The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by milddizztitima, 2022-03-25 05:59:58

ต.ทุ่งงาม

ต.ทุ่งงาม

รายงานการจดั การการท่องเทยี่ วเชิงสร้างสรรคโ์ ดยชมุ ชน
ภายใตโ้ ครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตาบล

(มหาวทิ ยาลัยสตู่ าบล สรา้ งรากแกว้ ใหป้ ระเทศ)

ตาบลทุง่ งาม อาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง

จัดทาโดย
วิทยาลัยสหวทิ ยาการ
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ย์ลาปาง

สารบญั

1. บริบทพืน้ ท่แี ละทรพั ยากรท่องเทีย่ วในชมุ ชน หนา้
2. ประสบการณเ์ ดมิ ของชมุ ชนในการจดั การการทอ่ งเท่ียว 1
3. ความเปน็ มาและความสําคญั ของทรพั ยากรท่องเทยี่ วในชุมชน 5
4. การออกแบบเสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วเชิงสร้างสรรค์ของชมุ ชน 6
5. โครงการกจิ กรรมทดลองเส้นทางทอ่ งเทยี่ วเชิงสรา้ งสรรค์ของชมุ ชน 14
6. ผลการจดั กิจกรรมทดลองเส้นทางท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชมุ ชน 19
7. ปัญหา และข้อจํากัดของกิจกรรมทดลองเส้นทางท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ของ 21
ชมุ ชน 23
8. แนวทางการพฒั นาปรับปรงุ กจิ กรรมเส้นทางทอ่ งเที่ยวเชงิ สรา้ งสรรค์ของชมุ ชน
ภาคผนวก 24
26

1. บรบิ ทพืน้ ทแี่ ละทรพั ยากรทอ่ งเทย่ี วในชุมชน

บริบทด้านพืน้ ที่

เทศบาลตําบลทุ่งงาม ต้ังอยู่เลขท่ี 67 บ้านสาแล หมู่ 5 ต.ทุ่งงาม อ.เสริมงาม จ.ลําปางอยู่

ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอําเภอเสริมงาม และอยู่ห่างจากท่ีว่าการอําเภอเสริมงาม เป็น

ระยะทาง ประมาณ 6 กม เทศบาลตําบลทุ่งงาม สภาพพื้นท่ีเป็นท่ีราบลุ่มแม่นํ้า บางส่วนเป็นที่ราบ

เนินเขา บางสว่ นเป็นภูเขา มีพ้นื ท่ที ัง้ หมด 52,299 ไร่ มีแมน่ ํา้ แมเ่ ลยี ง และแมน่ าํ้ แม่ตํ๋าไหลมาบรรจบกัน

ทีบ่ า้ นนาบอน มีเน้อื ที่ท้ังหมด 124.76 ตารางกโิ ลเมตร มอี าณาเขตตดิ ต่อดังนี้

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ ตบลเสริมขวา

ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั ตําบลเสรมิ งาม

ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ตาํ บลนาแก้ว

ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กบั ตาํ บลเสรมิ กลาง

ประกอบดว้ ย 11 หมบู่ า้ น ดงั นี้

หมู่ท่ี 1 บา้ นแม่กด๊ึ (อย่ใู นเขต เทศบาลตําบลทงุ่ งาม เตม็ พ้นื ท)่ี

หมู่ท่ี 2 บ้านนาบอน (อยใู่ นเขต เทศบาลตาํ บลเสริมงาม เตม็ พ้ืนที่)

หมู่ที่ 3 บา้ นทงุ่ งาม (อยใู่ นเขต เทศบาลตําบลเสรมิ งาม เต็มพื้นที่)

หมทู่ ่ี 4 บ้านมวั่ (อยเู่ ขต เทศบาล ต.เสริมงาม ส่วนใหญ่ และในเขต

เทศบาล ต.ทุ่งงาม)

หมทู่ ี่ 5 บ้านสาแล (อยใู่ นเขต เทศบาลตําบลท่งุ งาม เตม็ พื้นท่ี)

หมทู่ ี่ 6 บ้านดอนแก้ว (อยใู่ นเขต เทศบาลตําบลเสริมงาม เตม็ พืน้ ท่ี)

หมู่ที่ 7 บ้านใหม่ (อยใู่ นเขต เทศบาลตาํ บลทงุ่ งาม เต็มพนื้ ท่ี)

หมทู่ ่ี 8 บ้านดอนงาม (อย่เู ขต เทศบาล ต.เสริมงาม ส่วนใหญ่ และในเขต

เทศบาล ต.ทุง่ งาม )

หม่ทู ่ี 9 บา้ นห้วยสม้ (อย่ใู นเขต เทศบาลตําบลทงุ่ งาม เต็มพื้นท่)ี

หมทู่ ี่ 10 บา้ นแม่ตา๋ํ ใต้ (อยใู่ นเขต เทศบาลตําบลทงุ่ งาม เต็มพื้นท่)ี

หมู่ที่ 11 บ้านทงุ่ งามพฒั นา (อยูใ่ นเขต เทศบาลตําบลเสริมงาม เตม็ พื้นท)่ี

ภาพท่ี 1 ตาํ บลท่งุ งาม อําเภอ เสริมงาม จงั หวัด ลําปาง

วิสยั ทัศน์
"มงุ่ พัฒนาให้เป็นตําบลนา่ อยู่ มเี ศรษฐกิจดี สังคมดสี ่ิงแวดล้อมดี ภายใต้การดาํ เนินงาน ใน

