Center of Excellence for Innovation in Chemistry In Focus: โครงการศูนยกลางดานความรู (Pilot Hub of Knowledge) News & Notes: กิจกรรมว�ชาการเพ�่อสรางความรวมมือ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และผลงานว�จัยเดน In Pictures: ขอแสดงความยินดี กับอาจารยทุกทานที่ไดรับรางวัล เชิดชูเกียรติในดานตางๆ ปที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2566 ดวยการสนับสนุนจากสํานักการว�จัยแหงชาติ (วช.) ศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี อยูใน ระยะดําเนินการโครงการศูนยกลางดานความรู. (Pilot Hub of Knowledge) ภายใตชื่อโครงการ “ศูนยกลางดานความรูดานเทคโนโลยีการว�เคราะห อาหาร สิ�งแวดลอม และทรัพยากรชีวภาพ” โดย เนนการสรางองคความรูในดานการว�เคราะหอาหาร สิ�งแวดลอม และทรัพยากรชีวภาพ ผานกิจกรรม การสรางความรวมมือและการถายทอดความรู. ความเชี่ยวชาญในหลายลักษณะ คอลัมน In Focus ฉบับนี้ขอนําเสนอหลักการสําคัญของโครงการนี้. ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานสําหรับในปแรก ที่ศูนยฯ ไดรับการสนับสนุนจาก วช.
2 เพ�่อเปนการพัฒนาระบบนิเวศนทางว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวัตกรรม สํานักการว�จัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวัตกรรม ไดดําเนินการสนับสนุนทุนว�จัยและนวัตกรรมในรูปแบบโครงการศูนยรวมผูเชี่ยวชาญ (Hub of Talents หร�อ Pilot Hub of Talents) และศูนยกลางดานความรู (Hub of Knowledge หร�อ Pilot Hub of Knowledge) เพ�่อใหเกิดการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานในสถาบันอุดมศึกษา สถาบันว�จัย หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ยกระดับ เคร�อขายความรวมมือใหเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เปนแหลงกิจกรรมว�ชาการและการใหบร�การว�ชาการที่มีคุณภาพ ที่สามารถตอยอดไปสูการใชประโยชน และการพัฒนาฐานขอมูลเฉพาะดานในการใหบร�การและเผยแพรองคความรูในดาน ตาง ๆ รวมถึงการพัฒนาทักษะของบุคลากรการว�จัยใหมีศักยภาพมากข�้น โดยมุงเนนการแลกเปลี่ยนองคความรูและ เคร�่องมือการดําเนินการ โดยศูนยกลางดานความรู (Hub of Knowledge หร�อ Pilot Hub of Knowledge) นั้น จะเนนการสรางองคความรูในดาน ตาง ๆ ที่ถูกตองและเชื่อถือได และสามารถนําไปใชประโยชนรวมกัน เพ�่อเพ��มศักยภาพทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมของ ประเทศดวยว�จัยและนวัตกรรม เปนแหลงเร�ยนรูในการถายทอดความรูและเทคโนโลยีเพ�่อสรางความเขมแข็งแกชุมชน และ สามารถนําไปใชประโยชนไดจร�งในการสงเสร�มและขยายผลใหแกผูใชประโยชนเชิงพ�้นที่ ชุมชน และสังคม สงเสร�มใหมีคุณภาพ ชีว�ตที่ดีข�้น สนองตอบนโยบายรัฐบาลในการพัฒนา แกปญหา สรางรายได หร�อเปนทางเลือกใหแกชุมชน ระดับประเทศและ ตางประเทศ และการใหประชาชนมีโอกาสเร�ยนรูตลอดชีว�ต อันจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน ศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี ไดรับการสนับสนุนจาก วช. ในการดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการ “ศูนยกลางดานความรูดานเทคโนโลยีการว�เคราะหอาหาร สิ�งแวดลอม และทรัพยากรชีวภาพ” (Hub of Knowledge in Technology of Chemical Analysis for Food, Environment and Bioresources) โดยมีแนวคิดในการสรางศูนยกลาง การเร�ยนรูในดานนวัตกรรมทางเคมีเพ�่อสงเสร�มความมั่นคงดานความปลอดภัยของการบร�โภค และพัฒนาคุณภาพชีว�ต ของประชากร โดยอาศัยการประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเคมี เพ�่อว�เคราะหการปนเปอนของสารเคมีในอาหาร สิ�งแวดลอม และทรัพยากรชีวภาพ อันมีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ โครงการศูนยกลางดานความรู (Pilot Hub of Knowledge) การดำเนินงานของศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี
