1.4 องคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตแห่งประเทศฟิลิปปนิ ส์ (FFP : Future Farmers of
Philippines)

การดาเนินกิจกรรมขององค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศฟิลิปปินส์ จัดข้ึนในสถานศึกษา
ระดับมัธยมที่เปิดสอนวิชาการเกษตร ทั้งในโรงเรียนมัธยมสามัญ โรงเรียนมัธยมเกษตร และโรงเรียนมัธยม
ชนบท เป็นข้อบังคับในหลักสูตร ของโรงเรียนเกษตรกรรม เพื่อเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน
โดยมีการจัดกิจกรรมองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศฟิลิปปินส์ (FFP: Future Farmers of
Philippines) และองคก์ ารคหกรรมเกษตรแห่งประเทศฟิลิปปินส์ (FAHP: Future Agricultural Homemaker
of Philippines) ข้ึน

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |5

FFP เป็นองคก์ ารของนักศึกษาชายในโรงเรียนมธั ยมเกษตร โดยสมาชิกทกุ คนต้องร่วมในกิจกรรม
ต่าง ๆ จานวน 9 กิจกรรม ได้แก่ การเกษตรภายใต้การนิเทศ การทางานร่วมกัน การบริการชุมชน
การฝึกลักษณะผู้นา การหารายได้และออมทรัพย์ การดาเนินการประชุม การส่งเสริมการเรียนดี การสันทนา
การและการประชาสัมพันธ์

FAHP เป็นองค์การของนักเรียนหญิงในโรงเรียนมัธยมเกษตรและโรงเรียนประมง กิจกรรมท่ีจัด
ข้ึนประกอบด้วยงานอาชีพที่น่าสนใจ การบริการชุมชน การสันทนาการ การหารายได้ นอกจากน้ีสมาชิก
ขององค์การยังได้รับการฝึกอบรมในเรื่องการเป็นผู้นา การจัดการโครงการของนักเรียนหญิง การถนอมอาหาร
การฝีมือและงานการเรือน องค์การนี้จัดตั้งข้ึนเพื่อต้องการจะพัฒนาลักษณะความเป็นผู้นาในหมู่มวลของ
สมาชิกให้มีคณุ ค่าแกค่ รอบครัวและสังคมทน่ี ักเรยี นอาศัยอยู่

2.2 ประวตั ิควำมเป็นมำขององค์กำรเกษตรกรในอนำคตแหง่ ประเทศไทย

(FFT: Future Farmers of Thailand)

องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ได้เร่ิมต้นจากการท่ีครูเกษตรของไทยหลายคนได้มีโอกาส

ไปศึกษาดูงานท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา บางท่านมีโอกาสได้เข้าร่วมประชุมองค์การ FFA ระดับชาติด้วย และ

มีแนวคิดที่จะจัดต้ังองค์การน้ีข้ึนในประเทศไทย แต่สภาพแวดล้อมในขณะน้ัน ยังไม่เอื้ออานวยต่อการจัดต้ัง

องค์การประเภทนี้ข้ึน ต่อมาในปี พ.ศ.2501 มีครูเกษตรของไทย 5 คน ได้รับทุน A.I.D. คือ อาจารย์วิภาต

บุญศรีวงั ซ้าย อาจารย์สุรพล สงวนศรี อาจารย์ขจร ทองอาไพ อาจารยป์ ระสงค์ วรยศ และ อาจารยศ์ รสี มร

ตรีพงษ์ ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการองค์การ FFA ระดับชาติท่ีเมืองแคนซัสซิตี้ ทุกคนเกิดความประทับใจใน

กิจกรรมองค์การ FFA จึงมีการหารือกันเพ่ือที่จะนารูปแบบขององค์การฯ เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ในปี

พ.ศ.2503

กรมอาชีวศึกษาจัดให้มีการอบรมผู้บรหิ ารเรื่องโครงการเกษตรภายใตก้ ารนิเทศ โดยได้รับความร่วมมอื

จากองค์การยูซ่อม จัดทุนให้โรงเรียนเกษตรกรรมโรงเรียนละหนึ่งแสนบาท เพ่ีอใช้ปรับปรุงพ้ืนท่ีให้นักเรียน

ทาโครงการเกษตร จงึ ถอื วา่ เปน็ โอกาสท่ีเหมาะสมในการก่อตั้งองค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยขึ้น

เพ่ือช่วยเหลือสนับสนุนการทาโครงการเกษตร อาจารย์สุรพล สงวนศรี และ อาจารย์ประสงค์ วรยศ