รปู แบบการรว่ มคดิ รว่ มทาํ เพื่อใหก้ ารแก้ไขปญั หาม่งุ ไปส่กู ารพฒั นาอย่างย่งั ยืน"
ประวตั ศิ าสตร์ของตาบลทงุ่ งาม

ตําบลทุ่งงาม เป็นสถานที่ตั้งของที่ว่าการอําเภอเสริมงาม แยกออกจากอําเภอเกาะคา เมื่อปี
พ.ศ.2518 ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจากอําเภอเกาะคา เหตุท่ีเรียกว่า "ทุ่งงาม" เพราะพื้นที่เป็นท่ี
ราบลุ่มแม่น้ําระหว่างหุบเขา มีแม่น้ําแม่เลียง และแม่น้ําแม่ต๋ําไหลมาบรรจบกันที่บ้านนาบอน ทําให้
พืน้ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ ตน้ ข้าวและพืชไร่ในนางอกงามสมบรู ณ์ ชาวบ้านจงึ ไดต้ ้งั ชื่อตาํ บลว่า "ตําบลทงุ่ งาม"





2. ประสบการณ์เดิมของชมุ ชนในการจดั การการท่องเท่ียว

การจัดการการท่องเท่ียวของตําบลทุ่งงาม ยังขากการวางแผนการท่องเท่ียว การ
จัดการส่ิงอํานวยความสะดวก การจัดการด้านความปลอดภัย การให้คําแนะนําและปรึกษา
แก่นักทอ่ งเที่ยว และการนาํ เท่ียว หากแต่ในบางพื้นท่ียังมีจํานวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอในช่วง
ฤดูกาลท่องเท่ียว การจัดการการท่องเท่ียวจะเป็นไปในลักษระของการจัดงานตามเทศกาล
หรือประเพณีตา่ งๆ โดยประเพณีและงานประจําปใี นเขตพื้นที่เทศบาลตาํ บลท่งุ งาม มีดังนี้

- ประเพณีสงกรานต์และรดนํ้าดาํ หวั ผูส้ งู อายุ ในช่วงเดือนเมษายน ของทุกปี

- ประเพณีแหไ่ ม้คา้ ศรี ในชว่ งเดอื นเมษายน ของทุกปี

- ประเพณีลอยกระทง ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธนั วาคม ของทุกปี

- ประเพณสี ลากภตั ร ในชว่ งเดอื นตุลาคม 2 ปี จดั ครงั้

สาํ หรับภูมิปัญญาท้องถิ่นทส่ี าํ คญั และสามารถนาํ มาเปน็ สว่ นหน่ึงในการจัดกิจกรรรม
การท่องเที่ยว ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การเกษตรแบบด่ังเดิม สมุนไพร เปุารักษาโรค
เคร่ืองป้ันดินเผาบ้านมั่ว ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว ยาดม
หอมจัง ขนมทองม้วน และกลุ่มทอผ้าบ้านนาบอน เป็นต้น รวมถึงสินค้าพ้ืนเมืองและของท่ี
ระลึก เทศบาลตําบลทุ่งงาม มีสินค้าพื้นเมืองจําหน่าย ได้แก่ กลุ่มตัดเย็บเส้ือผ้าพ้ืนเมือง ซึ่ง
สามารถจําหนา่ ยไดท้ ง้ั ในพื้นทีต่ าํ บล สําหรับสถานทท่ี ่องเท่ียวที่มกี ารเปดิ ให้ท่องเท่ียวที่สําคัญ
ได้แก่ วัดนาบอน วัดครกขวาง (วัดพระธาตุสิงห์เจริญไชย ) วัดดอยน้อยศรีบุญเรืองวัดดอน
แก้ว วดั ทุ่งงามหลวง วดั สาแล วัดหว้ ยสม้ วัดพระธาตดุ อยกู่ วดั แม่ก๊ดึ และวัดบ้านม่ัว

























5. โครงการกจิ กรรมทดลองเส้นทางท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชมุ ชน

โครงการ การท่องเท่ยี วชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมในชุมชน
ณ ตาบลทุ่งงาม อาเภอเสริมงาม จงั หวดั ลาปาง

1.ชื่อโครงการ: โครงการ การท่องเท่ียวชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน
ชุมชน