3 อาหารและสิ�งแวดลอม ในการควบคุมและเฝาระวังกระบวนการผลิตผลผลิตตนนํ้าทางการเกษตร ตลอดจนควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑอาหารตาง ๆ นั้นจําเปนตองมีนักว�จัยที่มีความรูและความเชี่ยวชาญสูง โดยเฉพาะผูเชี่ยวชาญทางดานการใชเคร�่องมือขั้นสูงที่เนนการ ว�เคราะหสารตกคางและสารตองหามในอาหาร รวมถึงผลิตภัณฑทางการเกษตรและการปนเปอนในสิ�งแวดลอมทั้งแหลงนํ้า ดิน และอาหารสัตว นอกจากนี้ ระดับสารควบคุมและสารปนเปอนในอาหารที่กฎหมายทั้งประเทศไทยเองและตางประเทศไดกําหนดไว เปนระดับที่ตํ่าในระดับพ�พ�เอ็ม (ppm หร�อ parts per million) ลงไป จ�งเปนความทาทายอยางยิ�งที่จะตองใชองคความรูดานเคมี ว�เคราะห โดยเฉพาะอยางยิ�ง การวัดและตรวจจับสารในปร�มาณนอยในตัวอยางที่ซับซอน หากไมมีการพัฒนาองคความรูที่ดี เพ�ยงพอ อาจจะทําใหการวัดว�เคราะหผลเกิดการผิดพลาดและสงผลเสียหายทางเศรษฐกิจ รวมถึงเกิดอันตรายตอผูบร�โภคได นอกจากนี้รายการสารตกคางและควบคุมในอาหารมีการปรับปรุง (Update) เพ�่อใหสอดรับสถานการณอยูเสมอ ทําใหมีความ จําเปนที่จะตองพัฒนาองคความรูใหม ๆ เพ�่อการวัดสารตกคางและสารควบคุมในอาหาร เพ�่อตอบโจทยสถานการณใหเปน ปจจ�บันดวย ดังนั้นเพ�่อเพ��มข�ดความสามารถในการแขงขันของประเทศดานความมั่นคงและปลอดภัยดานอาหาร ดานเศรษฐกิจอยางกาว กระโดด ตลอดจนพัฒนาสังคมและสิ�งแวดลอมอยางยั่งยืน และพรอมพัฒนาสูอนาคต รวมทั้งไดรับการยอมรับระดับสากล ประเทศไทยจ�งจําเปนตองมีการพัฒนาองคความรูในดาน “เทคโนโลยีการตรวจว�เคราะห (Analytical Technology)” ตลอดจน มีศูนยรวมนักว�จัยที่พัฒนาฐานขอมูลขององคความรูเพ�่อตอบโจทยของชุมชน รวมทั้งเพ��มบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญดาน การใชเคร�่องมือขั้นสูง ตลอดจนผลิตนักว�จัยที่พัฒนาเซนเซอรและชุดทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑอาหารที่ทันสมัย อานผลเร็ว อีกทั้งยังตองการการเผยแพรเทคโนโลยีเหลานี้สูชุมชน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ สอดรับการสถานการณ เพ�่อยกระดับ คุณภาพการผลิตและการใชนวัตกรรมในการเพ��มข�ดความสามารถในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมการเกษตร และบร�การ การสรางความมั่นคงและความปลอดภัยดานอาหาร การสงเสร�มใหประชาชนมีสุขภาพดี มีระบบสาธารณสุขที่ดี และการเพ��ม ข�ดความสามารถทางการคา โครงการนี้จ�งมุงเนนการเผยแพร “องคความรูในดานเทคโนโลยีการตรวจว�เคราะห (Knowledge in Analytical Technology)” โดยจะดําเนินการผาน 3 แพลตฟอรมว�จัย (Research platform) ไดแก (1) การพัฒนาว�ธีการว�เคราะหโดยอาศัยเคร�่องมือการ ว�เคราะหขั้นสูง (2) การรวบรวมฐานขอมูลนวัตกรรมเซนเซอรที่อาศัยเทคนิคทางไฟฟาเคมีและชุดทดสอบจากการสังเกต การเปลี่ยนแปลงสี และ (3) การรวบรวมองคความรูและพัฒนาวัสดุตรวจวัดที่แมนยํา โดยจะไดรวบรวมนักว�จัยในศูนยความ เปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี ที่มีความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการว�เคราะห ซึ่งมีผลงานตีพ�มพในวารสารว�ชาการ นานาชาติจํานวนมาก เพ�่อมุงเนนการพัฒนาฐานขอมูลว�ธีการว�เคราะหโดยอาศัยเคร�่องมือขั้นสูง ตลอดจนการพัฒนา นวัตกรรมเซนเซอรใหม ๆ การรวบรวมขอมูลและพัฒนาชุดทดสอบสารภาคสนามเพ��มเติมใหรองรับกับโจทยใหมอันเปน ปจจ�บัน และนําองคความรูพ�้นฐานทางดานการตรวจว�เคราะหและเซนเซอรเพ�่อสรางนวัตกรรมเปนอุปกรณตรวจวัดที่สามารถ บงบอกปร�มาณได คัดกรองการปนเปอนของสารปนเปอน/ตกคาง ในอาหารหร�อผลิตภัณฑทางการเกษตร จัดอบรมเผยแพร องคความรู และสนับสนุนการนําไปใชประโยชนในภาคสนามหร�อหองปฏิบัติการ ซึ่งจะทําใหสามารถรับรูขอมูลไดอยางรวดเร็ว และประหยัดคาใชจาย มีศักยภาพในการนําไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยในอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตรของไทย อีกทั้งเปน การลดการนําเขาเทคโนโลยีจากตางประเทศ รวมไปถึงยังสามารถนําองคความรูที่ไดจากโครงการนี้ไปสรางใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในการพัฒนาชุมชนและสังคมดานอาหารและการเกษตรปลอดภัย ซึ่งมีความสําคัญอยางมากสําหรับประชากร สังคม และชุมชนใหไดมีอาหารบร�โภคปลอดภัย อีกทั้งเปนการสงเสร�มใหเกษตรกรมีคุณภาพชีว�ตที่ดีข�้น และเปนการเตร�ยม ความพรอมในการรองรับและตอบคําถามใหกับสังคมไดอยางทันทวงทีในกรณีที่มีปญหาเรงดวน หร�อไดรับความสนใจเกี่ยวกับ คุณภาพของอาหาร ยา และสิ�งแวดลอม