ขณะนั้นสอนอยู่ที่โรงเรียนเกษตรกรรมเชียงใหม่ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปัจจุบัน) ได้ร่วมกันร่างธรรมนูญและ

แนวทาง เพ่ือจัดตั้งองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย (อกท.) โดยอาศัยรูปแบบของ FFA

ของประเทศสหรัฐอเมรกิ าผสมผสานกับ FFP ของประเทศฟิลิปปนิ สเ์ ป็นหลกั เมอื่ มเี อกสารคูม่ อื แลว้ ก็ได้ประชุม

นักศึกษาเพ่ือชี้แจงความมุ่งหมาย อุดมการณ์และวิธีการของ อกท. ปรากฏว่าได้รับความสนใจจากนักศึกษา

แมโ่ จ้ในครงั้ นนั้ เป็นอย่างมาก อกท.หน่วยแมโ่ จ้ จึงไดท้ าการจัดต้ังข้นึ เปน็ คร้งั แรกในปี พ.ศ. 2504 โดย

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |6
จุดประสงค์ของผู้ก่อตั้งคร้ังแรกเป็นการลองวิชา มีการคัดเลือกนักศึกษาท่ีไม่มีคุณลักษณะผู้นาเลย แต่มีความ
ต้งั ใจจริงท่จี ะพฒั นาตนเองมาเป็นสมาชิก อกท. กลุ่มผู้ก่อตง้ั ไดด้ าเนนิ การฝึกฝนตามรปู แบบ อกท. ไดร้ ะยะหน่ึง
ปรากฏว่าสมาชิกมีการพัฒนาคุณลักษณะของความเป็นผู้นาได้ในระเวลาท่ีรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่าวิธีการของ
องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย เป็นวิธีทดี่ มี าก ความสาเรจ็ ของ อกท. ในยคุ นั้นจัดว่าเปน็ จังหวะท่ี
เหมาะสม เพราะผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ (เดิมเป็นโรงเรียนเกษตรกรรมเชียงใหม่ ปัจจุบัน
เป็นมหาวิทยาลัยแม่โจ้) สมัยนั้นคือ อาจารย์วิภาต บุญศรีวังซ้าย ท่ีเคยไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับ FFA มีความ
เขา้ ใจในอดุ มการณข์ ององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยเป็นอย่างดี

ภำพท่ี 1.4 การเชดิ ชูเกียรตเิ กษตรกรตัวอย่าง (Star Farmer) ของสมาชิก อกท.หนว่ ยแม่โจ้
ท่มี ำ : http://www.maejo.net/FFTMaejo/RoyalSpeechJan32516.html
(สืบค้นเมื่อวนั ที่ 24 มนี าคม 2551)

ภำพท่ี 1.5 สมาชกิ อกท.หน่วยแมโ่ จ้พบปะแลกเปล่ียนกบั ทปี่ รกึ ษาจาก FFA
ที่มำ : http://www.maejo.net/FFTMaejo/RoyalSpeechJan32516.html
(สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 24 มนี าคม 2551)

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |7

องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ได้เจริญรุดหน้าถึงจุดเป็นท่ีรู้จักในระดับประเทศ เมื่อ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชการที่ 9) ทรงเสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการขององค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย (อกท.) หน่วยแม่โจ้ ในงานศิลปหตั กรรมนักเรียน ณ สนามกฬี าแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร ปี พ.ศ. 2515

ภำพที่ 2.6 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ทรงเสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการ อกท. หน่วยแมโ่ จ้
ในงานศลิ ปหตั กรรมนกั เรียน ณ สนามกีฬาแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร เม่ือปี พ.ศ. 2515

ท่มี ำ : http://www.maejo.net/FFTMaejo/RoyalSpeechJan32516.html (สบื ค้นเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2551)

และเป็นพระมหากรุณาธิคุณหาท่ีเปรียบมิได้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) เสด็จ
ทรงเย่ียม อกท. หน่วยแม่โจ้ อีกคร้ังหนึ่งท่ีวิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ ซึ่งเป็นคร้ังแรกของประวัติศาสตร์แม่โจ้
เมื่อวนั ที่ 3 มกราคม พ.ศ.2516 เวลา 16.30 น. ณ หอประชมุ วิทยาลัยฯ (อาคารแผ่พชื ในปัจจบุ ัน)

ภำพที่ 2.7 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว (รัชกาลที่ 9) ทรงเย่ยี มกิจกรรมของ อกท.หน่วยแม่โจ้
ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ เมือ่ วนั ที่ 3 มกราคม 2516

ท่มี า : http://www.maejo.net/FFTMaejo/RoyalSpeechJan32516.html (สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 24 มีนาคม 2551)

