The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศิริรัตน์ ขันโท, 2020-11-04 08:30:31

อีบุ๊ค

อีบุ๊ค

อารยธรรมโบราณ

อารยธรรมอยี ิปต์

โดย ศิริรัตน์ ขันโท
สาหรบั ระดับชน้ั มธั ยมศึกปที ่ี 4-6

ประวตั ิความเป็นมาของ
อารยธรรมอียปิ ต์

1

อารยธรรมอียิปต์เริ่มข้ึนเมื่อประมาณ 3500 ปีก่อน
คริสต์ศักราชหรือ 5500 ปีมาแล้ว ในบริเวณลุ่มแม่น้าไนล์
ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เป็นอารยธรรมท่ีมีความ
เจริญรุ่งเรืองในด้านต่าง ๆ และมีพัฒนาการสืบเน่ืองต่อมา
หลายพันปี

อาณาจักรอียิปต์ก่อตัวข้ึนเม่ือประมาณ 3100 ปีก่อน
คริสต์ศักราช และมีความเจริญรุ่งเรืองต่อเน่ืองมาเกือบ 3000
ปี มีราชวงศ์ปกครองประมาณ 30 ราชวงศ์ อาณาจักรอียิปต์
แบ่งช่วงการปกครองเป็น 4 สมัย คือ สมัยราชอาณาจักรเก่า
สมัยราชอาณาจักรกลาง สมัยราชอาณาจักรใหม่ และสมัย
เสอื่ มอ้านาจ

2

สมัยก่อนราชวงศ์ เป็นช่วงระยะเวลาประมาณ 4,500-
3,110 B.C. ในสมัยน้ีชาติอียิปต์โบราณยังไม่มี แต่ชาวอียิปต์
โบราณได้เข้าตั้งบริเวณลุ่มน้าไนล์แล้ว มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม
มีหัวหน้าเปน็ ผู้น้าด้านการปกครองและสังคม ขณะเดียวกันมัก
แย่งชิงดินแดนซึง่ กันและกัน ในที่สุดดินแดนท้ังสองฝ่ังของลมุ่
แมน่ ้าไนลถ์ กู แบ่งออกเป็น 2 ส่วน

1. อียิปต์บน หรืออียิปต์ตอนใต้ หมายถึง ดินแดน
อียิปต์ตอนใน บริเวณดังกล่าวเป็นป่าทึบและเกาะแก่งน้าตก
พืน้ ทไี่ มเ่ หมาะแก่การเพาะปลกู ผู้คนอยบู่ างเบา

2. อียิปต์ล่าง หรืออียิปต์ทางตอนเหนือ หมายถึง
ดินแดนอียิปต์ตอนนอก โดยเฉพาะอย่างย่ิงบริเวณดินแดน
ตอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าไนล์นั้นพ้ืนที่เหมาะ แก่การ
เพาะปลูกผู้คนอยู่หนาแน่นความเจริญเท่าที่ปรากฎในช่วงน้ีคือ
ความเจรญิ ทกุ อยา่ งของมนษุ ย์ทีส่ ามารถท้าได้ในยุคหิน รวมถงึ
รูจ้ ักการเพาะปลกู การเลี้ยงสัตว์และการชลประทาน

3

สมยั ราชวงศ์ เป็นช่วงระยะเวลาประมาณ
3100-940 B.C. ในสมัยน้ีชาติอียิปต์
โบราณไดก้ อ่ ตง้ั ขนึ้ และผ้นู ้าชาวอียิปต์โบราณ
เป็นผู้ด้าเนินการปกครองดินแดนอียิปต์เอง
เป็นส่วนใหญ่ สมัยราชวงศ์แบ่งออกเปน็ สมัย
ยอ่ ยได้ ดังนี้