4 1. ขอแสดงความยินดีกับ ศ. ดร.วัชร�นทร รุกขไชยศิร�กุล สาขาว�ทยาศาสตรกายภาพ คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร ที่ไดรับรางวัลนักว�ทยาศาสตรดีเดน ประจำป 2566 จากมูลนิธิสงเสร�มว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ และไดรับโลเกียรติยศศาสตราจารยเกียรติคุณ ประจำป 2565 2. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.เนติ วระนุช ภาคว�ชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาว�ทยาลัยนเรศวร ที่ไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติบุคลากรสายว�ชาการ: ดานการว�จัย ประจำป 2566 จากคณะเภสัชศาสตร มหาว�ทยาลัยนเรศวร และรางวัลระดับเหร�ยญทอง (Gold Medal) และรางวัลพ�เศษ (WIIPA Special Award) จาก World Invention Intellectual Property Associations ผลงานว�จัย “Herbal cream for anti-inflammatory and swelling reduction after facial laser treatment" ในการประชุมว�ชาการนานาชาติ 16th International Invention and Innovation Show (INTARG 2023) ระหวางวันที่ 24 – 25 พฤษภาคม 2566 ณ เมืองคาโตไวซ สาธารณรัฐโปแลนด (รวมกับ ศ.ดร. กรกนก อิงคนินันท และ ดร. อิทธิพล ศิร�เดชากร) 3. ขอแสดงความยินดีกับ ศ. ดร.จารุภา ว�โยชน ภาคว�ชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาว�ทยาลัยนเรศวร ที่ไดรับการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ “วัสดุปดแผลไฟโบรอินที่ผสมสารสกัดจากวุนวานหางจระเขปราศจากเชื้อดวยโอโซน” สิทธิบัตรเลขที่ 91230 และรางวัลระดับเหร�ยญทองแดง (BRONZE MEDAL) ผลงานว�จัย “Musa AA (Kluai Khai) Fruit Pulp Plus Hemp Seed Oil Chewable Tablets for Skin Photoaging Prevention” ในการประชุมว�ชาการนานาชาติ 16th International Invention and Innovation Show (INTARG 2023) ระหวางวันที่ 24 – 25 พฤษภาคม 2566 ณ เมืองคาโตไวซ สาธารณรัฐโปแลนด (รวมกับนายฉัตรณรงค พ�ฒทอง ผศ. ดร.คงอภิสิทธ ทองพ�นสมจ�ตถ นายอัครพงษ เคร�อจันทร นายฟรังซัวส กรังโมตเต) 4. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.พงศกร กาญจนบุษย สาขาว�ชาวัสดุศาสตรและนวัตกรรมวัสดุ คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล ที่ไดรับรางวัลนักว�จัยวัสดุรุนใหมดีเดน ประจำป 2565 จากสมาคมว�จัยวัสดุ ประเทศไทย และรางวัล Mahidol University Researchers of the Year 2023 (Rising Researcher in Science and Technology) ผูมีผลงานในเกณฑ MU Top 1% Researchers 2023 ทรัพยากรชีวภาพในประเทศไดถูกนํามาผลิตเปนเภสัชภัณฑและเคมีภัณฑเพ�่อใชประโยชนทางการแพทยอยางแพรหลาย การพัฒนายาหร�อผลิตภัณฑสุขภาพจากทรัพยากรที่มีอยูภายในประเทศนั้นมีความสําคัญยิ�ง เนื่องจากยารักษาโรคนับเปน ปจจัยสําคัญในดานความมั่นคงทางสาธารณสุขของประเทศ แมวาประเทศไทยจะมีความเจร�ญกาวหนาในทางเศรษฐกิจอยาง ตอเนื่อง แตการที่ประเทศไทยและประเทศเพ�่อนบานในภูมิภาคมีความเสี่ยงตอโรคและปญหาทางสาธารณสุขดานอื่นแตกตาง จากประเทศในกลุมที่พัฒนาแลวในภูมิภาคอื่น ทําใหประเทศไทยยังคงประสบปญหาการระบาดของโรคตาง ๆ ทั้งโรคที่ถูกละเลย (Neglected diseases) และโรคอุบัติใหม (Emerging diseases) โรคเหลานี้บางชนิดเปนโรคที่บร�ษัทผูผลิตยารายใหญของโลก ไมใหความสนใจ เพราะเปนโรคที่ประสบกับผูปวยในประเทศกําลังพัฒนาซึ่งขาดกําลังซื้อ ในการพัฒนาเภสัชภัณฑและเคมีภัณฑ เพ�่อใชประโยชนทางการแพทยนั้น ขั้นตอนการว�เคราะหโครงสรางเคมีและการว�เคราะหปร�มาณสารสําคัญของทรัพยากร ชีวภาพเพ�่อนํามาใชพัฒนาเปนผลิตภัณฑ เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญยิ�ง อีกทั้ง การปนเปอนของสารธรรมชาติบางชนิด อาจ สงผลกระทบรายแรงตอผูบร�โภค อาทิเชน การปนเปอนของสารไมทราไจนีน (Mitragynine) ที่สกัดไดจากใบกระทอม สารนี้. เปนสารจําพวกแอลคาลอยด ออกฤทธิ์กดประสาทสวนกลาง (CNS depressant) เชนเดียวกับ psilocybin LSD และ ยาบา หร�อการปนเปอนของสาร THC (Tetrahydrocannabinol) ในสารสกัดกัญชาและกัญชง สาร THC มีฤทธิ์ตอจ�ตและประสาท สงผลตออารมณ ความจํา ความรูสึก การปนเปอนของสารนี้ แมในปร�มาณนอย ก็อาจกอใหเกิดอาการไมพ�งประสงคที่เปน อันตรายตอผูใชผลิตภัณฑที่ผลิตจากกัญชา กัญชง หร�อใบกระทอมได ผูผลิตจ�งตองตระหนักและจําเปนตองมีการตรวจ ว�เคราะหโดยเทคโนโลยีเคมี เชน การใชเทคนิคสเปคโทรสโกป เพ�่อเสร�มสรางความมั่นใจในความปลอดภัยใหกับผูบร�โภค จากความเชี่ยวชาญของบุคลากรกลุมว�จัยดานทรัพยากรชีวภาพ ของศูนย ความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี ในการสรางองคความรู ใหมทาง ดานเคมีผลิตภัณฑจากธรรมชาติจนมีผลงานเปนที่ประจักษ ไดแก ผลงาน ตีพ�มพในระดับนานาชาติที่มี Impact factor สูง และจากประสบการณการ ถายทอดเทคโนโลยีจากกลุมว�จัยจนนําไปสูการพัฒนานวัตกรรมและ ผลิตภัณฑ ทางศูนยความเปนเลิศฯ จ�งมีแผนการดําเนินการเผยแพรองค ความรู “การเพ��มมูลคาทางเศรษฐกิจของทรัพยากรชีวภาพของไทยโดย พัฒนาฐานขอมูลเทคโนโลยีการว�เคราะหโครงสรางเคมีและการว�เคราะห ปร�มาณสารสําคัญของทรัพยากรชีวภาพ” โดยมีจ�ดมุงหมายเพ�่อจะนําองค ความรูดานเทคโนโลยีการว�เคราะห ไปชวยในการพัฒนานวัตกรรมและ ผลิตภัณฑจากสารสกัดจากทรัพยากรชีวภาพสูตลาดทั้งในและตางประเทศ ทรัพยากรชีวภาพ
