The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nporpin178, 2020-10-12 02:49:29

RESEARCH1

R1

การพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
โดยใชใ้ บงานการทดลองระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม

ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปที ่ี 2 กลมุ่ ซี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

นายชัยวฒั น์ พอพนิ
แผนกวิชาช่างไฟฟา้

วิทยาลยั เทคนคิ เชียงใหม่
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ



กติ ตกิ รรมประกาศ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบ
ควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู ปีท่ี 2 กลมุ่ ซี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ครั้งน้ีสาเร็จลุล่วงได้เพราะได้รับความร่วมมือช่วยเหลือและการสนับสนุนจาก ทางวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า คณะครูและนักศึกษาทุกท่าน

ขอขอบคุณ ผู้เช่ียวชาญท่ีได้ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบเครื่องมืองานวิจัยและนักศึกษาท่ีตอบ
แบบสอบถามในคร้ังนี้ในครั้งน้ี

นายชัยวัฒน์ พอพิน
ครู คศ.2



ชอื่ เรื่อง การพัฒนาทกั ษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลอง
ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูงปที ่ี 2 กลุ่ม ซี
ช่อื ผู้วิจยั ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ปี นายชัยวฒั น์ พอพิน
ครู คศ.2
2563

บทคดั ย่อ

การพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงาน
อตุ สาหกรรม ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูงปีที่ 2 กลุ่ม ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เป็นการวิจัย
เชิงสารวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม
โดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปีท่ี 2 กลุ่ม ซี
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม
โดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปีที่ 2 กลุ่ม ซี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีได้แก่ นักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีท่ี 2สาขางานไฟฟ้ากาลัง จานวน 29 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการ
สอน,แบบประเมนิ ตนเองหลงั ปฏิบตั ิงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ(%) ค่าเฉล่ีย (x bar)
ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า

1.ผลการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงาน
อุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 กลุ่ม ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ด้านระดับ
ประสิทธิภาพ โดยรวมระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก แต่เม่ือทาการพิจารณารายข้อพบว่าระดับประสิทธิภาพ
ในหวั ข้อนกั ศึกษาสามารถปอ้ นโปรแกรมลงเครื่อง PLC หรือ คอมพิวเตอร์ได้ ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี
เย่ยี มสว่ นหัวขอ้ ท่ีเหลอื ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับดที งั้ หมด

2. ระดับความพึงพอใจ ในรายวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ผ่านการเรียนปฏิบัติของนักศึกษา
นักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากาลงั ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ใน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด้านความพึงพอใจโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 4.58 ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากท่ีสุด และเมื่อทาการพิจารณารายข้อพบว่าระดับคะแนนในทุกหัวข้อระดับความพึงพอใจของนักศึกษาอยู่
ในระดบั มากทส่ี ดุ ทุกหวั ขอ้

3. ผลสรปุ ข้อเสนอแนะมีดงั น้ี ด้านสถานท่ี ควรมีการปรับปรงุ ห้องปฏิบตั ิการให้น่าเรยี นเนื่องจากมีเสียง
ดังรบกวนจากห้องเรียนข้างๆ ด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน ควรเพิ่มใบงานและหาอุปกรณ์ในการทดลองท่ี
น่าสนใจและทนั สมยั เพอ่ื ดงึ ดูดความสนใจของนกั ศึกษา

ค หน้า

สารบัญ ข
1
กติ ตกิ รรมประกาศ 1
บทคดั ย่อ 1
บทที่ 1 บทนา 2
2
ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 2
วัตถปุ ระสงค์ 3
กรอบแนวคิดการวิจยั 3
สมมติฐานการวิจยั 4
นยิ ามศพั ท์ 6
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 6
การจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 6
งานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง 6
บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การวจิ ัย 7
ประชาการและกลุ่มตัวอยา่ ง 7
เคร่อื งมือรวบรวมข้อมูล 7
การสร้างเครื่องมือ 9
การรวบรวมข้อมลู 11
สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิจยั 11
เกณฑ์การแปลผล 11
บทที่ 4 ผลการวิจัย 12
บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 13
สรุปผลการวิจยั 14
อภปิ รายผล
ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

บทที่ 1

บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา
ในการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันและในวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่แห่งนี้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน

การปฏิบัติ และในการปฏิบัติเอกสารใบงานท่ีใช้ประกอบการเรียนปฏิบัติถือเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนมี
ความสนใจมากหรือน้อยและผู้เรียนจะทาได้อย่างต้ังใจและนอกจากน้ี ผู้เรียนจึงจาเป็นต้องมีทักษะการเรียนรู้
เพ่ิมขึ้นหลายประการ อาทิ ทักษะทางภาษา ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (ดวงกมล สินเพ็ง. 2551)
การพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นจะต้องคานึงถึงผู้เรียน
เป็นสิง่ สาคญั เนอื่ งจากการทีจ่ ะประสบความสาเร็จในการเรยี นการสอน ผ้เู รียนเปน็ ผู้ชีว้ ัดในการเรียนการสอนที่
มีประสิทธิภาพ และอีกวิชาชีพหนึ่งท่ีน่าสนใจคือวิชาทางด้านไฟฟูากาลัง ซึ่งได้ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายใน
ชีวิตประจาวนั เช่น ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรมเพื่อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟูาท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิตสิ่งน้ี
ทาให้ผวู้ ิจัยเลง็ เห็นความสาคัญของการเรียนการสอนวิชาชีพไฟฟูากาลัง เพราะเป็นวิชาชีพท่ีต้องทาการฝึกฝน
และปฏิบัติ การพัฒนาทักษะของผู้เรียน เพ่ือให้เกิดความชานาญในการทางานทางด้านไฟฟูากาลังอย่างปลอดภัย
ประณีตเรียบร้อยและมีคุณภาพ ตามอัตลกั ษณ์ของช่างอตุ สาหกรรมวทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่