2.หลักการและเหตผุ ล
การท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ การท่องเที่ยวท่ีคํานึงถึงส่ิงแวดล้อม สังคม และ
วัฒนธรรมของชุมชน กําหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพ่ือชุมชน และชุมชนมี
บทบาทเปน็ เจ้าของในการจัดการ ดูแล เพอ่ื ให้เกดิ การเรยี นรูแ้ ก่ผูม้ าเยือน
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural tourism) เป็นการท่องเที่ยวรูปแบบหน่ึงท่ี
ม่งุ เรียนรูจ้ ากวัฒนธรรมอน่ื ๆ เพ่ือใหเ้ กดิ โลกทัศน์ใหม่ๆ ที่กว้างไกลจากการมีประสบการณ์ใน
แหลง่ วัฒนธรรมท่ียังคงเอกลกั ษณเ์ ฉพาะถิน่
การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เป็นการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบใน
แหล่งธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งวัฒนธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับระบบนิเวศ
สิ่งแวดล้อมและการท่องเท่ียว โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การ
จัดการอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่นเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตสํานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่าง
ยัง่ ยืน
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เป็นการสร้างระบบและกลไกให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วน
ร่วมในการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวและฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ให้เกิดการคงไว้ซึ่ง
เอกลักษณ์และอตั ลกั ษณ์ของทอ้ งถ่ินตนเอง โดยมีการแบ่งสรรปันส่วนผลประโยชน์อย่างเป็น
ธรรม ท้ังยังเป็นเคร่ืองมือสําคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ซ่ึงกิจกรรมท่ี
นักท่องเท่ียวเข้าไปมีส่วนร่วม ต้องมีความสร้างสรรค์ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างมี
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของชุมชนโดยเป็นการสร้างประสบการณ์การแลกเปล่ียนเรียนรู้
ร่วมกัน จนก่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างวัฒนธรรมอันจะเสริมสร้างผลลัพธ์เชิง

บวก ให้แก่ทั้งสองฝุาย ไม่ว่าจะเป็นจิตสํานึกอนุรักษ์ แม้กระท่ังความประทับใจใน
ประสบการณ์การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้
ระหว่างนกั ท่องเทีย่ วและคนในชุมชน

ตําบลทุ่งงามเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มแม่นํ้าระหว่างหุบเขา มีแม่นํ้าแม่เลียงและแม่นํ้าแม่ตํ๋า

ไหลมาบรรจบกันท่ีบ้านนาบอน ทําให้พ้ืนที่อุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้ต้นข้าวและพืชไร่ในนางอก

งาม ตําบลทุ่งงามมีสถานท่ีท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย อาทิ ดอยถํ้ามาศ ซ่ึงมีลักษณะภูมิ

ประเทศที่น่าสนใจ โดยเป็นเนินเขาท่ีถูกกัดเซาะยุบลงไปเป็นแอ่งลักษณะคล้ายกระทะหงาย

นอกจากนี้แล้วยังมีลักษณะเด่นอีกประการหนึ่ง คือ เป็นแท่งดินคล้ายเสาหรือเป็นโคกท่ีมี

รูปร่างคล้ายจอมปลวกกระจายอยู่ท่ัวไปตามเชิงหน้าผา ดอยถ้ํามาศตั้งอยู่ในท้องที่บ้านห้วย

ส้ม ตําบลทุง่ งาม อาํ เภอเสรมิ งาม จงั หวัดลําปาง

ศนู ยก์ ารเรียนรเู้ ครื่องปั้นดินเผา (ปนั้ หมอ้ ปน้ั มือ) ผลิตภัณฑ์ทํามือ (Handmade) ซ่ึง

มีความเป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นเฉพาะตัวของดินเหนียวท่ีถูกนํามาข้ึนรูปและเผา แบบ

ธรรมชาติ โดยนักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้พร้อมลงมือปฏิบัติการทําเครื่องป้ันดินเผาได้ในที่

ศูนยก์ ารเรียนรู้ ซึ่งต้ังอยู่ทีบ่ ้านม่ัว ตาํ บลทุง่ งาม อาํ เภอเสรมิ งาม จังหวดั ลาํ ปาง

ด้วยเหตุนี้ทางทมี งานยกระดับเศรษฐกจิ สงั คมรายตาํ บลแบบบรู ณาการ
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และผู้นาํ ท้องถ่ินเทศบาลตําบลทุ่งงาม ไดเ้ ล็งเห็นว่าตําบลทุ่งงามมี
เอกลักษณ์, วิถชี ีวติ ท่ีแตกต่าง และมีแหลง่ ท่องเทีย่ วท่ีมคี วามอดุ มสมบูรณ์ ซงึ่ จะสามารถเปน็
แรงจงู ใจทําให้นักท่องเทยี่ วเข้ามาในชุมชน เพ่ือเกดิ การพฒั นาการท่องเทีย่ วชุมชน

ทั้ ง น้ี ท า ง ที ม ง า น ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม ร า ย ตํ า บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้นําท้องถิ่นเทศบาลตําบลทุ่งงามจึงได้จัดกิจกรรมทดลอง
ท่องเที่ยว“ม่วนงันโตยกั๋นตี้ทุ่งงาม งามตึงธรรมชาติ งามตึงวิถี” (กราบพระธาตุ-เยือนถ้ํา
มาศ-ป้ันหม้อป้ันดินม่วนใจ๋)