4

1. ยคุ ราชวงศเ์ รมิ่ แรก

อยู่ในช่วง 3100-2686 ปีก่อน
คริสตกาล โดยเร่ิมต้ังแต่พระเจ้าเมเนส
รวบรวมเมืองต่าง ๆ ได้ท้ังในอียิปต์ลา้ งและ
อียิปต์บนเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกัน และ
เข้าสู่ราชวงศ์ท่ี 1 และ 2 ยุคนี้เป็นยุคการ
สรา้ งอยี ิปตใ์ หม้ คี วามเป็นปกึ แผน่ เข็มแขง็

5

2. ยคุ ราชวงศเ์ กา่

อยู่ในช่วง 2,650 - 2,150 ปีก่อนคริสตกาล
โดยเร่ิมจากราชวงศ์ท่ี 3 อียิปต์ประสบความวุ่นวายทาง
การเมือง มีการย้ายเมืองหลวงไปตามเมืองต่าง ๆ แต่
หลังจากน้ันก็มีราชวงศ์อียิปต์ปกครองต่อมาอีก 2
ราชวงศ์ คือ ราชวงษ์ที่ 9 และ 10 ในยุคน้ีอียิปต์มี
ฟาโรห์ปกครองเร่ิมตั้งแต่ราชวงศ์ท่ี 3 ถึงราชวงศ์ที่ 6
ราชวงศ์ที่โดดเด่นในสมัยนี้คือ ราชวงศ์ที่ 4 ซึ่งมีการ
สร้างปิรามิดท่ีย่ิงใหญ่มากมายโดยเฉพาะมหาปิรามิด
ของฟาโรห์คูฟูท่ีเมืองเซห์ ซึ่งสร้างข้ึนประมาณ 2,500
ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์ในยุคนี้ถือว่าเป็นยุคที่รุ่งเรือง
ท่ีสุดยุคหน่ึง และการสร้างสรรค์ความเจริญในยุคนี้ได้
เป็นรากฐานและแบบแผนของความเจริญของอียิปต์ใน
สมยั ราชวงศ์ต่อ ๆ มา

6

3. ยคุ ราชวงศก์ ลาง

อยู่ในช่วง 2,040 - 1,640 ปีก่อนคริสตกาล ระหว่าง
ราชวงศ์ท่ี 11-13 ฟาโรห์ท่ีมีบทบาทในการสร้างความรุ่งเรือง
ให้กับอียิปต์ในยุคนี้คือ อเมนเนมเฮตที่หนึ่ง (Amenemhet I)
จนเรียกได้ว่าเป็นยุคทองของอียิปต์ด้านเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรม
การสร้างคลองติดต่อไปถึงทะเลแดง การสร้างเขื่อนก้ันน้า
วรรณคดีทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรอง ยุคนี้เป็นช่วงเดียวกันกับ
อารยธรรมบาบิโลนของพระเจา้ ฮัมมูราบี แต่ความรุ่งเรืองของอียิปต์
ก็หยุดชะงกั ลงจากการรุกรานของกลุม่ ชนปศุสตั ว์เร่ร่อนคอื พวก
ฮกิ โซส (Hyksos)

7

4. ยุคราชวงศใ์ หม่

อยู่ในช่วง 1,550 - 1,086 ปีก่อนคริสตกาล ระหว่าง
ราชวงศ์ท่ี 18-31 เมื่อ ชาวอียปิ ตไ์ ดก้ ่อกบฏและมีชัยเหนือชาว
ฮิกโซส จึงเร่ิมราชวงศ์ที่ 18 และขยายอ้านาจการปกครองไป
ยังดินแดนซีเรีย ปาเลสไตน์และฟินิเซีย เพาะมีอาณาเขต
กว้างมากข้ึน สมัยนี้จึงได้รับการขนานนามว่า“สมัยจักรพรรดิ”
(Empire)