การจดั การเรยี นการสอนในวชิ าระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม ซ่ึงให้ความสาคัญท้ังด้านทฤษฎีและ
ปฏิบัติ สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นแสวงหาคาตอบจากการปฏบิ ตั ผิ ่านการต่อวงจรเพ่ือพิสูจน์คาตอบจากตารางความจริง
โดยที่ผูเ้ รยี นหรอื ครผู ู้สอนรว่ มกันกาหนดเรอื่ งท่ตี ้องการเรยี นรู้ แล้วดาเนนิ การแสวงหาความรู้ด้วยกระบวนการ
แก้ปัญหา โดยครูผูส้ อนเปน็ ผ้อู านวยความสะดวกใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้จากประสบการณต์ รงและจากแหล่งเรยี นรู้
ซ่ึงในส่วนของวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่มุ่งเน้นให้นักศึกษาพัฒนาตัวเองและ ประสบผลสาเร็จโดยการฝึกฝนตัวเอง
อยู่เสมอ โดยเน้นให้นกั ศกึ ษาไดเ้ รยี นรู้ผ่านการปฏิบัติ การพฒั นาความรู้ทักษะวชิ าชพี ของผู้เรียนเพื่อให้เกิดการ
ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี ไฟฟูากาลัง จะต้องมีความสามารถในการรู้จักคุณสมบัติของอุปกรณ์ไฟฟูาและสามารถนาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้ แต่ยังมีนักศึกษาสาขาไฟฟูากาลังยังขาดทักษะและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพไฟฟูากาลังเป็น
จานวนมากเนือ่ งจากนักศึกษายงั ขาดความเข้าใจและความสนใจในการเรยี น ผู้จัดทางานวิจัยจึงมีความสนใจใน
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมเข้ามีส่วนร่วมในการเรียนซ่ึงกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนน้ี คือการ
จดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมมากที่สุด โดยผู้เรียนเรียนรู้จากการ
ปฏบิ ัติงานจรงิ

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อการพฒั นาทกั ษะระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรมโดยใชใ้ บงานการทดลองระบบควบคุมในงาน

อุตสาหกรรม ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูงปที ี่ 2 กลุ่ม ซี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
2. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลอง

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีท่ี 2 กลุ่ม ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2563

2

กรอบแนวคดิ การวจิ ัย
การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้นาหลักการ/แนวคิด/ทฤษฎี เกี่ยวกับ ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมมา

ประกอบการศึกษานี้ ผู้ศึกษาวิจัยจึงได้นาแนวคิดดังกล่าวมาใช้ และประมวลเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยดัง
แผนภาพตอ่ ไปนี้

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

1. ใบงานวิชาระบบควบคมุ ในงาน การพฒั นาทักษะระบบควบคุมในงาน
อุตสาหกรรม อตุ สาหกรรมโดยใชใ้ บงานการทดลอง
2. แบบสอบถามความพึงพอใจทมี่ ตี อ่ ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม ระดับ
เอกสารการเรียนการสอนวิชาระบบ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูงปีที่ 2
ควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม กลมุ่ ซี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562

สมมติฐานการวจิ ัย
1. การพฒั นาทักษะระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงาน

อตุ สาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูงปีท่ี 2 กลุ่ม ซีภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 อยใู่ นระดับดี
2. ความพงึ พอใจการพฒั นาทักษะระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบ

ควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู ปีท่ี 2 กลุ่ม ซี ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563
อย่ใู นระดับดี

นิยามศพั ท์
นกั ศึกษากลุ่ม ซี หมายถงึ นักศกึ ษาสาขาวชิ าช่างไฟฟูา สาขางานไฟฟูากาลัง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชั้นสูงปีที่ 2 ของวทิ ยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
การสอนปฏิบัติวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมหมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้

ผเู้ รียนแสวงหาคาตอบจากการปฏบิ ตั ผิ ่านการเขยี นโปรแกรมเพ่ือพิสูจน์คาตอบจากตารางความจริงและแสวงหา
ความรู้กระบวนการแก้ปัญหา โดยท่ีผู้เรียนหรือครผู สู้ อนร่วมกันกาหนดเรื่องท่ีต้องการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนเป็น
ผูอ้ านวยความสะดวกให้ผ้เู รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรงและจากแหล่งเรียนรู้ เพอื่ สรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง

3

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง

การจดั การเรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั
การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ การเรยี นรูโ้ ดยมีผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง มีแนวคดิ มาจากแนวคิดของ จอห์น ดิวอ้ี (John

Dewey) ซ่ึงเป็นตน้ คิดในเร่ืองของการเรียนร้โู ดยการกระทาหรือ Learning by doing ทฤษฎีน้ีเป็นท่ียอมรับทว่ั โลก
ซ่งึ รูปแบบของการจัดการเรยี นการสอนโดยใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ ผู้ลงมือปฏบิ ัติ โดยเปลย่ี นบทบาทจาก “ผูร้ บั ” มาเป็น
“ผ้เู รียน” และบทบาทของ “ครู” จากผถู้ า่ ยทอดขอ้ มลู มาเปน็ “ผู้จัดประสบการณ์เรยี นรู้”
ความหมายของการเรียนรูท้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

นกั วิชาการหลายทา่ นได้ให้ความหมายของการเรียนรทู้ เี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ดังนี้ ชนาธปิ พรกุล
(2543; 50) ได้ให้ความหมายว่า การเรยี นรทู้ ี่เกิดจากการคิด การคน้ ควา้ การทดลอง และการสรปุ เป็นความรู้
โดยตัวผ้เู รยี นเอง ผูส้ อนจะเปลี่ยนบทบาทหน้าท่จี ากการถ่ายทอดความรู้มาเป็นผวู้ างแผนจัดการ ช้ีแนะและอานวย
ความสะดวกให้กบั ผู้เรียน ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ จงึ หมายถงึ การจดั การให้
ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ทกั ษะการเรยี นรู้