3.วัตถุประสงค์
1) เพ่อื พัฒนาการทอ่ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม, การท่องเทย่ี วเชงิ นิเวศ และการท่องเท่ียว
สรา้ งสรรคใ์ นตําบลทุ่งงาม
2) เพ่ือกระจายรายได้ที่เกิดจากการจัดทริปท่องเที่ยวและสร้างโอกาสการมีรายได้
เสรมิ ใหก้ ับคนในชมุ ชนตําบลทงุ่ งาม

3) เพื่อสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจในวิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชนในตําบลทุ่ง
งามใหแ้ กผ่ ูม้ าเยอื น
4.เปา้ หมาย
ชุมชนตําบลทุ่งงามเกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมในชุมชน โดยผู้นําท้องถิ่นและคนในชุมชนตําบลทุ่งงาม ได้ร่วมกันขับเคล่ือนพัฒนา
สถานท่ีท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวชุมชนได้ อีกท้ังยังเป็นการกระจายรายได้สู่คนใน
ชุมชน เม่ือเกิดแหล่งท่องเที่ยวชุมชนแล้ว ชุมชนนั้นก็จะเกิดรายได้จากการจัดการท่องเท่ียว
ดังกล่าว ซ่ึงทําให้เกิดความย่ังยืนแก่ชุมชน นอกจากนี้แล้วคนในชุมชนยังตระหนักถึง
ความสําคัญของทรพั ยากร, ภมู ปิ ัญญา จนก่อเกดิ การอนุรักษแ์ ละหวงแหนให้คงอย่สู ืบไป
5.วิธีการ/ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน

1.จัดทาํ โครงการขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณ
2.ประชมุ วางแผนการดาํ เนินงานและกําหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิ
3.ดาํ เนนิ งานตามโครงการ

3.1 ประสานงานกบั ผนู้ าํ ท้องถ่ินเทศบาลตาํ บลทุ่งงาม
3.2 จัดกจิ กรรมทดลองท่องเทีย่ ว “ม่วนงันโตยกั๋นตี้ทุ่งงาม งามตึง
ธรรมชาติ งามตึงวิถี” (กราบพระธาตุ-เยือนถ้ํามาศ-ปั้นหม้อปั้นดินม่วนใจ๋) โดยมีอาจารย์ท่ี
ปรกึ ษาโครงการ, นักท่องเทยี่ ว และผ้นู ําท้องถิน่ เทศบาลตาํ บลทุ่งงาม เข้าร่วมจาํ นวน10คน
4.สรุปโครงการและรายงานผลการดําเนินการ
6.ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
ทีมการโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตําบลแบบบูรณาการ
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ตําบลทุ่งงาม อําเภอเสริมงาม จังหวัดลาํ ปาง
7.สถานทดี่ าเนินการ/ระยะเวลาดาเนนิ การ
สถานที่ดาเนินการ ตําบลทุ่งงาม อาํ เภอเสริมงาม จังหวัดลาํ ปาง
ระยะเวลาดาเนินการ เดือนพฤศจิกายน 2564

6. ผลการจัดกจิ กรรมทดลองเสน้ ทางท่องเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์ของชุมชน

จากการได้รับฟังผลสะท้อนจากคณะอาจารย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลําปาง
และนักท่องเท่ียวที่ได้มาทดลองเที่ยวเส้นทางการท่องเท่ียวชุมชนในตําบลทุ่งงาม ทําให้ทาง
ทมี งานไดร้ บั ขอ้ เสนอแนะและขอ้ คิดเห็นท่ีมีความหลากหลาย เน่ืองจากการทดลองท่องเที่ยว

ในคร้ังน้ีการท่องเที่ยวชุมชนของเราน้ันมีความพิเศษ และเป็นท่ีการท่องเที่ยวแปลก คือ มี
การท่องเที่ยวถึง 3 แบบ ในวันเดียว ได้แก่ วัดครกขวางเป็นการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ถ้ํา
มาศเปน็ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศและป้นั หมอ้ ปน้ั มอื ท่องเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรค์

ข้อดีของการท่องเที่ยวเช่นนี้ คือทําให้ให้นักท่องเที่ยวได้เห็นความหลากหลาย ทั้ง
วฒั นธรรม ธรรมชาติ การท่องเท่ียวเชิงสรา้ งสรรค์ แต่อย่างไรก็ตามก็มีข้อควรระวัง เน่ืองจาก
เปน็ การท่องเที่ยวต่างชนิดกัน จะทําให้เกิดความยากในการจัดการ ในเร่ืองการเดินทางไปยัง
สถานท่ีท่องเท่ียว จะต้องขึ้นรถลงรถบ่อย อีกทั้งเรื่องการแต่งกาย ในหนึ่งชุดไม่เหมาะสมกับ
การท่องเทย่ี วใน 3 แบบ