5 5. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.ยุภาพร สมีนอย ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยบูรพา ที่ไดรับรางวัล บุคลากรดีเดนสายว�ชาการ ของคณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยในเคร�อเทา-งาม ประจำป 2565 (มหาว�ทยาลัยในเคร�อเทา-งาม สัมพันธ มีสมาชิกประกอบดวย มหาว�ทยาลัยศร�นคร�นทรว�โรฒ มหาว�ทยาลัยบูรพา มหาว�ทยาลัยนเรศวร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม มหาว�ทยาลัยทักษิณ และมหาว�ทยาลัยพะเยา) 6. ขอแสดงความยินดีกับ ศ. ดร.เสาวลักษณ พงษไพจ�ตร สาขาว�ทยาศาสตรชีวภาพ คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร ที่ไดรับโลเกียรติยศศาสตราจารยเกียรติคุณ ประจำป 2565 7. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.พงศธร อมรพ�ทักษสุข สาขาว�ทยาศาสตรกายภาพ คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร ที่ไดรับคัดเลือก ศิษยเกาดีเดน ดานผลงานเดน ประจำป 2566 จาก คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร 8. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.จ�ตรลดา ว�ชาผง ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ที่ไดรับรางวัลเชิดชูเกียรตินักว�จัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ระดับนานาชาติฐานขอมูล Scopus (สาขาว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี) รวมสูงสุด ประจำป 2565 จากมหาว�ทยาลัยมหาสารคาม 9. ขอแสดงความยินดีกับ ศ. ดร.จ�ตตลัดดา ศักดาภิพาณิชย ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล ที่ไดรับรางวัล Mahidol University Researchers of the Year 2023 (Rising Researcher in Science and Technology) ผูมีผลงานในเกณฑ MU Top 1% Researchers 2023 10. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.อาทิตย ไชยรองเดื่อ ภาคว�ชาสร�รว�ทยา คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล ที่ไดรับรางวัล Mahidol University Researchers of the Year 2023 (Rising Researcher in Science and Technology) ผูมีผลงานในเกณฑ MU Top 1% Researchers 2023 11. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.สุวัตร นานันท สาขาว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน ที่ไดรับรางวัล บุคลากรดีเดนดานนักว�จัย ประจำป 2565 จากคณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน 12. ขอแสดงความยินดีกับ ผศ. ดร.เอกรัฐ ศร�สุข ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยบูรพา ที่ไดรับรางวัล “รัตนบูรพา” (สาขาคนดีศร�บูรพา) ประจำป 2566 จากมหาว�ทยาลัยบูรพา 13. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.โฉมศร� ศิร�วงศ สาขาว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน ที่ไดรับรางวัล บุคลากรดีเดนประเภทว�ชาการ ดานการสนับสนุนการบร�หารจัดการองคกรสนับสนุนการปฏิบัติงาน ในมหาว�ทยาลัย (ดานสงเสร�มศิลปวัฒนธรรม) ประจำป 2565 จากคณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน 14. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.จ�ตติมา เจร�ญพานิช ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยบูรพา ที่ไดรับรางวัล “รัตนบูรพา” (สาขาการว�จัย กลุมสาขาว�ชาว�ทยาศาสตรเทคโนโลยี) ประจำป 2566 จากมหาว�ทยาลัยบูรพา 15. ขอแสดงความยินดีกับ Assoc. Prof. Dr. Florian Thierry Schevenels สาขาว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน ที่ไดรับรางวัล บุคลากรดีเดนนักว�จัยหนาใหม ประจำป พ.ศ. 2563 จากคณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยขอนแกน 16. ขอแสดงความยินดีกับ ศ. ดร.