แต่ในช่วงหลังๆ อ้านาจการปกครองจากส่วนกลางค่อย
ลดลง เหล่าขุนนางที่ปกครองเมืองท่ีหางไกลก็เร่ิมแข็งขืนต่อ
อ้านาจมากขึ้นจนถึงประมาณ 700 ปีก่อนคริสตกาล อียิปต์ก็
พา่ ยแพต้ ่อชาวอัสซีเรียน และเมื่ออาณาจักรเปอร์เซียได้เข้ายึด
ครองเมโสโปเตเมีย อียิปต์ก็ตกเป็นส่วนหนึ่งของเปอร์เซีย
และประมาณ 332 ปีก่อนคริสตกาล ดินแดนอารยธรรมท้ัง
เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และอียิปต์ก็ได้ตกอยู่ภายใต้อ้านาจ
การปกครองของพระเจา้ อเล็กซานเดอร์มหาราช

8

ท่ตี ั้งของอารยธรรมอียิปต์

9

10

ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้าไนล์ ทวีปแอฟริกาตอน
เหนือ

อียิปต์โปราณต้ังอยู่ระหว่างโลกตะวันตกและ
ตะวันออก โลกตะวันตกคือดินแดนที่อยู่รอบทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน ส่วนโลกตะวันออก ได้แก่
ดินแดนเมโสโปเตเมียและดินแดนในแถบลุ่ม
แมน่ า้ สนิ ธุ

• ทศิ เหนอื ของอียิปต์จรดทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น
• ทศิ ตะวันตกติดกับทะเลทรายซาฮารา

ทะเลทรายลเิ บยี และทะเลทรายนูเบีย
• ทิศตะวนั ออก ถัดไปคอื ทะเลแดง
• ทิศใต้จรดประเทศนเู บียหรือซดู านใน

ปจั จบุ นั

11

ลกั ษณะอารยธรรมอยี ปิ ต์

12

สภาพสังคมอียปิ ต์โบราณเปรียบไดก้ บั รปู สามเหล่ยี มจดั แบง่
ออกไดเ้ ปน็ 5 ระดบั

1. กษัตริย์และราชวงศ์ถูกก้าหนดให้อยู่ในต้าแหน่ง

สูงสุด กษตั ริยส์ ามารถมมี เหสแี ละสนมไดม้ ากมาย ตลอดจน

สนมอาจเป็นพี่สาวหรือน้องสาวร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกับ

มนุษย์

2. พระและขุนนาง มีบทบาททางด้านศาสนาและการ

ปกครอง ชนทงั้ สองกลุม่ นจ้ี ดั เปน็ ชนชนั้ สูงรองจากกษตั รยิ ์

3. ชนช้ันกลาง ได้แก่ พอ่ คา้ ชา่ งฝีมอื และศิลปนิ

4. ชนชั้นต่้า ได้แก่ ชาวนาซึ่งจัดเป็นชนช้ันส่วนใหญ่

ของดนิ แดนสภาพของชาวนาอยู่ในรูปข้าติดท่ีดิน ชาวนาเปน็

ก้าลังส้าคัญในกองทัพและเป็นแรงงานหลักในการสาธารณะ

ประโยชน์

5. ทาส เป็นชนชั้นต้่าสุดถูกกวาดต้อนมาภายหลังพ่าย

แพ้สงคราม 13

การประกอบอาชพี แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภทคือ

1. การเพาะปลูกและการเล้ียงสัตว์จัดเป็นอาชีพหลัก
เริ่มมขี ึน้ เมอ่ื ประมาณ 4000 B.C. อาชีพดังกล่าวนิยมทา้
แถบลุ่มน้าไนล์ พืชที่นิยมปลูกคือข้าวสาลี ข้าวบาเลย์
ตน้ แฟล็กซต์ ลอดจนผลไมต้ า่ ง ๆ เปน็ ตน้

2. การค้า เร่ิมปรากฎเมื่อประมาณ 4000 B.C.
โดยนิยมท้าการค้ากับคนในแถบชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์
เรเนยี น เมโสโปเตเมยี และอาระเบยี เป็นตน้