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |8

ภำพท่ี 1.8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั (รัชกาลที่ 9) ทรงเยย่ี มกจิ กรรมของ อกท.หน่วยแมโ่ จ้
ณ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมเชียงใหม่ เม่อื วนั ที่ 3 มกราคม 2516

ทีม่ ำ : http://www.maejo.net/FFTMaejo/RoyalSpeechJan32516.html
(สบื ค้นเม่ือวันท่ี 24 มนี าคม 2551)

ในช่วงระยะเวลาเดียวกันน้ัน (พ.ศ. 2515) นอกจากการดาเนินกิจกรรม อกท. ที่วิทยาลัย
เกษตรกรรมเชียงใหม่แล้ว กรมอาชีวศึกษายังได้เริ่มกิจกรรม อกท.ในวิทยาลัยเกษตรกรรมอ่ืน ๆ อีก 5 แห่ง
ประกอบด้วย วิทยาลัยเกษตรกรรมบางพระ วิทยาลัยเกษตรกรรมนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเกษตรกรรม
พระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเกษตรกรรมกาฬสินธ์ุ และวิทยาลัยเกษตรกรรมสุรินทร์ และในโรงเรียน
เกษตรกรรมอีก 21 แห่ง แตอ่ ย่างไรกต็ ามกิจกรรมต่าง ๆ ของ อกท. ก็ไมส่ ามารถดาเนินได้ครบทุกข้ันตอน การ
จัดการยังไม่เป็นระบบ เป็นการลองผิดลองถูกอยู่ เน่ืองจากครู - อาจารย์เกษตรรวมทั้งผู้บริหารยังไม่เข้าใจถึง
ปรัชญา หลักการและวัตถุประสงค์ของกิจกรรม อกท.ดี ประกอบกับยังขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณใน
การดาเนินกิจกรรม อีกทั้งกรมอาชีวศึกษากาลังขยายงานทางอ่ืน ๆ อยู่มากในระยะนั้น แม้ว่าในช่วงปี พ.ศ.
2510 - 2516 ผเู้ ช่ียวชาญอเมรกิ าประจาโครงการเงินกู้เพื่อพฒั นาอาชีวศกึ ษา (ก.พ.อ.) สนใจท่จี ะฟนื้ ฟูกจิ กรรม
อกท. จนมีการจัดอบรมครูท่ีปรึกษาถึง 2 คร้ัง และเปิดหน่วย อกท. ขึ้นอีกหลายแห่ง แต่ อกท. ก็ฟ้ืนตัวมาได้
ระยะหนึ่งเท่านั้นเพราะ รัฐบาลได้สั่งยกเลิกและยุบองค์การต่าง ๆ ของนักเรียน - นักศึกษาทุกรูปแบบด้วย
สาเหตุทางการเมอื ง ในปี พ.ศ. 2518

ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ภายหลังจากการท่ีรัฐบาลได้มีนโยบายให้สถานศึกษาทุกระดับจัดต้ังชมรม
องค์การต่าง ๆ ขึ้นภายในสถานศึกษาควบคู่กับการจัดการเรียนการสอน โดยกองวิทยาลัยเกษตรกรรม ซึ่งมี
อาจารย์บุญเทียม เจริญยิ่ง เป็นผู้อานวยการกองวทิ ยาลัยเกษตรกรรมอยู่ในขณะน้ัน ได้จัดการประชุมผู้บรหิ าร
สถานศึกษา เพื่อต้องการท่ีจะรณรงค์ฟื้นฟูกิจกรรม อกท. ให้มาเป็นกิจกรรมหลักของนักศึกษาอาชีวเกษตรทั่ว

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

FFT |9

ประเทศประกอบกับรองอธิบดีกรมอาชีวศึกษา อาจารย์ปิฏฐะ บุญนาค และอธิบดีกรมอาชีวศึกษา
อาจารย์วิเวก ปางพุฒิพงศ์ ได้ให้ความสนใจในกิจกรรม อกท. จึงให้การสนับสนุนกองวิทยาลัยเกษตรกรรม
โดยกรมอาชีวศึกษาได้ออกระเบียบว่าด้วยองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย เพ่ือเป็นแนวทางใน
การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม อกท. และแต่งตั้งนายดารง มแี ก้วกุญชร ทาหน้าทเี่ ปน็ เลขานกุ าร อกท.ระดบั ชาติ วางแผน
รว่ มกันจดั งานประชุมวิชาการของสมาชกิ อกท. ในระดับภาคทั้ง 4 ภาค เกิดข้ึนเปน็ ครั้งแรก โดยภาคกลางจัดท่ี
วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี ภาคเหนือที่วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจัดที่วิทยาลัย
เกษตรกรรมบุรีรัมย์ และภาคใต้จัดท่ีวิทยาลัยเกษตรกรรมตรัง ส่วนการจัดงานประชุมวชิ าการ อกท.ระดับชาติ
ได้จัดข้นึ เปน็ ประจาทุกปีๆ ละหน่ึงครั้งตามลาดบั ดังน้ี