ผ้ศู กึ ษาสรุปว่า ทกั ษะการเรียนรู้ เกดิ ข้ึนจากการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม ท่ีได้รับมาจาก
ประสบการณ์ ซึ่งพฤติกรรมทีเ่ ปลี่ยนไปเกิดขึ้นได้จากพุทธิพสิ ัย ทักษะพสิ ยั และจิตพสิ ัย การเกิดการเปลยี่ นแปลง
พฤติกรรมซึ่งเกิดขึน้ ไดจ้ ากสิ่งเรา้ และการตอบสนอง ดงั นั้นทฤษฎกี ารเรียนรู้ต่าง ๆ สามารถนาไปประยุกต์ใช้
เปน็ หลกั ในการจัดการเรยี นการสอนได้ ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การจัดสภาพท่ีเหมาะสมสาหรับการเรียนการสอน
การจูงใจ การรบั รู้ การเสริมแรง การถา่ ยโยงการเรียนรู้ ฯลฯ ซ่งึ เปน็ ผลตอ่ การจัดสภาพท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้
เพือ่ การจัดการเรยี นการสอน ท่ีสอดคล้องกับทฤษฎกี ารเรยี นรู้ เพื่อเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ
การฝกึ ทกั ษะการปฏิบตั แิ ละการพฒั นาทกั ษะ

ผูเ้ รียนไดก้ ระทาสิง่ ตา่ งๆ ด้วยตนเอง ผ่านการปฏบิ ัติการจริงคือ ผู้เรยี นได้ฝึกในสภาพส่ิงแวดล้อมจรงิ
ได้ฝกึ คดิ และลงมือทาสงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ท้งั นี้ การสนับสนุนให้เด็กไดพ้ ัฒนาคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคต์ ามวยั
และได้ผลตามความคาดหวงั ของสังคมนัน้ การจัดประสบการณ์จะใหค้ วามสาคัญกับบทบาทการเรียนรขู้ องเด็ก
จึงไดม้ ีการศึกษาแนว คดิ ท่ีจะนาไปสู่การปฏบิ ตั ิได้ การใชแ้ นวคดิ ท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้ลงมือกระทาหรือการ
ปฏบิ ัตใิ นสภาพจรงิ จึงเปน็ ท่สี นใจและนามาใช้ ดังท่ีประเทศไทยไดก้ าหนดพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ
พุทธศักราช 2542 เน้นให้มีแนวการจดั การศึกษาทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ซ่งึ กลา่ วถึงการส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้
ปฏิบตั ิหรือลงมือกระทา
ใบงานวิชาระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม

โครงสรา้ งสว่ นประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ คาสั่ง การปอู นข้อมลู วงจรการใช้งาน
ควบคมุ มอเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ไฟฟูาต่างๆ วงจรควบคุมระบบนิวเมติกส์ การแก้ไขและปรับปรงุ โปรแกรม
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ความหมายและองคป์ ระกอบของแรงจงู ใจ ( Motivation)

แรงจูงใจ หมายถึง สภาวะท่ีอินทรีย์ถูกกระตุ้นให้แสดงพฤติกรรมเพ่ือไปยังจุดมุ่งหมายดังน้ันแรงจูงใจ
จึงเป็นความปรารถนา ท่ีบุคคลมีความต้องการท่ีจะบรรลุเปูาหมายโดยการเรียนรู้ของแต่ละคนน่ันเอง เม่ือ
บคุ คลได้รับการกระตุ้นจากส่ิงเร้าต่างๆ และบุคคลจะเกิดความต้องการ ( Needs ) และถ้าความต้องการของ

4

บุคคลไม่ได้รับการตอบสนอง บุคคลจะเกิดความเครียด ( stress ) เมื่อบุคคลสะสมความเครียดไว้มาก ๆ
บคุ คลจะขาดความสุขในการดาเนินชีวิต การสะสมความเครียด ความวิตกกังวลมากๆ จะทาให้บุคคลเกิดแรง
ขับ ( drive ) ท่ีจะกระทากิจกรรมบางอย่างหรือแสดงพฤติกรรมบางอย่างให้ลดความเครียดนั้นลงมา
กระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในน้ีเอง ซ่ึงจะทาการกระตุ้นให้บุคคลไปสู่การกระทาบางอย่างที่ไปสู่เปูาหมาย
กระบวนการเชน่ นี้เรียกวา่ แรงจูงใจ ( Motivation )
องค์ประกอบในการเกดิ แรงจงู ใจ มี 4 ข้นั ตอน คอื

1. ขั้นความต้องการ (needs stage) ความต้องการเป็นสภาวะขาดสมดุลที่เกิดได้เม่ือบุคคลขาดส่ิงท่ี
จะทาให้ส่วนต่าง ๆ ภายในร่างกายทาหน้าท่ีไปตามปกติ สิ่งที่อาจจะเป็นสิ่งท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิตจึงทา
ให้เกดิ แรงขบั และเกดิ แรงกระตุ้น เช่น ความหิว เมื่อบุคคลหิวบุคคลก็ต้องพยายามหาอาหาร คนที่ลดน้าหนัก
โดยการใช้ยาลดความอ้วน ยาจะไปกดประสาทไม่ให้หิวแต่พอหลังจากไม่ใช้ยาลดน้าหนัก จะเห็นว่าคนท่ีลด
น้าหนักโดยใช้ยาจะกินอาหารชดเชยมากข้ึนและอาจจะกลับมาอ้วนใหม่อีกหรือเด็กเล็กท่ีไม่กินนมตอนปุวย
แต่พอให้ปุวยเด็กจะเร่ิมกินนมมากขึ้นเพื่อชดเชยตอนที่ปุวยความกระหายก็เป็นความต้องการอีกอย่างที่เมื่อ
เกดิ แล้วบุคคลต้องหาวิธกี ารเพ่อื ให้หายกระหาย ความตอ้ งการทางเพศและความต้องการการพักผ่อนก็จัดเป็น
ความตอ้ งการข้นั พ้ืนฐานในการดารงชีวิต และไม่มใี ครในโลกน้ีท่ีพยายามฝืนเพ่ือไม่ให้ตนเองหลับมนุษย์ทุกคน
ตอ้ งการการพกั ผ่อนดว้ ยกนั ทงั้ ส้ิน