ผลสะท้อนจากนักท่องเทยี่ วกับการทอ่ งเท่ียว 3 แบบ ดง้ั ตอ่ ไปน้ี
1. วัดครกขวางเป็นการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ที่สําคัญคือ เรื่องราวที่จะต้องสื่อ
ออกมา ทนี่ ีเ่ ป็นอย่างไร ความหมายท่ีน่ีเป็นอย่างไร พนักงาน อว.จะต้องทราบประวัติศาสตร์
ของวัด สร้างพระธาตุท่ีไหน อย่างไร และเรื่องราว และสภาพเชิงนิเวศของแหล่งท่องเท่ียว
โดยแสดงให้เห็นภาพรวมทั้งหมด แม่นํ้า ภูเขา ลําธาร พนักงานอว.ทุกคนจะต้องสามารถการ
บอกเล่าเร่ืองราวได้ทุกคน อีกทั้งต้องเก็บรวบรวมข้อมูลเหล่านี้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น
จัดทาํ เว็บไซต์และนาํ ข้อมลู เหล่านี้ลงไป เพมิ่ เตมิ ความหมายของคาํ สาํ คญั “วัดครกขวาง” คก
(กลุ่มคําไทยลาว) เปน็ คาํ โบราณมที ี่มาทไี่ ป แปลว่า ทะเลสาบรปู แอก
2. การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ เป็นการท่องเที่ยวท่ีนักท่องเทียวเข้าไปในพื้นที่ท่ีเปาระ
บาง เน่ืองจากการเข้าไปในแหล่งธรรมชาติจริงๆ จะไม่ใช่ระบบนิเวศปกติของมนุษย์ เป็นปุา
ถ้ํา เขา ดังน้ัน จึงต้องมี “Do and Don’t” ซึ่งเป็นส่ิงสําคัญมาก เพราะมนุษย์ได้เข้าไปสู่
ระบบนิเวศ ที่เป็นธรรมชาติมากๆ ต้องปรับปรุงให้มีความปลอดภัยเน่ืองจากนักท่องเที่ยว
กังวลเร่ืองความปลอดภัยที่ถํ้ามาศ จะมีความเส่ียงท่ีจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายของ
นักท่องเท่ียว ความรู้สึกของนักท่องเท่ียวคือ เกรงมาก กลัวความปลอดภัย ไม่มีระบบรักษา
ความปลอดภัย อีกทั้งในเร่ืองเครื่องแต่งกายของนักท่องเท่ียวไม่พร้อม เน่ืองจากทางทีมงาน
ไม่ได้สื่อเร่ือง Do and Don’t โดยต้องสื่อเร่ือง Do and Don’t เร่ิมต้ังแต่เร่ืองเส้ือผ้า
หมวก เครื่องแต่งกาย ไม้เท้า ครีมกันแดด และความสมดุลระหว่างคนกับพื้นท่ี และทํา
สิง่ แวดลอ้ มให้ปลอดภัย โดยต้องจัดให้มีทางเท้าท่ีมีราวจับแข็งแรงมั่นคงโดยทําจากวัสดุท่ีจะ
ไม่ทาํ ลายระบบนเิ วศ ทําลายธรรมชาติที่มนั เปน็ อยู่
3.การทอ่ งเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ เนน้ การท่องเที่ยวชุมชน ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยว
ได้เข้าไปเรียนรู้ชุมชนโดยผ่านการทํากิจกรรมบางอย่าง นําเสนอกิจกรรมในชุมชนซ่ึงชุมชนก็

ต้องเป็นเจ้าของวัฒนธรรม ท่ีได้มอบโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้พัฒนาทักษะบางอย่าง ที่
นักท่องเท่ียวไม่มีมาก่อนเลย และได้ไปพัฒนาในเรื่องนั้น เช่น ในการท่องเที่ยวของชุมชนทุ่ง
งามนน้ั เป็นการปัน้ หมอ้ ท่บี า้ นมว่ั หวั ใจสําคญั ของการทํากิจกรรมไม่ใช่ว่านักท่องเท่ียวต้องทํา
กิจกรรมนั้นๆได้ แต่ทว่าการทํากิจกรรมน้ันแล้วนักท่องเที่ยวรู้จักชุมชนดีขึ้นอย่างไร เป็น
สะพานทําให้นักท่องเที่ยวก้าวข้ามผ่านไปเพื่อได้รู้จักชุมชน ผ่านการทํากิจกรรม โดยการ
เปิดตัวชุมชนให้อลังการ แต่ครั้งนี้นั้นนักท่องเที่ยวยังมองไม่เห็นการเปิดตัวชุมชน จึงต้อง
ปรับปรุงให้มีการเปิดตัวชุมชนให้อลังการ 1. แนะนําชุมชน 2.ชวนยลของดี (หม้อ ปั้นด้วย
เทคนิคใด มีก่ีแบบ ) 3.วิธีการทํา/บ่งช้ีการทํา 4.สร้างสรรค์ผลงาน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้
เรียบร้อย พร้อมท่ีจะได้เร่ิมลงมือทํา 5.ตรวจทานความสําเร็จ ต้องมีคนตรวจทาน พนักงาน
จะต้องมาประกบนักท่องเที่ยวในการทํา เพื่อให้เกิดผลสําเร็จ ดังน้ันส่ิงสําคัญของการ
ท่องเท่ียว คือ การออกแบบการท่องเท่ียว อีกทั้งส่ิงสาคัญท่ีสะท้อนในกิจกรรมการ
ท่องเท่ียว คือ ปราชญ์ปั้นหม้อไม่มีความสามารถเพียงพอท่ีจะดูแลนักท่องเที่ยว ดังนั้น
พนักงาน อว. ต้องมีความสามารถปั้นหม้อและเข้าไปช่วยดูแลนักท่องเท่ียวได้ ดูผลงานของ
นักท่องเทีย่ ว ช่วยตรวจทานความสําเร็จของผลงานที่นักท่องเที่ยวจัดทํา และในเรื่องสถานท่ี
ต้องมีโต๊ะยาวๆ ให้เหมาะสมกับสรีระนักท่องเที่ยว สะดวกแก่การปั้นหม้อ เน่ืองจาการท่ี
นกั ทอ่ งเท่ยี วไดป้ น้ั หมอ้ นนั้ จะได้หม้อกลับไปเป็นของท่ีระลึกด้วย แต่ไม่สามารถเอากลับไปได้
ในทันทตี ้องผา่ นกระบวนการพักหม้อให้แห้งและเผาให้แข็งแรง สิ่งที่ต้องปรับปรุงเพ่ิมเติมคือ
ตอ้ งหาวธิ ีในการเก็บข้อมูลท่อี ย่ใู นการจดั ส่งพสั ดุให้แก่นักท่องเที่ยว