คร้ังที่ 1 ระหว่างวันที่ 15 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมศรีสะเกษ โดยมี
นายจานง มหาผล เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ มีนายสมบูรณ์ ไทยวัชรามาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ
เปน็ ประธานในพิธเี ปดิ งาน

ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 15 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ณ เวทีลีลาศสวนลุมพีนี โดย นายขุนทอง
ภผู วิ เดอื น รฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นประธานพธิ ีเปิดงาน

คร้ังที่ 3 ระหว่างวันที่ 4 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี โดยมี นายธนู
ทอง ทานะ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ และร้อยตารวจโทชาญ มนูญธรรม รัฐมนตรีประจาสานักนายกเป็น
ประธานในพิธีเปิดงาน

ครั้งท่ี 4 ระหวา่ งวนั ท่ี 16 – 18 มกราคม พ.ศ. 2526 ณ สนามกีฬาแหง่ ชาติ โดย ดร.เกษม
ศิรสิ ัมพนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ประธานในพิธีเปดิ งาน

คร้ังท่ี 5 ระหวา่ งวันท่ี 4 – 6 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2527 ณ ศนู ยเ์ ยาวชนกรุงเทพมหานคร
(ไทย-ญป่ี นุ่ ) โดย นายชวน หลีกภัย รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นประธานในพิธีเปิดงาน

ครั้งที่ 6 ระหว่างวันท่ี 4 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญ่ีปุ่น)
โดยพลเอกเปรม ติณสลู านนท์ นายกรัฐมนตรเี ปน็ ประธานในพธิ เี ปิดงาน

ครงั้ ที่ 7 ระหว่างวันท่ี 4 – 6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2529 ณ วิทยาลยั เกษตรกรรมบุรีรัมย์ โดยมี
นายพจน์ พรมบุตร เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ และนายขุนทอง ภูผิวเ ดือน รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ประธานในพธิ ีเปดิ งาน

คร้ังท่ี 8 ระหว่างวันที่ 4 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมนครสวรรค์ โดยมี นาย
เล็ก ปานแย้ม เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร โปรดเกล้าฯ
เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปน็ องค์ประธานเปดิ งาน

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 10

คร้ังท่ี 9 ระหว่างวันที่ 11 – 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมพัทลุง โดยมี นาย
ธารง บุญยะประสาท เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระ
กรณุ าโปรดเกล้าฯให้นาวาอากาศตรกี าธน สนิ ธุวานนท์ เป็นผ้แู ทนพระองค์เปน็ ประธานในพิธเี ปดิ งาน

คร้ังท่ี 10 ระหว่างวันท่ี 10 – 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมสิงห์บุรี โดยมี นาย
ธารงค์ หาพิพฒั น์ เป็นผ้อู านวยการวิทยาลยั ฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชสยามมกุฎราชกมุ าร ทรงพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ ให้นายธานนิ ทร์ กรยั วิเชียร ผู้แทนพระองค์เปน็ ประธานในพิธเี ปิดงาน

คร้ังท่ี 11 ระหว่างวันท่ี 4 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมอุดรธานี โดยมี นาย
จิต อิสสะรีย์ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัย ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ
เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองค์ประธานเปิดงาน

คร้ังท่ี 12 ระหว่างวันท่ี 25 – 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ โดยมี
นายบวร เมืองสุวรรณ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกล้าฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องค์ประธานเปดิ งาน

ครั้งที่ 13 ระหว่างวันท่ี 11 – 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมตรัง โดยมี นาย
เจือ สุวรรณกระจ่าง เป็นผู้อานวยการวิทยาลัย ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปน็ องค์ประธานเปิดงาน

ครั้งที่ 14 ระหว่างวันท่ี 12 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมกาญจนบุรี โดยมี
นายสะอาด เพ็งอ้น เป็นผู้อานวยการวิทยาลัย ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเป็นองคป์ ระธานเปิดงาน

ครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 21 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมชัยภูมิ โดยมี นาย
ประยรู นาคาพันธ์ เปน็ ผ้อู านวยการวิทยาลัยฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรดเกลา้ ฯ
เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 21 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงราย โดยมี
นายวรเขต ภัทรกายะ เป็นผูอ้ านวยการวทิ ยาลัย ฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเป็นองคป์ ระธานเปิดงาน

ครั้งท่ี 17 ระหว่างวันที่ 11 – 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมนราธิวาส โดยมี
นายยกย่อง พิศุทธางกูร เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธานเปดิ งาน

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 11

ครง้ั ที่ 18 ระหว่างวนั ท่ี 3 – 6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2540 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมสพุ รรณบรุ ี โดยมี นาย
ปรชี า บญุ วิทยา เปน็ ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรดเกล้าฯ
เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองค์ประธานเปิดงาน

ครั้งท่ี 19 ระหว่างวันที่ 3 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมศรีสะเกษ โดยมี นาย
ธนูทอง ทานะ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ
เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

คร้ังท่ี 20 ระหว่างวันที่ 4 – 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรมพิจิตร โดยมี นาย
ประยูร โพธ์ิงาม เป็นผอู้ านวยการวิทยาลัยฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรดเกลา้ ฯ
เสด็จพระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

ครั้งที่ 21 ระหว่างวันที่ 2 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ณ วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ จังหวัดสงขลา
โดยมี นายมนัส สวุ รรณพงษ์ เป็นผู้อานวยการวทิ ยาลยั ฯ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธานเปิดงาน

คร้ังท่ี 22 ระหว่างวันท่ี 1– 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี โดยมี
นายสมควร ผึ่งผาย เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

คร้ังที่ 23 ระหว่างวนั ท่ี 16 – 20 มกราคม พ.ศ. 2545 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสมี า
โดยมี นายสมศักด์ิ ปาละจูม เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกล้าฯเสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธานเปิดงาน

ครง้ั ท่ี 24 ระหว่างวันที่ 6 – 9 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2546 ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร
โดยมี นายวณิช อ่วมศรี เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

คร้ังที่ 25 ระหว่างวันที่ 4 – 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
นครศรธี รรมราช โดยมี นายประเสรฐิ ชแู สง เปน็ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราช
สดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนินเปน็ องค์ประธานเปิดงาน

ครั้งที่ 26 ระหว่างวันท่ี 22 – 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลพบุรี โดยมี
นายสิทธิ์ศักดิ์ รัตนพานิชย์ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธานเปิดงาน

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 12

ครัง้ ที่ 27 ระหว่างวันท่ี 22 – 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2549 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ้อยเอ็ด
โดยมี นายสมศักดิ์ ช่ืนใจ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเป็นองค์ประธานเปดิ งาน

คร้งั ที่ 28 ระหวา่ งวนั ท่ี 7 – 11 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2550 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสโุ ขทยั โดยมี
นายวรศลิ ป์ สุรยิ ะ เปน็ ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรด
เกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องคป์ ระธานเปิดงาน

ครั้งท่ี 29 ระหว่างวันที่ 4 – 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร โดย
มี นายวิศวะ คงแก้ว เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนินเป็นองคป์ ระธานเปดิ งาน

ครัง้ ท่ี 30 ระหว่างวันที่ 8-12 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี โดยมี
นายวันชัย โตมี เป็นผู้อานวยการวทิ ยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ
เสด็จพระราชดาเนินเปน็ องค์ประธานเปดิ งาน

ครั้งท่ี 31 ระหว่างวันท่ี 8-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น
โดยมี นายบุญช่วย ศรีเกษ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกล้าฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธานเปิดงาน

คร้งั ท่ี 32 ระหวา่ งวันท่ี 20-26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีแพร่ โดยมี
นายวันชยั โตมี เปน็ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกลา้ ฯ
เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปน็ องค์ประธานเปิดงาน

ครั้งที่ 33 ระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกระบ่ี โดยมี
....................................................... เปน็ ผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี โปรดเกล้าฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องค์ประธานเปิดงาน

คร้ังที่ 34 ระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี โดยมี
....................................................... เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี โปรดเกล้าฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธานเปิดงาน

คร้ังท่ี 35 ระหว่างวนั ท่ี กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี โดย
มี นายเมธา เหิรเมฆ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรด
เกลา้ ฯ เสด็จพระราชดาเนนิ เป็นองค์ประธานเปดิ งาน

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 13

คร้งั ท่ี 36 ระหวา่ งวนั ที่ 10 - 14 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2558 ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตาก โดย
มี ........................................................ เป็นผู้อานวยการวิทยาลยั ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม
ราชกุมารี โปรดเกล้าฯ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปิดงาน

คร้ังท่ี 37 ระหว่างวันที่ 23 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา
โดยมี ....................................................... เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม
บรมราชกุมารี โปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดาเนนิ เป็นองคป์ ระธานเปดิ งาน

ครั้งที่ 38 ระหวา่ งวันท่ี 1 - 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุทัยธานี โดย
มี นายประเวศ วรางกูร เปน็ ผ้อู านวยการวิทยาลัยฯ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรด
เกลา้ ฯ เสด็จพระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปดิ งาน

ครัง้ ท่ี 39 ระหวา่ งวนั ท่ี 5 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม
โดยมี นายดสุ ิต สะดวก เป็นผอู้ านวยการวทิ ยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรด
เกลา้ ฯ เสด็จพระราชดาเนนิ เป็นองค์ประธานเปดิ งาน

ครง้ั ที่ 40 ระหวา่ งวนั ท่ี 9 - 13 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา โดย
มี นายบุญปลูก บุญอาบ เป็นผู้อานวยการวิทยาลัยฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดเกลา้ ฯ เสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องค์ประธานเปดิ งาน

ภำพท่ี 1.9 สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระ
กรุณาโปรดเกลา้ ฯเสดจ็ พระราชดาเนินเปน็ องคป์ ระธานเปิดการประชุมวิชาการ อกท. ระดับชาติ คร้งั ที่ 40

ท่มี า : ราชิน ธารวาวแวว (2562)

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 14

จากอดีตจนถึงปัจจบุ ัน จะเหน็ ได้วา่ กวา่ ที่องค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย (อกท.) จะเป็นที่
รู้จักและยอมรับของสังคมนั้น ได้ฝ่าฟันผ่านพ้นปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ นานัปการ จนกระท่ังมีรูปแบบการ
ดาเนนิ งานในการพัฒนาคณุ ภาพสมาชกิ อยา่ งเป็นรปู ธรรมมาจนถึงทุกวนั น้ี

ในการจัดการประชุมวชิ าการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติท่ีผา่ นมา มีบุคคล
สาคัญมาเป็นประธานในพิธีเปิดงานทุกคร้ัง เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นายกรฐั มนตรี องคมนตรี และเป็นพระกรุณาธิคุณทีส่ มเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกุมาร (ในขณะ
น้ัน) เสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 8 ณ วทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครสวรรค์ และนบั ตง้ั แต่การประชุมวชิ าการองค์การ
เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับชาติ คร้ังที่ 11 เป็นต้นมา องค์การเกษตรกรใน อนาคตแห่ง
ประเทศไทยไดร้ บั พระกรุณาธคิ ุณหาทส่ี ุดมิได้ที่ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเสด็จพระราชดาเนนิ เปน็ องคป์ ระธานในการเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกร
ในอนาคตแห่งประเทศไทยตลอดมาจนถึงปจั จบุ ัน และนับวา่ เปน็ พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าลน้ กระหม่อมหา
ท่ีสุดมิได้ เมื่อสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงโปรด
เกล้าฯ รับองค์การเกษตรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยไวใ้ นพระราชปู ถัมภ์ฯ เม่ือวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
นับแต่บัดน้ันเป็นต้นมาจงึ ใช้ชื่อองค์การใหม่วา่ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ภำพที่ 1.10 หนังสือจากกองงานในพระองค์
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี
ท่ที รงรบั อกท. ไวใ้ นพระราชูปถมั ภข์ องพระองค์
ท่มี า : สรพุ งษ์ มีศรี (2551)

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 15

ปี พ.ศ. 2530 กรมอาชีวศึกษา ได้บรรจุรายวิชา อกท. เข้าในหลักสูตรการเรียนการสอน และจัดการ
เรยี นการสอนมาจนกระทัง่ ถึงปจั จุบัน รวมทง้ั มีการจัดตัง้ มลู นิธิ อกท. ขึน้ ในปีเดียวกัน

ปี พ.ศ. 2534 จัดทาระเบยี บกรมอาชีวศกึ ษา ว่าด้วย องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ทาให้
เกดิ วธิ ีการปฏิบัตใิ นการดาเนินงานดา้ นตา่ ง ๆ อกี หลายฉบับ

ปี พ.ศ. 2542 จัดทาระเบียบกรมอาชีวศึกษา ว่าด้วยองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย และ
วิธีการปฏิบัตใิ นการดาเนนิ งานดา้ นตา่ ง ๆ รวม 13 ฉบบั