งามผอง คงคาทิพย ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ไดรับการจดสิทธิบัตร “กรรมว�ธีการสกัดหยาบและแยกสารบร�สุทธิ์โอ-เมทิลมิวโคแนลจากตนสันโศก” สิทธิบัตรเลขที่ 91822 17. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.เอกสิทธิ์ สมสุข ภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล ที่ไดรับคัดเลือกเปนกรรมการบร�หารสมาคมว�ทยาศาสตรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ วาระป 2565 – 2566 18. ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.วรากร ลิ�มบุตร สาขาว�ทยาศาสตรสุขภาพและว�ทยาศาสตรประยุกต คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร ที่ไดรับการคัดเลือกอาจารยที่ปร�กษาว�ทยานิพนธดีเดน ประจำป 2565 กลุมสาขาว�ชาว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากบัณฑิตว�ทยาลัย มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร
6 เคร�อขายการออกแบบและสรางเซนเซอรแนวใหม โปรแกรมว�จัยการออกแบบ และสรางเซนเซอรแนวใหมบนฐานของเทคโนโลยีวัสดุขั้นสูง นําโดย ศ. ดร.ปณต ถาวรังกูร ที่ปร�กษาศูนยว�จัยความเปนเลิศดานการว�เคราะหสารปร�มาณนอย และไบโอเซนเซอร ไดจัดกิจกรรม IRN Symposium ครั้งที่ 2 ณ มหาว�ทยาลัย สงขลานคร�นทร ระหวางวันที่ 15-16 มิถุนายน 2566 ที่ผานมา เพ�่อแลกเปลี่ยน ความรูระหวางนักว�จัยไทยและตางชาติ ทําใหเกิดความคิดและมุมมองใหม ๆ ในการทําว�จัย รวมทั้งการตอยอดผลงานว�จัยไปสูการใชประโยชน และเพ�่อ ประชาสัมพันธองคความรูของงานว�จัยของเคร�อขายฯ ไปสูแวดวงนักว�จัย ผูมีสวนเกี่ยวของ และผูใชประโยชนของงานว�จัยดานไบโอเซนเซอรและ เคมิคัลเซนเซอรในประเทศไทย ตลอดจนกระตุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนเร�ยน รูระหวางกัน อันจะนําไปสูการสรางความรวมมือดานการว�จัยและการใช ประโยชนของงานว�จัยดานเซนเซอรในวงกวาง โดยการจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 นี้มีนักว�จัย นักศึกษา จากทั้งภายในและภายนอกเคร�อขายว�จัย รวมถึงหนวยงานและภาคเอกชนที่สนใจประยุกตใชเซนเซอร ในดานตาง ๆ รวมในการประชุม โดยมีการบรรยายพ�เศษจากคณาจารย พรอมการนําเสนอผลงานแบบโปสเตอร โดยในวันที่ 2 ไดมีการจัดเสวนาพ�เศษ งานว�จัยกับโอกาสในการเพ��มความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดย ผศ. ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ประธานคณะอนุกรรมการแผนงานกลุมดิจ�ทัล แพลตฟอรม บพข. และตัวแทนจากอุทยานว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร รวมทั้งการเสวนาพ�เศษ ตัวอยางความสําเร็จของการนํางานว�จัยไปใช ประโยชน โดย ศ. ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล รศ. ดร.วรากร ลิ�มบุตร ตัวแทนจากหางหุนสวน มอนทิพย จํากัด ตัวแทนจากบร�ษัท เชิรฟ ไซเอนซ จํากัด ซึ่งไดรับ ความสนใจแกผูเขารวมเสวนาเปนจํานวนมาก ถือเปนโอกาสที่ดีในการเพ��มศักยภาพทีมนักว�จัยเพ�่อขับเคลื่อนนโยบายประเทศตอไป สถาบันเค อะโกร-อินโนเวท (K Agro-innovate Institute; KAI) ภายใตมูลนิธิ กสิกรไทย นําโดย ศาสตราจารยคลินิก เกียรติคุณ นพ.อุดม คชินทร ประธาน คณะที่ปร�กษา สถาบันเค อะโกร-อินโนเวท และ คุณอนันต ลาภสุขสถิต ประธาน สถาบันเค อะโกร-อินโนเวท ไดเขารวมประชุมหาร�อความรวมมืองานว�จัย ดานสมุนไพร ในการพัฒนาผลิตภัณฑจากพ�ชเปนยา หร�อ Nutraceuticals/ Cosmeceuticals รวมกับศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี นําโดย ศ. ดร.ว�ชัย ร��วตระกูล ผูอํานวยการศูนยฯ และทีมนักว�จัย เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2566 ณ หองประชุม K101 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล โอกาสนี้ รศ. ดร.พลังพล คงเสร� คณบดีคณะว�ทยาศาสตร พรอมดวย รศ. ดร.เทียนทอง ทองพันชั่ง หัวหนาภาคว�ชาเคมี รวมใหการ ตอนรับ โดย ศ. ดร.ว�ชัย ร��วตระกูล ไดนําเสนอประสบการณและผลงาน ว�ชาการจากงานว�จัยดานผลิตภัณฑธรรมชาติและสมุนไพร งานสัมมนาว�ชาการ เร�่อง “พ�ชกระทอม: พ�ชเศรษฐกิจใหมของไทย” เคร�อขายการออกแบบและสรางเซนเซอรแนวใหม จัดกิจกรรม IRN Symposium ครั้งที่ 2 ศ. ดร.สมเดช กนกเมธากุล หัวหนาโครงการ “การว�จัยเชิงบูรณาการเพ�่อสงเสร�มการใชประโยชนจากพ�ชกระทอม” รวมดวย ดร.