2. ขั้นแรงขับ ( drive stage ) หรือภาวะท่ีบุคคลถูกกระตุ้นให้เกิดแรงขับเม่ือบุคคลเกิดแรงขับ
แล้วบุคคลจะน่ิงอยู่เฉย ๆ ไม่ได้บุคคลอาจจะรู้สึกไม่มีความสุข กระวนกระวายใจ ดังน้ันบุคคลจะคิดค้นหา
วิธีการที่ทาให้ตนเองรู้สึกว่าได้รับการตอบสนองจากความหิว ความกระหาย ความต้องการท้ังปวงท่ีเกิดขึ้น
เพ่ือผลักดันให้ไปสู่จุดหมายปลายทาง ตามที่บุคคลต้องการ เช่น เม่ือเราว่ิงเหน่ือยๆ อากาศก็ร้อนจัด ทาให้
เราเหนอ่ื ยและคอแห้งอยากกนิ น้าส่งิ ทเ่ี ราต้องการบาบัดความกระหายในช่วงเวลาน้ันคือน้า บุคคลจะพยายาม
ทุกวธิ ีทางท่จี ะหานา้ มาดื่ม

3. ข้ันพฤติกรรม ( behavior stage ) เป็นขั้นท่ีเกิดแรงขับอย่างมากท่ีทาให้บุคคลเดินไปหาน้าดื่ม
โดยการเดนิ เขา้ ไปในร้านสะดวกซือ้ แลว้ เปดิ ขวดด่มื แล้วจงึ เดนิ มาจ่ายสตางคห์ รือถ้าทนต่อความกระหายน้าได้ก็
รีบเดินอย่างรวดเร็วไปจา่ ยสตางคแ์ ลว้ ยกน้าด่ืมรวดเดียวหมดขวด ชนื่ ใจ ความกระหายกบ็ รรเทาลง

4. ข้ันลดแรงขับ ( drive reduction stage ) เป็นข้ันสุดท้ายท่ีอินทรีย์ได้รับการตอบสนองคือ ได้ด่ืม
น้าเป็นข้ันที่บุคคลเกิดความพึงพอใจ ความต้องการต่างๆ ก็จะลดลง ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเง่ือนไข แบบ
แบบการกระทาของสกนิ เนอร์

สกินเนอร์ (B.F. Skinner) เกิดในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ในปี ค.ศ. 1904 มีบทบาทสาคัญในการนา
บทเรียนสาเร็จรูปและเครื่องมือมาใช้ บางคนเรียกว่า ทฤษฎีเสริมแรง การเสริมแรงเป็นการช่วยตอบสนอง
ส่ิงเร้าใหป้ รากฏข้นึ ซ้าอยูเ่ สมอจนทาใหเ้ กดิ ความเคยชินสิง่ เร้าเดมิ การตอบสนองเชน่ เดิม กต็ ามมาคือ เกิดเป็น
การเรียนรู้
การประยุกตใ์ ช้ในการสอน

1. การตัง้ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
2. การใช้ตัวเสรมิ แรง ได้แก่ ย้ิมแย้ม การชมเชยจากครู คะแนน
3. การใชบ้ ทเรยี นสาเรจ็ รปู
งานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ ง
นายพิษณุ สนิ เธาว.์ (2556). ไดศ้ ึกษาเรอื่ ง ชดุ ทดลองสัญญาณไฟจราจรดว้ ยโปรแกรมเมเบิลลอจกิ
คอนโทรลเลอร์. งานวจิ ัยชิ้นน้ผี ้วู จิ ยั ได้สรา้ งชดุ ทดลองสญั ญาณไฟจราจรดว้ ยโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์

5

ข้นึ มาใช้กับนักศึกษาแผนกชา่ งไฟฟูา ระดับชัน้ ปวส.2 โรงเรียนฐานเทคโนโลยี ปีการศกึ ษา 2556 จานวน 30 คน
ท่ีเรยี นในรายวิชา ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม โดยการใหน้ ักศึกษาไดท้ ดลองเรยี นดว้ ยชดุ ทดลองและทา
ใบงานเพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มลู และใชส้ ถิติ t-test เปน็ สถติ ทิ ่ีใชท้ ดสอบ

นางสาวสารินี จิรอนันต์อนวัช และ นางสาวอสมาภรณ์ เทียนวิจิตรฉาย.(2553). ได้ศึกษาเรอ่ื ง การ
ควบคุมระบบจาลองกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม(MSS) โดยใช้ PLC Bosch Rexroth. โครงงานน้ไี ด้
นาเสนอการศึกษาวจิ ัยและทดลองในการเขยี นโปรแกรมเพอ่ื ควบคมุ แบบจาลองกระบวนการผลติ ในงานอุตสาหกรรม
(MSS)โดยใช้ PLC Bosch Rexroth เพือ่ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอตุ สาหกรรม ซง่ึ มีการนา PLC มาควบคุมใน
งานอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย ในการศึกษาวจิ ัยและทดลองคร้งั นี้ ได้ศึกษาวิธกี ารควบคุมใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
เพมิ่ มากขึน้ โดยการลดระยะเวลาในการทางานลงเพ่ือใหไ้ ด้ต้นทุนทตี่ ่าลง มีความต่อเน่ืองมากขึน้ และลดระยะ
เวลาการทางานในแตล่ ะคร้ังน้อยลง ทาให้ระบบมีประสิทธิภาพมากข้ึน

6

บทท่ี 3

วธิ ดี าเนนิ การวิจัย

ประชาการและกลุ่มตวั อยา่ ง
1. ประชากรในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นกั ศกึ ษาแผนกวชิ าช่างไฟฟูา สาขาไฟฟาู สาขางานไฟฟูากาลงั

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสงู ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563
2. กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการศึกษาไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง คอื นักศกึ ษาแผนกวชิ าช่างไฟฟูา สาขาไฟฟาู