นอกจากนั้นคณาจารย์และนักท่องเที่ยวได้เสนอจุดบกพร่องท่ีควรแก้ไขเพื่อให้การ
จัดการท่องเที่ยวน้ีดียิ่งขึ้นในคร้ังต่อไป ซ่ึงจะชี้แจงในหัวข้อปัญหา และข้อจํากัดท่ีเกิดข้ึนใน
ลําดับต่อไป ซึ่งการได้รับผลสะท้อนต่าง ๆ เหล่านี้ทําให้ทางทีมงานสามารถนําเสียงสะท้อน
ต่าง ๆ เหล่านี้ไปพัฒนาและทําความเข้าใจต่อการจัดการท่องเที่ยวในชุมชนมากขึ้น แต่ละ
กจิ กรรมที่จัดขึ้นจะเป็นสว่ นสาํ คญั ท่จี ะทําให้นกั ท่องเท่ียวเข้าใจ และเข้าถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม
ของชุมชนและส่งผลใหเ้ กดการชกั ชวน บอกตอ่ หรือกลับมาเทยี่ วในชมุ ชนอีกครงั้

7. ปัญหา และข้อจากัดของกิจกรรมทดลองเส้นทางท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์
ของชุมชน

การจัดการท่องเที่ยวชุนในคร้ังนี้ เป็นการจัดทําการท่องเที่ยวชุมชนทุ่งงามซ่ึงจัดขึ้น
โดยคณะทํางานอว.ทุ่งงาม โดยกระบวนการออกแบบการท่องเท่ียวและการวางแผนในการ

ดําเนินงานยังมีความสมบูรณ์ไม่เพียงพอ จึงทําให้เกิดปัญหา เกิดข้อผิดพลาดและบางแหล่ง
ท่องเทย่ี วมขี อ้ จํากดั ในหลาย ๆ ดา้ นดงั นี้

7.1 การวางแผนลําดับการจัดกิจกรรม การวางกําหนดการในทริปการท่องเท่ียว 1
วันวางแผนได้ดี แนะนําชุมชน แนะนําสถานที่ และสื่อความหมายเส้นทางยังมีข้อติดขัดควร
ปรับปรุงหลายจุด โดยต้องมีการแนะนํา สิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐานให้แก่นักท่องเท่ียว
ตอ้ งแนะนําส่งิ อํานวยความสะดวกพ้นื ฐานใหก้ ับนักท่องเท่ยี ว ให้ข้อมลู ตา่ งๆอะไร อยู่ตรงไหน
เช่น ห้องนํ้า ลานสําหรับจอดรถนักท่องเท่ียว เป็นต้น เพราะนักท่องเที่ยวไม่ได้มาพร้อมกัน
จึงจะต้องดูแลนักท่องเที่ยวให้ทั่วถึงระหว่างรอเร่ิมการท่องเท่ียว เวลาไม่เหมาะสมกับกับการ
ท่องเท่ียว เกิดช่องวางเวลาค่อนข้างเยอะหลังจากกลับมาจาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศเพื่อมา
พักผ่อนและรอรับประทานอาหาร และในส่วนของกาดอ๊อกย๊อก ต้องนําเสนอสิ่งท่ีเรามี ข้าว
ของทั้งหมดต้องแนะนําอย่างเป็นระบบ ในส่วนของตลาด ของตรงน้ีเป็นของใคร ชุมชนใคร
ทํา ต้องเล่าท้ังหมด ว่าเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมโดยได้พัฒนาจากผลิตภัณฑ์เดิม กลายมา
เปน็ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ ทที่ ันสมัยและใช้ประโยชน์ได้จริง