พ.ศ. 2547 จัดทาระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2547 และในตน้ ปี พ.ศ. 2548
ได้จัดทาวิธีการปฏิบัติในการดาเนินงานด้านต่าง ๆ อีก 14 ฉบับ และมีการปรับเปล่ียนโครงสร้างการดาเนิน
กจิ กรรมหลกั ครั้งสาคัญจาก 10 โครงการหลกั มาเปน็ 5 กจิ กรรมหลกั และไดด้ าเนนิ งานมาจนถงึ ปัจจุบัน

1.3 หนว่ ย อกท.ที่ไดร้ ับกำรจัดตง้ั และดำเนนิ กิจกรรม

ปัจจุบัน(ปีการศึกษา 2562) มีหน่วย อกท.ท่ีได้รับการจัดต้ังขึ้นและมีการดาเนินกิจกรรม อกท.รวม
ท้ังสิน้ 52 หนว่ ย แบ่งออกตามภูมภิ าคต่าง ๆ 4 ภมู ภิ าคดงั น้ี

1.3.1 ภำคกลำง มกี ารจดั ตงั้ อกท. และดาเนินกิจกรรม อกท. รวมท้ังส้นิ จานวน 13 หน่วย

1) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบรุ ี อกท. หนว่ ยกาญจนบรุ ี

2) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา อกท. หน่วยฉะเชงิ เทรา

3) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ัยนาท อกท. หน่วยชัยนาท

4) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี อกท. หน่วยชลบุรี

5) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบรุ ี อกท. หนว่ ยเพชรบรุ ี

6) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี างไทร อกท. หนว่ ยบางไทร

7) วทิ ยาลยั การอาชีวศกึ ษาปทมุ ธานี อกท. หน่วยบางพนู

8) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี อกท. หน่วยราชบรุ ี

9) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีลพบรุ ี อกท. หน่วยลพบรุ ี

10) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี งิ ห์บุรี อกท. หนว่ ยสงิ ห์บุรี

11) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี อกท. หน่วยสุพรรณบุรี

12) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ระแกว้ อกท. หน่วยสระแกว้

13) วิทยาลัยประมงสมทุ รปราการ อกท. หน่วยสมุทรปราการ

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 16

1.3.2 ภำคเหนอื มีการจดั ตง้ั อกท. และดาเนนิ กิจกรรม อกท. รวมทั้งส้นิ จานวน 12 หน่วย

1) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร อกท. หน่วยกาแพงเพชร

2) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งราย อกท. หน่วยเชียงราย

3) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ อกท. หน่วยเชยี งใหม่

4) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีตาก อกท. หนว่ ยตาก

5) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครสวรรค์ อกท. หนว่ ยนครสวรรค์

6) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร อกท. หน่วยพจิ ติ ร

7) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ อกท. หน่วยเพชรบรู ณ์

8) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพะเยา อกท. หนว่ ยพะเยา

9) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่ อกท. หน่วยแพร่

10) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีลาพนู อกท. หน่วยลาพนู

11) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสโุ ขทัย อกท. หนว่ ยสโุ ขทัย

12) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอทุ ัยธานี อกท. หนว่ ยอุทยั ธานี

1.3.3 ภำคตะวันออกเหนือ (ภำคอีสำน) มีการจัดต้ัง อกท. และดาเนินกิจกรรม อกท. รวมท้ังส้ิน

จานวน 12 หนว่ ย

1) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ อกท. หน่วยขอนแก่น

2) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ัยภมู ิ อกท. หน่วยชยั ภูมิ

3) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา อกท. หน่วยนครราชสีมา

4) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรมั ย์ อกท. หน่วยบุรีรัมย์

5) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม อกท. หนว่ ยมหาสารคาม

6) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยยี โสธร อกท. หนว่ ยยโสธร

7) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีรอ้ ยเอด็ อกท. หน่วยร้อยเอด็

8) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี รสี ะเกษ อกท. หน่วยศรสี ะเกษ

9) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ดุ รธานี อกท. หนว่ ยอดุ รธานี

10) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีอบุ ลราชธานี อกท. หนว่ ยอุบลราชธานี

11) วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละการจัดการโนนดนิ แดง อกท. หน่วยโนนดนิ แดง

12) วิทยาลัยเทคโนโลยแี ละการจัดการดอนตาล อกท. หน่วยมกุ ดาหาร

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 17

1.3.3 ภำคไต้ มกี ารจดั ตัง้ อกท. และดาเนนิ กิจกรรม อกท. รวมทงั้ ส้ิน จานวน 12 หนว่ ย

1) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ อกท. หนว่ ยกระบ่ี

2) วิทยาลยั ประมงชมุ พรเขตรอดุ มศักดิ์ อกท. หนว่ ยเขตรอดุ มศกั ด์ิ

3) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร อกท. หน่วยชุมพร

4) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยตี รงั อกท. หน่วยตรงั

5) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครศรธี รรมราช อกท. หน่วยนครศรีธรรมราช

6) มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร์ อกท. หนว่ ยนราธวิ าส

7) วิทยาลัยเทคโนลกี ารเกษตรและประมงปัตตานี อกท. หนว่ ยปตั ตานี

8) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพงั งา อกท. หน่วยพงั งา

9) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ัทลุง อกท. หนว่ ยพัทลงุ

10) วทิ ยาลัยการอาชพี นครศรธี รรมราช อกท. หน่วยพระพรหม

11) วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ อกท. หนว่ ยพรานทะเล

12) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง อกท. หนว่ ยระนอง

13) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อกท. หน่วยสงขลา

14) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ตูล อกท. หน่วยสตลู

15) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎรธ์ านี อกท. หน่วยสุราษฎรธ์ านี

ตำรำงท่ี 1.1 จานวนสถานศึกษาที่มีการจัดตัง้ หนว่ ย อกท. ในประเทศไทย

ภำค

สถำนศึกษำ เหนือ กลำง ตะวนั ออก ไต้ รวม
เฉยี งเหนือ
10 43
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี 12 11 10 - 2
1 1
วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละการจัดการ -- 2 2 3
1 1
วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมง - - - - 1
1 1
วทิ ยาลยั ประมง -1 - 15 52

วิทยาลัยการอาชพี -- -

วิทยาลัยการอาชวี ศกึ ษา -1 -

มหาวทิ ยาลยั -- -

รวม 12 13 12

ราชิน ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)

F F T | 18

ในจานวนหน่วย อกท.ทั้งหมดนี้ มีหน่วย อกท. ท่ีไม่ได้สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จานวน 1 หนว่ ย คอื หนว่ ยนราธิวาส เน่ืองจากหนว่ ยดังกล่าวได้เปลีย่ นสถานะไปสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษา เม่อื ปีการศึกษา 2549 แตย่ งั มกี ารดาเนินกจิ กรรม อกท. ในระดบั หนว่ ย และได้เข้าร่วมกจิ กรรม
ของ อกท.ในระดบั ภาค และระดบั ชาติ อย่จู นถงึ ปัจจุบันน้ี ซง่ึ แตกต่างจาก อกท.หนว่ ยนครพนม ของ อกท.ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทไ่ี ด้เปลย่ี นสถานะไปสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เม่อื ปีการศกึ ษา 2549
เช่นเดียวกันกับ อกท.หน่วยนราธิวาส แต่ได้ลาออกจากการเป็นสมาชิก อกท.เมื่อปีการศึกษา 2550 ที่ผ่านมา
และในปีการศึกษา 2552 อกท.ได้ประกาศจัดตั้งหน่วย อกท.ใหม่ เพ่ิมข้ึนมาอีก 1 หน่วย คือหน่วยมุกดาหาร
จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ทาให้ อกท.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี
หนว่ ย อกท.เพ่มิ ขึ้นเป็น 12 หนว่ ยในปัจจบุ นั

แบบฝึกหัดท้ำยหนว่ ยที่ 1

คำส่ัง จงตอบคำถำมต่อไปนี้
1. จงเขียนประวัติความเป็นมาขององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ อเมริกามาพอสังเขป
2. จงเขียนประวัติความเป็นมาขององค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศญป่ี นุ่ พอสงั เขป
3. จงเขยี นประวัตคิ วามเป็นมาขององค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศเกาหลมี าพอสงั เขป
4. จงเขยี นประวตั คิ วามเป็นมาขององค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ สม์ าพอสังเขป
5. จงเขยี นประวตั ิความเปน็ มาขององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย (FFT: Future

Farmers of Thailand) พอสงั เขป
6. เหตผุ ลสาคัญในการนาเอารูปแบบองค์การเกษตรกรในอนาคตมาใชใ้ นประเทศไทยคอื อะไร
7. จงบอกสถานที่จดั การประชุมวิชาการคร้งั แรกของ อกท.ระดบั ภาคแตล่ ะภูมิภาค และ ระดบั ชาติ
8. จงบอกรายช่อื สถานศึกษาและหนว่ ย อกท.ท่ีไดร้ ับการจดั ตั้งและดาเนินกิจกรรมในแต่ละภาค

ราชนิ ธารวาวแวว 20500 – 1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต (Future Farmers)


Click to View FlipBook Version