สาขางานไฟฟูากาลงั ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สงู ปีที่ 2 วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา
2563 ซ่งึ ไดท้ าการเลือกมา 1 หอ้ งเรียน คือ นักศึกษากล่มุ ซี จานวนท้ังหมด 29 คน

เคร่อื งมือรวบรวมข้อมูล
เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล มี 2 อยา่ ง คือ
1. แบบประเมินความพงึ พอใจต่อเอกสารประกอบการสอน ท่ผี ู้วจิ ัยสร้างขึน้ ประกอบด้วย 3 ตอน

ตอนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพทั่วไป ซ่ึงเปน็ แบบตรวจสอบรายการ ( Cheek list )
ตอนที่ 2 ระดับความพงึ พอใจต่อเอกสารประกอบการสอน วิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมเป็น
แบบสอบถามเชงิ สารวจแบบมาตราส่วนประมาณคา่ ทีม่ ี 5 ระดับ ( Rating Scale)
ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะต่อการเรยี นการสอนวิชาระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
2. แบบประเมนิ ตนเองเกยี่ วกับการปฏิบัติงานโดยมกี ารวดั ผลสัมฤทธขิ์ องผูเ้ รยี นกอ่ นและหลังเรยี น

การสรา้ งเคร่ืองมือ
1. ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เก่ียวกบั การเรียนการสอนโดยเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ
2. นาแนวคดิ ทฤษฎีและข้อมูลตา่ ง ๆ มาสรา้ งแบบสอบถามทีม่ ลี ักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ และแบบสอบถามปลายเปิด ดังน้ี

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเกยี่ วกบั สถานภาพทว่ั ไป
ตอนท่ี 2 แบบประเมินความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการสอน ดงั น้ี

คะแนน 1 หมายถึง มีการปฏิบตั ิอยใู่ นระดบั นอ้ ยมาก
คะแนน 2 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับ น้อย
คะแนน 3 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดบั ดี
คะแนน 4 หมายถึง มีการปฏิบัติอย่ใู นระดับ ดมี าก
คะแนน 5 หมายถึง มีการปฏิบัติอยใู่ นระดับ ดเี ยย่ี ม
และการแปลค่าเฉล่ยี ของประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการ ดงั นี้
คะแนนเฉล่ยี 4.75 – 5.00 หมายถึง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอยู่ในระดับ ดีเย่ียม
คะแนนเฉลีย่ 4.50 – 4.74 หมายถึง ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการอยู่ในระดับ ดีมาก
คะแนนเฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึง ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การอยู่ในระดับ ดี
คะแนนเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถงึ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอยู่ในระดับ น้อย
คะแนนเฉล่ยี 1.00 – 2.49 หมายถงึ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การอยู่ในระดับ น้อยมาก

7

ตอนที่ 3 แบบสอบถามปลายเปดิ สอบถามเกย่ี วกับข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนาการเรียนการสอน
วชิ าระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
3. นาแบบสอบถามฉบับร่างเสนอต่อท่ีปรกึ ษาฝุายประกันคุณภาพ เพ่ือทาการปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เหมาะสม
4. ปรบั แก้ไขแบบสอบถามตามคาแนะนาของฝุายประกนั คุณภาพวิทยาลัยกาหนด
5. นาเครื่องมือฉบบั ทแี่ ก้ไขแล้วใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญตรวจสอบความเท่ยี งตรงของเนื้อหาและภาษาท่ใี ชโ้ ดยให้ผ้เู ชีย่ วชาญ
เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม ความตรงเชิงเนื้อหา
6. นาแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขใหม้ ีความเหมาะสมยิ่งข้นึ ตามข้อเสนอแนะของผเู้ ช่ียวชาญเป็นข้ันสดุ ท้าย
กอ่ นนาไปทดลองใช้
7. นาไปจดั พมิ พ์เป็นแบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์เพื่อใช้เก็บข้อมูลต่อไป

การรวบรวมขอ้ มลู
ผู้วจิ ยั ไดท้ าการรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตวั เองโดยใชแ้ บบสอบถามท่ผี ้วู ิจัยสรา้ งขนึ้ นกั ศกึ ษาแผนกวชิ าชา่ งไฟฟูา

สาขาไฟฟาู สาขางานไฟฟาู กาลัง ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู ปที ี่ 2 วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ ในภาคเรียนท่ี 1
ปีการศึกษา 2563 โดยมีขั้นตอนดังน้ี

1. จัดทาเอกสารประกอบการเรยี นการสอนและใช้สอนนักศึกษาในรายวชิ าระบบควบคุมในงาน
อุตสาหกรรม

2. จดั ทาหนงั สือขออนุญาตเก็บขอ้ มลู นกั ศกึ ษาในหวั ข้อเรอ่ื ง ความพงึ พอใจของนักศกึ ษากลุม่ ซตี อ่
การเรียนวชิ าระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ผ่านการเรยี นปฏิบตั ิของนักศึกษานักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟาู
สาขาไฟฟูา สาขางานไฟฟาู กาลัง ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง ปที ่ี 2 วทิ ยาลัยเทคนิคเชยี งใหม่ ในภาคเรยี นที่ 1
ปกี ารศึกษา 2563

3. เมอ่ื ไดร้ ับการอนุญาต ผ้วู ิจยั จงึ นาแบบสอบถามไปเก็บข้อมลู จากนักศึกษาแผนกวชิ าช่างไฟฟูา สาขา
ไฟฟาู สาขางานไฟฟูากาลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ปที ี่ 2 วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ ในภาคเรยี นที่ 1 ปี
การศกึ ษา 2563 ทเ่ี ป็นกลุม่ ตัวอย่าง โดยผู้วิจยั ได้ทาการแจกแบบสอบถาม อธบิ าย และเก็บแบบสอบถามด้วย
ตนเองทั้งหมด

สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
การวจิ ยั ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ดว้ ยโปรแกรมประมวลผลในการหาคา่ ร้อยละ หาค่าเฉล่ียและ

ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนนระดบั การปฏิบตั งิ าน ดังน้ี
1. ข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากแบบสอบถามตอนท่ี 1 ใช้ ค่าร้อยละ
2. ความเขา้ ใจของนักศึกษากล่มุ ซีต่อการจดั การเรยี นการสอน ใช้ คา่ ร้อยละ และส่วนเบีย่ งเบน

มาตรฐาน จากแบบสอบถามตอนที่ 2 การจดั การเรียนการสอน 3 ด้าน ได้แก่ การให้คาปรึกษาจากอาจารย์
ผ้สู อน กระบวนการ ขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอน และสภาพแวดล้อมและส่ือทีส่ ง่ ผลต่อการเรียน

เกณฑก์ ารแปลผล
การแปลผลคา่ คะแนนและค่าเฉลีย่ ผูศ้ ึกษาได้กาหนดไวด้ ังนี้

เกณฑ์กาหนดค่าคะแนนคือ 5 ระดบั ของ Likert โดยกาหนดชว่ งคะแนนของแต่ละระดบั การปฏบิ ตั ใิ ห้มี
ความหมาย ดงั นี้

8

ระดับความพงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ กาหนดคะแนนเท่ากับ 1 คะแนน

ระดบั ความพงึ พอใจน้อย กาหนดคะแนนเท่ากับ 2 คะแนน

ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง กาหนดคะแนนเท่ากับ 3 คะแนน

ระดับความพึงพอใจมาก กาหนดคะแนนเท่ากับ 4 คะแนน

ระดบั ความพงึ พอใจมากท่ีสดุ กาหนดคะแนนเท่ากับ 5 คะแนน

เกณฑ์กาหนดค่าเฉลี่ย คือ มาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ พจิ ารณาตามเกณฑ์ ตามแนวความคดิ ของ BEST

(อ้างใน ปรารถ หลงสมบุญ, 2552 : 69-70) มีเกณฑก์ ารแปลผล ดังนี้

คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลวา่ มีระดบั ความพงึ พอใจน้อยทีส่ ุด

คา่ เฉลย่ี 1.50 – 2.49 แปลวา่ มีระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย

ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 แปลว่า มีระดับความพึงพอใจปานกลาง

ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49 แปลว่า มีระดบั ความพึงพอใจมาก

คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 แปลว่า มีระดับความพงึ พอใจมากท่ีสุด

9

บทท่ี 4

ผลการวจิ ัย

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทเี่ กี่ยวกบั สถานภาพสว่ นตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์แจกแจงความถ่ีและ
ผลการวิเคราะหห์ าคา่ รอ้ ยละ
ตารางที่ 4.1 จานวนร้อยละของสถานภาพส่วนตวั ของผู้ตอบแบบสอบถาม (N =42)

สถานภาพส่วนตวั ของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน รอ้ ยละ
เพศ
29 100.00
ชาย 29 100.00

รวม

จากตารางที่ 4.1 จะเห็นไดว้ า่ มจี านวนผตู้ อบแบบสอบถามเพศชายท้ังหมด คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการสอน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา
ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับคะแนนการประเมินตนเอง ในรายวิชาระบบควบคุมใน
งานอุตสาหกรรม ผ่านการเรียนปฏิบัติของนักศึกษานักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟูา สาขาไฟฟูา สาขางานไฟฟูากาลัง
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสงู ปีท่ี 2 วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 (N =42)

หวั ข้อการประเมิน คา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบน ระดับ
มาตรฐาน ประสทิ ธิภาพ

1. นักศกึ ษาใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณไ์ ด้อย่างถูกต้อง 4.23 0.70 ดี

2. นักศึกษาสามารถเขยี น Ladder diagram ได้ 4.35 0.70 ดี

3. นกั ศึกษาสามารถเขยี น Mnemonic ได้ 4.08 0.83 ดี

4. นกั ศกึ ษาสามารถออกแบบโปรแกรมตามเงื่อนไขได้ 4.23 0.66 ดี

5. นกั ศึกษาสามารถปูอนโปรแกรมลงเครื่อง PLC หรอื 4.78 0.42 ดเี ยย่ี ม

คอมพวิ เตอร์ได้

โดยภาพรวม 4.61 0.43 ดีมาก

จากตารางท่ี 4.2 จะเห็นได้ว่าระดับประสิทธิภาพการประเมินตนเองของนักศึกษา โดยภาพรวมมี
ค่าเฉล่ีย 4.61 ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก เมื่อทาการพิจารณารายข้อพบว่าระดับประสิทธิภาพใน
หัวข้อนักศึกษาสามารถปูอนโปรแกรมลงเครื่อง PLC หรือ คอมพิวเตอร์ได้ ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี
เยย่ี มส่วนหัวขอ้ ที่เหลอื ระดบั ประสิทธภิ าพอยใู่ นระดับดีท้ังหมด

10

ตารางที่ 4.3 คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับความพงึ พอใจ ในรายวชิ าระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม
ผา่ นการเรียนปฏบิ ัตขิ องนกั ศกึ ษานักศึกษาแผนกวชิ าชา่ งไฟฟาู สาขาไฟฟูา สาขางานไฟฟูากาลัง ระดบั ประกาศนยี บัตร
วิชาชีพชนั้ สงู ปีท่ี 2 วิทยาลยั เทคนิคเชยี งใหม่ ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 (N =42)

หวั ข้อการประเมิน ค่าเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบน ระดบั ความ
4.68 มาตรฐาน พึงพอใจ
1. เอกสารประกอบการเรียนมีความชดั เจน และง่ายต่อ 0.47 มากท่ีสุด
การเขา้ ใจของนกั ศึกษา 4.68
2. เอกสารประกอบการเรยี นมีความนา่ สนใจ 4.65 0.47 มากทสี่ ดุ
3. เอกสารประกอบการเรยี นเนน้ การเรยี นเชิงปฏิบตั ิ 4.60 0.48 มากทส่ี ดุ
4. เอกสารประกอบการเรยี นทาใหน้ กั ศกึ ษาอยู่ใน 0.50 มากท่ีสุด
บรรยากาศการเรียนท่ีมีความสขุ 4.85
5. เอกสารประกอบการเรยี นทาใหน้ ักศกึ ษามีพัฒนา 0.36 มากที่สดุ
การในด้านทักษะในการใชโ้ ปรแกรมระบบควบคุม 4.58
0.43 มากทส่ี ุด
โดยภาพรวม