3. การท้าเหมอื งแร่ ทองแดงเป็นแร่ธาตทุ ช่ี าวอียิปต์
เร่ิมขุดมาเม่ือประมาณ 4000 B.C. โดยท้ากันในแถบ
ไซนาย พลอยและทองค้าขุดบรเิ วณเทอื กเขาตะวันออก

4. งานฝมี อื ไดแ้ ก่ งาน ป้นั งานหล่อ งานทอผ้า
เป็นตน้

14

การปกครอง ลักษณะการปกครองเป็นแบบเทวธิปไตย
(Theocracy) กลา่ วคอื ผู้ปกครองอ้างด้าเนินการปกครองในนาม
หรืออาศัยอ้านาจของเทพเจ้าเพ่ือใช้ในการ ปกครองกลุ่มบุคคลท่ี
ดา้ เนนิ การปกครอง ไดแ้ ก่

- กษตั ริยห์ รือฟาโรห์ (Pharaoh) หน้าท่ีของฟาโรห์คอื เป็น

ผู้น้าทางการปกครองและศาสนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับใน

การปกครองเกิดจากการก้าหนดข้ึนของกษัตริย์ผเู้ ปน็ เจ้าของ

ชวี ิตของ ชาวอยี ิปต์โบราณ

- ขุนนางช้ันผู้ใหญ่หรือวิเชียร (Vizier) เป็นต้าแหน่งใช้

เรียกผู้บรหิ ารที่สา้ คญั รองจากกษัตริย์

- ขุนนาง (Noble) ท้าหน้าท่ีรับผิดชอบหน่วยงานท่ีส้าคัญ

เช่น ในการเกบ็ ภาษแี ละการชลประทาน เปน็ ต้น

- ขุนนางมณฑลหรือผู้ว่าการมณฑลหรือโนมาร์ ซ

(Nomarch) เป็นต้าแหน่งข้าหลวงประจ้าตามมณฑลหรือ

เมืองที่ห่างไกลจากเมืองหลวง มณฑลหรือเขตนั้นเรียกว่า

นอม (Nome) 15

ผลงานของอารยธรรมอยี ปิ ต์

16

ด้านอักษรศาสตร์ อักษรไฮโรกลิฟิกเป็น

อักษรรุ่นแรกท่ีอียิปต์ประดิษฐ์ข้ึน เป็นอักษรภาพ
แสดงลักษณ์ต่าง ๆ ต่อมามีการพัฒนาตัวอักษร
เป็นแบบพยัญชนะ ในระยะแรก ชาวอียิปต์จารึก
เรื่องราวด้วยการแกะสลักอักษรไว้ตามก้าแพงและ
ผนังของสิ่งก่อสร้าง ต่อมาค้นพบวิธที ้ากระดาษจาก
ต้น ปาปิรุส ท้าให้มีการบันทึกแพร่หลายมาก
ขึ้น ความก้าวหน้าทางอักษรศาสตร์จึงเป็นหลกั ฐาน
ทางประวัติศาสตร์ท่ีท้าให้ชาวโลก ทราบถึงความ
เจรญิ และความต่อเนอ่ื งของอารยธรรมอียปิ ต์

17

18

ด้ า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง

สถาปัตยกรรมอียิปต์คือพีระมิด ซ่ึงสร้างข้ึนด้วย
จดุ ประสงคท์ างศาสนาและอ้านาจทางการปกครอง ด้วย
ความเช่ือทางศาสนา ฟาโรห์ของอียิปต์จึงสร้างพีระมิด
สา้ หรบั หรับตนเอง ความยิ่งใหญ่ของพรี ะมิดสะทอ้ นถงึ
อ้านาจของฟาโรห์ ความสามารถในการออกแบบและ
ก่อสร้างของชาวอียิปต์ เช่น พีระมิดแห่งเมืองกิซา
(Giza) ซึ่งใชแ้ รงงานคนถงึ นบั แสนคน ทา้ การกอ่ สรา้ ง
พรี ะมิดขนาดความสูง 137 เมตร เปน็ เวลานานถึง 20
ปี โดยใช้หินทรายตัดเป็นก้อนส่ีเหลี่ยม น้าหนัก
ขนาด 2.2-2.5 ตัน รวมประมาณ 2 ล้านก้อนเป็น
วสั ดกุ ่อสรา้ ง