อรอุบล ชมเดช ผูอํานวยการ ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (AG-BIO) และ ศ. ดร.ชุติมา คูหากาญจน รองผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี (PERCH-CIC) ไดเขารวมงานสัมมนาว�ชาการเร�่อง “พ�ชกระทอม: พ�ชเศรษฐกิจใหมของไทย” ระหวางวันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2566 ณ อุทยานว�ทยาศาสตร ภาคใต มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร ว�ทยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานดังกลาวมีกิจกรรมเสวนาทางว�ชาการ เยี่ยมชมสํานักเคร�่องมือว�ทยาศาสตร และการทดสอบ เยี่ยมชมและศึกษากรรมว�ธีการปลูกพ�ชกระทอม ณ แปลงสาธิต สถานีว�จัยคลองหอยโขง คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาว�ทยาลัยสงขลา นคร�นทร ตลอดการสรุปผลรายงานความกาวหนาและประเมินโครงการฯ ที่ไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา ว�ทยาศาสตร ว�จัย และนวัตกรรม (สป.อว.) โครงการว�จัยนี้ PERCH-CIC ไดรับการสนับสนุนทุนว�จัยรวมกับ AG-BIO ดําเนินงานภายใตโปรแกรมว�จัยเชิงบูรณาการ ซึ่งรวมกันว�จัยโดยการบูรณาการ ศาสตรและความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในสาขาตาง ๆ ที่จําเปน เพ�่อสรางองคความรูที่จําเปนเกี่ยวกับการบร�หารจัดการพ�ชกระทอมอยางเปนระบบและ ครบวงจร รวมทั้งสงเสร�มการใชประโยชนในทางเศรษฐกิจ การประชุมหาร�อความรวมมืองานว�จัย รวมกับ K Agro-innovate Institute ภายใตมูลนิธิกสิกรไทย
7 งานประชุมว�ชาการ 2023 Thailand - Taiwan Bilateral Symposium “All green sulfolane-based solvent enhanced electrical conductivity and rigidity of perovskite crystalline layer” Sci. Rep. 13 (2023) 9335. (Multidisciplinary, Dec 2023) A. Siripraparat, P. Mittanonsakul, P. Pansa-Ngat, C. Seriwattanachai, P. Kumnorkaew, A. Kaewprajak, P. Kanjanaboos, and P. Pakawatpanurut. “Fabrication of untreated and silane-treated carboxylated cellulose nanocrystals and their reinforcement in natural rubber biocomposites” Sci. Rep. 13 (2023) 2517. (Multidisciplinary, Dec 2023) N. Lorwanishpaisarn, P. Sae-Oui, S. Amnuaypanich, and C. Siriwong. “Improving morphology and optoelectronic properties of iltra-wide bandgap perovskite via Cs tuning for clear solar cell and UV detection applications” Sci. Rep. 13 (2023) 2965. (Multidisciplinary, Dec 2023) M. Z. Tun, P. Pansa-Ngat, P. Ruankham, K. K. S. Thant, S. Kamnoedmanee, C. Seriwattanachai, W. Rueangsawang, R. Supruangnet, H. Nakajima, and P. Kanjanaboos. “Photoexcitation of perovskite precursor solution to induce high-valent iodoplumbate species for wide bandgap perovskite solar cells with enhanced photocurrent” Sci. Rep. 13 (2023) 6125. (Multidisciplinary, Dec 2023) A. Naikaew, T. Krajangsang, L. Srathongsian, C. Seriwattanachai, P. Sakata, S. Burimart, K. Sanglee, K. Khotmungkhun, P. Ruankham, S. Romphosri, A. Limmanee, and P. Kanjanaboos. “Revisiting chloroplast genomic landscape and annotation towards comparative chloroplast genomes of Rhamnaceae” BMC Plant Biology 23 (2023) 59. (Plant science, Dec 2023) K. Wanichthanarak, I. Nookaew, P. Pasookhush, T. Wongsurawat, P. Jenjaroenpun, N. Leeratsuwan, S. Wattanachaisaereekul, W. Visessanguan, Y. Sirivatanauksorn, N. Nuntasaen, C. Kuhakarn, V. Reutrakul, P. Ajawatanawong, and S. Khoomrung. “Screen-printable functional nanomaterials for flexible and wearable single-enzyme-based energy-harvesting and self-powered biosensing devices” Nano-Micro Letters 15 (2023) 85. (Electronic, optical and magnetic materials, Dec 2023) K. Veenuttranon, K. Kaewpradub, and I. Jeerapan “One-step electrodeposition of poly(o-phenylenediamine)-Zn composite on plaswood propeller as an extraction device for polycyclic aromatic hydrocarbons in coffee” Food Chem. 421 (2023) 136170. (Food science, Sept 30, 2023) P. Khanaaekwichaporn, S. Khumngern, S. Poorahong, P. Kanatharana, P. Thavarungkul, and