จากตารางที่ 4.3 จะเห็นได้ว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 4.58 ระดับ
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อทาการพิจารณารายข้อพบว่าระดับคะแนนในทุกหัวข้อ ระดับ
ความพึงพอใจของนกั ศึกษาอยู่ในระดับมากท่สี ดุ ทุกหัวข้อ

11

บทท่ี 5

สรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

จากการศึกษาการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุม
ในงานอุตสาหกรรม ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ สูงปีท่ี 2 กลมุ่ ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ท่ีมี
วตั ถปุ ระสงค์พฒั นาทักษะผเู้ รียนและสารวจความพึงพอใจการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม
โดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม สามารถสรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะได้ดังต่อไปน้ี

สรปุ ผลการวิจยั
1. ผลการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุม ในงาน

อุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 กลุ่ม ซี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ด้านระดับ
ประสิทธิภาพการประเมินตนเองของนักศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉล่ีย 4.61 ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับ
มาก แต่เมอื่ ทาการพิจารณารายขอ้ พบว่าระดับประสิทธิภาพในหัวข้อนักศึกษาสามารถปูอนโปรแกรมลงเครื่อง
PLC หรือ คอมพวิ เตอร์ได้ ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุดส่วนหัวข้อท่ีเหลือระดับประสิทธิภาพอยู่ใน
ระดับดที ัง้ หมด

2. ระดับความพึงพอใจ ในรายวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ผ่านการเรียนปฏิบัติของนักศึกษา
นักศึกษาแผนกวิชาช่างไฟฟูา สาขาไฟฟูา สาขางานไฟฟูากาลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2
วทิ ยาลัยเทคนคิ เชียงใหม่ ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 ด้านความพึงพอใจโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 4.58 ระดับ
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด และเมื่อทาการพิจารณารายข้อพบว่าระดับคะแนนในทุกหัวข้อ ระดับ
ความพึงพอใจของนกั ศึกษาอยู่ในระดับมากทส่ี ุดทุกหัวข้อ

อภปิ รายผล
ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบ

ควบคุม ในงานอตุ สาหกรรม ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูงปีท่ี 2 กลุ่ม ซีภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563
โดยรวมระดับประสิทธภิ าพอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับข้อสมมุติฐานท่ีกาหนดไว้ว่า “การพัฒนาทักษะระบบ
ควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุม ในงานอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชนั้ สงู ปีที่ 2 กลุ่ม ซภี าคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 อย่ใู นระดับดี” ทัง้ นีอ้ าจจะเป็นเพราะว่าการพัฒนา
ทกั ษะระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรมโดยใชใ้ บงานการทดลองระบบควบคุม ในงานอุตสาหกรรม เน้นให้ผู้เรียน
ไดก้ ระทาสิ่งตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ผ่านการปฏบิ ตั ิการจรงิ คอื ผเู้ รียนได้ฝึกในสภาพส่ิงแวดล้อมจริง ได้ฝึกคิดและลง
มอื ทาส่งิ ต่างๆ ด้วยตนเอง ทง้ั นี้การสนับสนนุ ให้ผูเ้ รยี นได้พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามวัยและได้ผลตาม
ความคาดหวังของสังคมนั้น การจัดประสบการณ์จะให้ความสาคัญกับบทบาทการเรียนรู้ของผู้เรียนจึงได้มี
การศึกษาแนวคิดที่จะนาไปสู่การปฏิบัติได้ การใช้แนวคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือกระทาหรือการปฏิบัติใน
สภาพจริงจึงเป็นที่สนใจและนามาใช้ สอดคล้องกับชุดทดลองสัญญาณไฟจราจรด้วยโปรแกรมเมเบิลลอจิก
คอนโทรลเลอร์ที่เขียนโดย นายพิษณุ สินเธาว์ (2556) ได้สร้างชุดทดลองสัญญาณไฟจราจรด้วยโปรแกรมเม
เบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ข้ึนมาใช้กับนักศึกษาแผนกช่างไฟฟูา ระดับช้ัน ปวส.2 โรงเรียนฐานเทคโนโลยี ปี
การศกึ ษา 2556 จานวน 30 คน ที่เรียนในรายวิชา ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยการให้นักศึกษาได้ทดลอง

12

เรียนด้วยชุดทดลองและทาใบงานเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้สถิติ t-test เป็นสถิติท่ีใช้ทดสอบ สอดคล้อง
ผลการวิจัยของนางสาวสารินี จิรอนันต์อนวัช และ นางสาวอสมาภรณ์ เทียนวิจิตรฉาย.(2553) ได้ศึกษาเรื่อง
การควบคุมระบบจาลองกระบวนการผลติ ในงานอุตสาหกรรม(MSS) โดยใช้ PLC Bosch Rexroth. โครงงานนี้
ได้นาเสนอการศึกษาวิจัยและทดลองในการเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมแบบจาลองกระบวนการผลิตในงาน
อุตสาหกรรม(MSS)โดยใช้ PLC Bosch Rexroth เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม ซ่ึงมีการนา PLC
มาควบคุมในงานอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย ในการศึกษาวิจัยและทดลองคร้ังน้ี ได้ศึกษาวิธีการควบคุมให้มี
ประสทิ ธิภาพเพ่ิมมากขนึ้ โดยการลดระยะเวลาในการทางานลงเพื่อให้ได้ต้นทุนที่ต่าลง มีความต่อเน่ืองมากขึ้น
และลดระยะเวลาการทางานในแต่ละครั้งน้อยลงทาให้ระบบมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ
จากผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนาผลมาใช้เป็นข้อมูลเพื่อเสนอแนะในการพัฒนา การจัดทาเอกสาร

ประกอบการสอนระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ของวทิ ยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ จึงขอเสนอแนะแนวทางดงั น้ี
1. ด้านสถานท่ี ควรมีการปรับปรุงห้องปฏิบัติการให้น่าเรียนเน่ืองจากมีเสียงดังรบกวนจากห้องเรียน

ข้างๆ
2. ด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน ควรเพิ่มใบงานและหาอุปกรณ์ในการทดลองท่ีน่าสนใจและทันสมัย

เพื่อดึงดดู ความสนใจของนักศึกษา
ผลกระทบทเี่ กดิ ขึน้
จากผลการวิจัยในคร้ังนผ้ี ูว้ จิ ัยไดจ้ ะนาผลการศึกษาวิจัยไปใช้ดงั น้ี

1. จัดหาอุปกรณ์ให้เพยี งพอต่อผเู้ รียน เชน่ PLC, สายต่อวงจร, อุปกรณก์ ารทดลองทีท่ ันสมยั
2. เพ่มิ ใบงานและหาอุปกรณ์ในการทดลองท่ีน่าสนใจและทนั สมัยเพื่อดึงดูดความสนใจของนักศึกษา

13

บรรณานกุ รม

เกยี รติสดุ า ศรสี ุข. (2552). ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย. เชียงใหม่ : โรงพิมพค์ รองชา่ งพริน้ ต้ิง.
บุญชม ศรสี ะอาด. (2554). การวจิ ัยเบื้องต้น. กรงุ เทพมหานคร: สวุ รี ิยาสาส์น.
พิษณุ สินเธาว.์ (2556). ชดุ ทดลองสญั ญาณไฟจราจรดว้ ยโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร.์

ปรญิ ญาโท คอม.วศิ วกรรมไฟฟาู -ไฟฟูากาลงั .
สารนิ ี จิรอนนั ตอ์ นวชั และ อสมาภรณ์ เทียนวจิ ิตรฉาย.(2553).การควบคมุ ระบบจาลองกระบวนการ

ผลติ ในงานอตุ สาหกรรม(MSS) โดยใช้ PLC Bosch Rexroth. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟูา
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2558). พระราชบัญญัติการอาชีวศกึ ษา.กรุงเทพมหานคร.

14

ภาคผนวก

แบบสอบถามความคิดเหน็ ความพึงพอใจการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้
ใบงานการทดลองระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรมระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สูงปีที่ 2
กลุม่ ซี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

คาช้ีแจง 1. แบบสอบถามฉบับน้ีเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเร่ือง การพัฒนา
ทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงปีที่ 2 กลุ่ม ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้ท่ีเข้าร่วมการพัฒนาทักษะระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบ
งานการทดลองระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม

2. แบบสอบถามฉบับน้ีแบ่งออกเปน็ 2 ตอน ได้แก่

ตอนท่ี 1 สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม
คำชแ้ี จง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงใน [ ] ท่ตี รงกับความเป็นจริงทีส่ ุด
1. เพศ

[ ] ชาย [ ] หญิง

ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ ของผู้ตอบแบบสอบถามที่เก่ียวข้องกับความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะระบบ
ควบคุมในงานอุตสาหกรรมโดยใช้ใบงานการทดลองระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สูงปีท่ี 2 กลุม่ ซี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563
คำชแี้ จง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดับความคิดเหน็ ท่ีตรงกบั ความคิดเห็นของท่านให้มาก
ทีส่ ดุ โดยตัวเลขมคี วามหมายดังนี้
ดา้ นการปฏิบตั ิงานของนกั ศึกษา

5 = มีการปฏิบตั อิ ยใู่ นระดับ ดีเยย่ี ม
4 = มีการปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับ ดีมาก
3 = มกี ารปฏิบัตอิ ยูใ่ นระดับ ดี
2 = มกี ารปฏิบตั ิอยใู่ นระดบั นอ้ ย
1 = มีการปฏบิ ัตอิ ย่ใู นระดับ น้อยมาก
ด้านเอกสารประกอบการเรียน
5 = ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากที่สุด
4 = ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก
3 = ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับปานกลาง
2 = ความพงึ พอใจอย่ใู นระดับนอ้ ย
1 = ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อยท่สี ดุ

15

ขอ้ ที่ รายการประเมิน ระดับประสิทธภิ าพ
54321
ดา้ นการปฏบิ ัติงานของนกั ศึกษา
1 นักศึกษาใช้เครื่องมือ อปุ กรณ์ได้อย่างถูกต้อง ระดับความพึงพอใจ
2 นกั ศกึ ษาสามารถเขยี น Ladder diagram ได้ 54321
3 นกั ศกึ ษาสามารถเขียน Mnemonic ได้
4 นักศกึ ษาสามารถออกแบบโปรแกรมตามเงื่อนไขได้
5 นกั ศกึ ษาสามารถป้อนโปรแกรมลงเครอ่ื ง PLC หรอื คอมพิวเตอร์ได้

ข้อที่ รายการประเมิน

ดา้ นเอกสารประกอบการเรียน
1 เอกสารประกอบการเรยี นมีความชัดเจน และงา่ ยต่อการเข้าใจของ
นักศกึ ษา
2 เอกสารประกอบการเรียนมคี วามน่าสนใจ
3 เอกสารประกอบการเรียนเน้นการเรยี นเชิงปฏบิ ัติ
4 เอกสารประกอบการเรยี นทาให้นกั ศกึ ษาอยู่ในบรรยากาศการเรยี น
ทม่ี คี วามสุข
5 เอกสารประกอบการเรยี นทาให้นกั ศกึ ษามีพัฒนา การในด้านทกั ษะ
ในการใชโ้ ปรแกรมระบบควบคุม

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะต่อการเรยี นการสอนวชิ าระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ขอบคุณท่ีทา่ นใหค้ วามรว่ มมือในการตอบแบบสอบถาม
ชยั วัฒน์ พอพิน


Click to View FlipBook Version