19

20

ด้านประติมากรรม ชาวอียิปต์สร้างผลงาน

ประติมากรรมไว้จ้านวนมาก ทั้งท่ีเป็นรูปปั้นและภาพ
สลัก ส่วนใหญ่ประดับอยู่ในพีระมิดและวิหาร ท่ีพบใน
พีระมิดมักเป็นรูปป้ันของฟาโรห์และมเหสี ภาพสลักท่ี
แสดงถึงเร่ืองราวต่าง ๆ และวิถีชีวิตของชาวอียิปต์ ส่วน
ในวิหารมักเป็นรูปป้ันสัญลักษณ์ของเทพและสัตว์
ศักด์ิสิทธิ์ที่นับถือ เช่น สุนัข แมว เหย่ียว ฯลฯ และ
ภาพสลกั ที่แสดงเร่ืองราวและเหตุการณ์

21

ด้านจิตรกรรม ชาวอียิปต์มีผลงานด้านจิตรกรรม

จ้านวนมาก มัพบในพีระมิดและสุสานต่าง ๆ ภาพวาด
ของชาวอียิปต์ส่วนใหญ่มีสีสันสดใส มีท้ังภาพ
สญั ลักษณข์ องเทพเจา้ ทช่ี าวอยี ิปต์นับถือ พระราชกรณีย
กิจของฟาโรห์และสมาชิกในราชวงศ์ ภาพบุคคลทั่วไป
และภาพ ท่ีสะท้อนวิถีชีวิตของชาวอียิปต์ เช่น การ
ประกอบเกษตรกรรม

22

23

24

ด้านการแพทย์ มีความก้าวหน้าทางด้าน

การแพทย์มาก อียิปต์มีผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์
หลายสาขา เช่น ทันตแพทย์ ศัลยแพทย์ และแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร ในสมัยนี้แพทย์
อียิปต์สามารถผ่าตัดคนไข้แบบง่าย ๆ ได้แล้ว
นอกจากนี้ยังคิดค้นวิธีปรุงยารักษาโรคต่าง ๆ ได้
จ้านวนมาก โดยรวบรวมเป็นต้าราเล่มแรก ซ่ึงต่อมา
ถกู นา้ ไปใชก้ นั แพร่หลายในทวปี ยุโรป

25

26

ด้านความเชื่อ เกิดเทพเจ้าหลายองค์ ได้แก่ รา (RA)

เป็นเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ ชาวอียิปต์เชื่อว่าพระองค์เป็น
ผู้สร้างโลกและสวรรค์รวมท้ังส่ิงมีชีวิตท้ังปวง นอกจาก รา
แล้ว เทพทชี่ าวอยี ปิ ตน์ ับถอื กันมากไดแ้ ก่
- โอซิริส เทพแห่งยมโลกผู้มีหน้าท่ตี ัดสินดวงวิญญาณเทพ
เจ้าแหง่ ล่มุ แมน่ ้าไนล์
- เทพไี อซิสเทพีแห่งความอดุ มสมบรู ณ์
- เซท็ เทพแหง่ สงคราม
- ฮาธอร์เทพแี หง่ ความรกั
- ฮอรัส เทพผูเ้ ปน็ ตัวแทนของฟาโรห์ทกุ พระองค์

นอกจากน้ียังมีเทพอ่ืน ๆ ที่ถือเป็นเทพเจ้าประจ้าแต่ละ
เมือง มีการจารกึ บนกระดาษปาปิรุสหรอื บนหีบศพเพื่อแสดง
ต่อเทพเจ้าโอซิริสท่ีเรียกว่า “คัมภีร์มรณะ” (Book of
Dead)

27

28

แบบทดสอบ

29


Click to View FlipBook Version