C. Thammakhet-Buranachai. “Mickey mouse-shaped laminated paper-based analytical device in simultaneous total cholesterol and glucose determination in whole blood” Anal. Chim. Acta 1263 (2023) 341303. (Analytical chemistry, Jul 4, 2023) A. Prakobkij, S. Sukapanon, S. Chunta, and P. Jarujamrus. “Absorption of sulfur dioxide gas in moistened porous material on a suspended gold leaf electrochemical sensor” Sens. Actuator B-Chem. 385 (2023) 133634. (Condensed matter physics, Jun 15, 2023) N. Jantawong, P. Prasertying, T. Wongpakdee, N. Khoonrueng, P. Aroonchat, N. Fukana, P. Wilairat, K. Uraisin, and D. Nacapricha. ผลงานตีพ�มพเดนในระดับนานาชาติ นอกจากนี้ ผลงานจำนวนไมนอยไดรับการตีพ�มพในวารสารว�ชาการนานาชาติชั้นแนวหนา หัวขอผลงานว�จัยขางลางนี้เปนงาน ที่ไดรับการตีพ�มพในวารสารที่อยูใน Top 10% ของสาขา ศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี (PERCH-CIC) นําโดย ศ. ดร.ว�ชัย ร��วตระกูล ผูอํานวยการศูนยฯ และสังกัดภาคว�ชาเคมี คณะว�ทยาศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล ไดจัดการประชุมว�ชาการ 2023 Thailand - Taiwan Bilateral Symposium ข�้นในระหวางวันที่ 23 - 26 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมคลาสสิค คามิโอ จังหวัด พระนครศร�อยุธยา โดยมีวัตถุประสงคเพ�่อใหเกิดการแลกเปลี่ยน องคความรูและประสบการณที่เกิดจากงานว�จัย และการสรางความ รวมมือใหเกิดข�้นในลําดับตอไป สามารถติดตามรายละเอียดได ทาง Website: https://thaibioresources.org/ ภายใตโครงการ “การผลิตกําลังคนคุณภาพสูงและการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ผานการสรางความรวมมือดานนวัตกรรมทรัพยากรชีวภาพทางเคมี ชีวภาพ เมตาโบโลมิกสของสารผลิตภัณฑธรรมชาติ และวัสดุเพ�่อ ความยั่งยืน” (High-Quality Manpower and Institutional Development through Collaboration on Innovative Bioresources in Biorefinery, Metabolomics of Natural Products, and Materials for Sustainability) นอกจากนี้ การจัด ประชุมดังกลาวยังดําเนินการรวมกับโครงการ “การศึกษาโมเลกุล เปาหมายและกลไกการออกฤทธิ์ของผลิตภัณฑธรรมชาติจาก ตนนางพญาหนาขาว (Mallotus spodocarpus) สําหรับการพัฒนา ยาตานมะเร็ง” (Elucidation of molecular targets and mechanisms of natural products from Mallotus spodocarpus for the development of anticancer therapeutics) ซึ่งนําโดย ศ. ดร.ชุติมา คูหากาญจน เปนหัวหนาโครงการ ทั้งสองโครงการดังกลาว มีแนวทางในการผลิตกําลังคนและดําเนินงานว�จัยผาน ความรวมมืองานว�จัยที่มีคุณภาพ ดําเนินงานโดยทีมนักว�จัยที่มีความเชี่ยวชาญ ทั้งภายในประเทศ จากเคร�อขาย PERCH-CIC และทีมนักว�จัยจากสถาบันว�จัย ชั้นนําของโลก ประเทศไตหวัน อันไดแก Academia Sinica, National Tsing Hua University และสถาบัน National Health Research Institutes ซึ่งทั้งสองโครงการ ไดรับการสนับสนุนทุน จาก บพค. ภายใตแผนงานโครงการพัฒนาเคร�อขาย ความรวมมือนานาชาติเพ�่อการยกระดับความเปนเลิศของมหาว�ทยาลัย/ สถาบันว�จัยไทย โปรแกรมที่ 16 ระดับ Organizational Bridging Fund และระดับ Network Strengthening Fund ตามลําดับ
ผลงานตีพ�มพเดนในระดับนานาชาติ ฝายจัดทำ PERCH-CIC Newsletter ผูอำนวยการ: ศ.ดร. วิชัย ริ้วตระกูล รองผูอำนวยการ: ศ.ดร. ชุติมา คูหากาญจน รศ.ดร.พสิษฐ ภควัชรภาณุรัตน (บรรณาธิการ) ผูชวยบรรณาธิการ: คุณอัจฉราวดี ถนอมเล็ก ฝายศิลปและการจัดพิมพ: คุณกฤษกร รอดชางเผื่อน และคุณอมรเทพ สุริยันต สนใจติดตอสงขอเสนอแนะมาไดที่: ศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมทางเคมี (PERCH-CIC) ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 Email: [email protected] Website: www.perch-cic.org “Composite crosslinked chitosan beads with zeolitic imidazolate framework-67 as peroxymonosulfate activator for increased dye degradation” J. Environ. Chem. Eng. 11 (2023) 109909. (Process chemistry and technology, Jun 2023) C. Panawong, K. Phonlakan, S. Nijpanich, S. Pornsuwan, and S. Budsombat. “Mechanistic insights into hydrogen production from formic acid catalyzed by Pd@N-doped graphene: The role of the nitrogen dopant” Int. J. Hydrog. Energy. 