7.2 การสร้างความปลอดภัยให้กับนักท่องเท่ียว โดยถ้ํามาศเป็นการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ ต้องสื่อเรื่อง “Do and Don’t” โดยเร่ิมตั้งแต่เร่ืองเส้ือผ้า หมวก เครื่องแต่งกาย ไม้
เท้า ครีมกันแดด และความสมดุลระหว่างคนกับพ้ืนที่ และทําส่ิงแวดล้อมให้ปลอดภัย โดย
ตอ้ งจดั ใหม้ ที างเทา้ ทีม่ ีราวจบั แข็งแรงมั่นคงโดยทําจากวัสดุท่ีจะไม่ทําลายระบบนิเวศ ทําลาย
ธรรมชาตทิ มี่ นั เป็นอย่แู ละสถานท่ี ในการรบั ประทานอาหาร ไม่ปลอดภัย เป็นพ้ืนท่ีต่างระดับ
เกนิ ไป

7.3 ควรคํานึงถึงความหลากหลายของนักท่องเท่ียวท้ังเพศ อายุ ความชอบ และ
ข้อจํากัดทางด้านร่างกายท่ีแตกต่างกันของนักท่องเท่ียว ต้องมีหลัก Tourism for all หรือ
การท่องเท่ียวเพื่อคนท้ังมวล มิใช่เป็นเพียงการจัดการท่องเท่ียวเพ่ือคนพิการ หรือผู้ที่มี
ข้อจํากัดทางร่างกาย หากเป็นโครงการท่ีริเริ่มข้ึนจากการยอมรับในสิทธิขั้นพ้ืนฐาน นั่นคือ
ความเท่าเทียม และความเชื่อมั่นว่าโอกาสในการออกเดินทางท่องเท่ียวเป็นความเท่าเทียม
อย่างหน่ึงของมนุษย์ทุกคน ตัวอย่างเช่นการออกแบบการท่องเท่ียว ต้องพิจารณา เด็ก
Tourism for kid เพราะฉะน้ันเราต้องออกแบบการท่องเท่ียวให้ทุกคนได้เข้าถึง จะต้องคิด
มาให้ดี เช่น เด็ก ต่อจิกซอว์ ภาพถ้ํามาศ ระหว่างรอแม่ไปถ้ํามาศ เตรียมพร้อมสําหรับท่ีมี
ขอ้ จาํ กดั ด้านร่างกาย คนพกิ ารทางตา อาจจดั ทาํ เป็นไกด์บุ๊คที่เป็นเสียง เปน็ ตน้

7.4 นักสื่อความหมายในกิจกรรมยังทําได้ไม่ดีเท่าที่ควร ยังไม่มีความชัดเจนใน
บทบาทหน้าที่ นักสื่อความหมายถ้ํามาศเนื่องจากมีการถือบทพูดทําให้ไม่เป็นธรรมชาติ
เพราะเกิดอาการเกร็งและกลัวว่าจะไม่สามารถพูดได้ตามบท วิทยากรทําสวยไหว้พระไม่
สามารถอธบิ ายขัน้ ตอนการทาํ สวยวา่ ทาํ อยา่ งไรบ้าง สวยทาํ อยา่ งไรบ้าง นักสอ่ื ความหมายวัด
ครกขวาง ซึ่งเป็นผ้สู ูงอายุ ยงั มีบทบาทหนา้ ท่ยี งั ไม่ชดั เจนในการส่ือ ไม่สามารถสื่อความหมาย
ให้แก่นกั ท่องเท่ียวได้ ปราชญป์ ้นั หมอ้ ไม่มีความสามารถเพียงพอที่ส่ือความหมายการปั้นหม้อ
ใหแ้ กน่ กั ทอ่ งเท่ียว ดังน้ันจะตอ้ งต้องพัฒนานักส่อื ความหมายให้มีความสามารถในการส่ือสาร
ใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวเข้าใจ และไม่เกิดสงสัยระหว่างการเดนิ ทาง

7.5 การควบคมุ ดูแลนกั ทอ่ งเทยี่ วให้ปฏิบัติไปตามแผนการท่องเท่ียว ไกด์ไม่สามารถ
ดูแลนักท่องเที่ยวได้อย่างท่วั ถึง ควบคุมนักท่องเที่ยวไม่คอ่ ยอยู่

7.6 การจัดทําส่ือประกอบการท่องเที่ยวที่เป็นเอกสารไม่มีความจําเป็น “คู่มือการ
ท่องเที่ยว” อาจทําเป็นคิวอาร์โค้ดให้นักท่องเท่ียวได้สแกนโดยทําให้มีรายละเอียดท่ีบอก
ข้อมูลการท่องเท่ียวมากกว่านี้ แต่นักท่องเท่ียวบางคนอาจไม่มี Smart phone อาจจะมีซัก
เป็นรปู แบบกระดาษประมาณหนึ่งแผ่น