48 (2023) 16341. (Condensed matter physics, May 19, 2023) P. Poldorn, Y. Wongnongwa, R.-Q. Zhang, S. Nutanong, L. Tao, T. Rungrotmongkol, and S. Jungsuttiwong. “Discovery of natural bisbenzylisoquinoline analogs from the library of Thai traditional plants as SARS-CoV-2 3CLPro inhibitors: In Silico molecular docking, molecular dynamics, and in vitro enzymatic activity” J. Chem. Inf. Model. 63 (2023) 2104. (Library and information sciences, Apr 10, 2023) N. Khamto, K. Utama, S. Tateing, P. Sangthong, P. Rithchumpon, N. Cheechana, A. Saiai, N. Semakul, W. Punyodom, and P. Meepowpan. “Pyranonaphthoquinones and naphthoquinones from the stem bark of Ventilago harmandiana and their Anti-HIV-1 activity” J. Nat. Prod. 86 (2023) 498. (Complementary and alternative medicine, Mar 24, 2023) S. Saisin, K. Panthong, S. Hongthong, C. Kuhakarn, S. Thanasansurapong, A. Chairoungdua, K. Suksen, R. Akkarawongsapat, C. Napaswad, S. Prabpai, N. Nuntasaen and V. Reutrakul. “Preparation of flexible poly(L-lactide)-b-poly(ethylene glycol)-b-poly (L-lactide)/talcum/thermoplastic starch ternary composites for use as heat-resistant and single-use bioplastics” Int. J. Biol. Macromol. 230 (2023) 123172. (Biochemistry, Mar 1, 2023) W. Thongsaomboon, P. Srihanam, and Y. Baimark. “Redox-mediated gold nanoparticles with glucose oxidase and egg white proteins for printed biosensors and biofuel cells” Int. J. Mol. Sci. 24 (2023) 4657. (Inorganic chemistry, Mar 1, 2023) N. Rasitanon, K. Veenuttranon, H. T. Lwin, K. Kaewpradub, T. Phairatana, and I. Jeerapan. “A paper chromatographic-based electrochemical analytical device for the separation and simultaneous detection of carbofuran and carbaryl pesticides” Sens. Actuator. B-Chem. 377 (2023) 133116. (Condensed matter physics, Feb 15, 2023) K. Kunpatee, K. Kalcher, O. Chailapakul, S. Chaiyo, and A. Samphao. “Unprecedented triboelectric effect of lignin on enhancing the electrical outputs of natural-rubber-based triboelectric nanogenerators (TENGs)” ACS Sustain. Chem. Eng. 11 (2023) 1311. (Chemical engineering (miscellaneous), Jan 30, 2023) K. Nanthagal, S. Khoonsap, V. Harnchana, P. Suphasorn, N. Chanlek, K. Sinthiptharakoon, K. Lapawae, and S. Amnuaypanich. “Stereoelectronic effect from B-Site dopants stabilizes black phase of CsPbI3 ” Chem. Mater. 35 (2023) 271. (Chemical engineering (miscellaneous), Jan 10, 2023) P. Pansa-Ngat, K. Singh, B. Patel, C. Seriwattanachai, P. Kanjanaboos, and O. Voznyy. “Well-dispersive polypyrrole and MoSe2 embedded in multiwalled carbon nanotube@reduced graphene oxide nanoribbon electrocatalysts as the efficient counter electrodes in rigid and plastic dye-sensitized solar cells” ACS Appl. Energ. Mater. (2023) 397. (Chemical engineering (miscellaneous), Jan 9, 2023) M. Kladkaew, J.-Y. Lin, N. Chanlek, V. Vailikhit, and P. Hasin. “Deep learning facilitates multi-data type analysis and predictive biomarker discovery in cancer precision medicine” Comp. Struct. Biotechnol. J. 21 (2023) 1372. (Biophysics, Jan 2023) V. Bhakta Mahema, P. Sen, S. Lamichhane, M. Oresic, and S. Khoomrung. “Facile and compact electrochemical paper-based analytical device for point-of-care diagnostic of dual carcinogen oxidative stress biomarkers through a molecularly imprinted polymer coated on graphene quantum-dot capped gold” Anal. Chem. 94 (2022) 16692. (Analytical chemistry, Dec 6, 2022) M. Amatatongchai, N. Nontawong, P. Ngaosri, S. Chunta, S. Wanram, P. Jarujamrus, D. Nacapricha, and P.A. Lieberzeit.