7.7 เมนูอาหารเหนือ สามารถเลือกเมนูได้ดีและมีเร่ืองราวในแต่ละเมนูมีความจริง
แท้ของชุมชน และรสชาติอร่อย แต่อย่างไรก็ตาม ในเมนูยําไก่ห้ามเสิร์ฟเป็นกระดูก ในชุด
อาหารนั้นมีเมนูท่ีเผ็ดเยอะไป อาหารเป็นรสเดียวกัน ต้องมีโปรตีนเพ่ิมเติม และจะต้องมี
อาหารรสชาติไม่เผ็ดด้วย ไข่เจียว ไข่ปุาม เป็นต้น ในการตกแต่งถาดใช้ใบตองเยอะไป ไม่
จําเป็นต้องเยบ็ แบบ

8. แนวทางการพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมเส้นทางท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ของ
ชุมชน

8.1 ประชุม ส่ือสาร ประสานงานและแบ่งหน้าที่กันให้เรียบร้อยเป็นระบบ
รับผิดชอบหน้าที่ของตนเองให้เต็มที่ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยให้พนักงานอว.จะต้องไป
เรียนรู้วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์เชิงลึกของวัดครกขวางเพ่ิมเติม และต้องฝึกปั้นหม้อให้ได้
เพ่ือใหก้ ารทาํ กจิ กรรมนน่ั เปน็ ไปอบยา่ งราบรนื่

8.2 แนะนําสถานที่ ส่ิงอํานวยความสะดวกพื้นฐานให้แก่นักท่องเที่ยวทราบอย่าง
ท่วั ถึงโดยแนะนาํ ตง้ั แตช่ ่วงแรกท่ีนักทอ่ งเทีย่ วเข้ามา จัดหาสงิ่ ที่ช่วยอํานวยความสะดวกให้แก่

กลุ่มคนท่มี ีความบกพรอ่ งทท่ี าํ ใหไ้ ม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ เช่น การจัดทํา Tourism for
kid

8.3 ปรบั ปรงุ เรื่องรสชาตอิ าหารให้เหมาะสมแกน่ กั ท่องเที่ยว
8.4 พัฒนานักส่ือความหมายให้สามารถสื่อความหมายสถานท่ีท่องเท่ียวของตนให้
เป็นรปู ธรรมและนักท่องเทย่ี วส้นิ สงสยั ในแตล่ ะสถานท่ี
8.5 จัดทําแผนที่ท่องเท่ียวท่ีละเอียดและเห็นถึงสถานท่ีท่องเที่ยวชัดเจน พร้อมทั้ง
บอกวิธีการเดนิ ทางมายงั ตาํ บลท่งุ งาม

ภาคผนวก

การท่องเที่ยวเชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative Tourism)
ศูนย์การเรียนรู้เคร่ืองปั้นดินเผา (ป้ันหม้อปั้นมือ) มีความเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น

เฉพาะตัวของดินเหนียวท่ีมาจากธรรมชาติ ที่ถูกนํามาขึ้นรูปและเผา โดยผู้เดินทาง, นัก
เดินทาง, และนักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้พร้อมลงมือปฏิบัติการทําเคร่ืองป้ันดินเผาได้ในที่
ศนู ยก์ ารเรยี นรู้

การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism)
วัดครกขวาง สมัยก่อนที่จะมาเป็นวัดครกขวางน้ัน ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ละแวกวัด
เรียกช่ือวัดตามช่ือหมู่บ้านและตามลักษณะของสภาพภูมิศาสตร์ เพราะมีแอ่งนํ้าและมีแม่นํ้า
ไหลผา่ นหลังวัด จงึ ได้ต้ังชื่อวัดเป็นวัดครกขวาก หลังจากนัน้ อกี ไม่นานก็มีท่านครูบาวัณได้เข้า
ไปทาํ กรรมฐานในปุาดงดบิ บ้านครกขวาง และได้พบเห็นพระธาตุและสิ่งของศักด์ิสิทธ์ิจํานวน
มาก ท่ีมีลวดลายท่ีสลับซับซ้อนภายในบรรจุสําเภาทองและพระเคร่ืองจํานวนมาก ยังเป็น
พระธาตทุ ่ีมีสขี าวใหญ่ท่สี ุดในตําบลทงุ่ งาม

การท่องเที่ยวเชิงนเิ วศ (Ecotourism)
ดอยถ้ํามาศ ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศท่ีน่าสนใจ โดยเป็นเนินเขาท่ีถูกกัดเซาะยุบลง

ไปเป็นแอ่งลักษณะคล้ายกระทะหงาย นอกจากนี้แล้วยังมีลักษณะเด่นอีกประการหน่ึง คือ
เป็นแทง่ ดินคล้ายเสาหรอื เป็นโคกทมี่ ีรปู ร่างคล้ายจอมปลวกกระจายอยู่ทวั่ ไปตามเชงิ หน้าผา

บรรยากาศกาดออ๊ กยอ๊ ก



แผนที่ทอ่ งเท่ียว ม่วนงันโตยก๋ันตี้ทุ่งงาม งามตึงธรรมชาติ งามตึงวิถี”
(กราบพระธาตุ-เยือนถา้ มาศ-ป้ันหม้อปั้นดินม่วนใจ๋)


Click to View FlipBook Version