The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด.ญ.สุภัชชา เภาโพธิ์ ม.2/2 เลขที่23

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 23 สุภัชชา, 2023-08-17 00:57:42

E-book เรื่องน่ารู้ของห้องสมุด

ด.ญ.สุภัชชา เภาโพธิ์ ม.2/2 เลขที่23

เรื่อ รื่ งน่ารู้เ รู้ กี่ย กี่ วกับห้อ ห้ งสมุด มุ โดย เด็กหญิงญิ รินรดา อภิชาตากร เลขที่ 22 เด็กหญิงญิสุภัชชา เภาโพธิ์ เลขที่ 23 เด็กหญิงญิณัช ณั ชา เวนเต้น เลขที่ 33 ชั้น ชั้ มัธ มั ยมศึก ศึ ษาปีที่ 2/2 รายวิชา การสื่อ สื่ สารและการนำ เสนอ IS2 ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีการศึก ศึ ษา 2566 ครูผู้สผู้ อน นายเกีย กี รติศัก ศั ดิ์ แก้วศรี โรงเรีย รี นสายน้ำ ผึ้ง ผึ้ ในพระอุปถัมภ์ฯ สำ นักงานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึก ศึ ษามัธ มั ยมศึก ศึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2


คำ นำ รายงานนี้จั นี้จัดขึ้น ขึ้ ในรายวิชา การสื่อ สื่ สารและการนำ เสนอ (IS) มีวั มีวัตถุปถุระสงค์ เพื่อ พื่ การสึก สึ ษาความรู้เ รู้ กี่ยวกับ ห้อ ห้ งสมุดมุโดยทางสมาชิกชิ ได้จัดทำ และนำ เสนอในรูป แบบของรายงานการศึก ศึ ษาค้นคว้าตามความสนใจของสมาชิกชิภายในกลุ่มลุ่โดยได้นำ เสนอเนื้อ นื้ หาที่หลากหลาย และทางคณะผู้จัผู้ จัดทำ หวังเป็น ป็ อย่าย่งยิ่งยิ่ว่าจะมีปมี ระโยชน์แ น์ ก่ ผู้ที่ผู้ที่สนใจศึก ศึ ษาค้นคว้าในเนื้อ นื้ หาดังกล่าวที่ได้นำ เสนอมานี้ คณะผู้จัผู้ จัดทำ ก


ส า ร บั ญบั ข เ รื่ อ รื่ ง น่ า รู้ ขรู้ อ ง ห้ อห้ ง ส มุ ด มุ ห น้ า คำ นำ ก ส า ร บั ญบั ข บ ท ที่ 1 ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ห นั ง สื อ สื 1.1 ห นั งนั สื อ สื ส า ร ค ดี 1.2 ห นั งนั สื อ สื บั งบั เ ทิ ง ค ดี 1.3 นิ ต นิ ย ส า ร 1 - 2 บ ท ที่ 2 ก า ร จั ด เ ก็ บ ห นั ง สื อ สื 2.1 ก า ร จั ด ห ม ว ด ห มู่ ห มู่ นั งนั สื อ สื 2.2 ก า ร เ ก็ บ รั กรั ษ า 2.3 ก า ร ยื ด ยื อ า ยุ ห นั งนั สื อ สื 3 - 4 บ ท ที่ 3 ป ร ะโ ย ช น์ ข อ ง ห นั ง สื อ สื 3.1 ก า ร อ่ า น ห นั งนั สื อ สื ช่ วช่ย อ ะไ ร 3.2 ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ห นั งนั สื อ สื 3.3 ก า ร อ่ า น วิ เ ค ร า ะ ห์ วิ ห์ วิ จ า ร ณ์ คื ณ์ คื อ อ ะไ ร 5 - 6 บ ท ที่ 4 ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ห นั ง สื อ สื 7 - 8 4.1 ป ร ะ วั ติ ห นั งนั ส มุ ด มุ 4.2 ห อ ไ ต ร คื อ อ ะไ ร 4.3 ห้ อ ห้ ง ส มุ ด มุ ใ น อ ดี ต บ ท ที่ 5 บ ท ส รุ ป 9 - 1 0 ภ า ค ผ น ว ก ค


บทที่1ที่ ประเภทของหนังสือ สื หนังนัสือ สื เป็น ป็ เครื่อ รื่ งวัดความเจริญริของสังสัคมอย่าย่งหนึ่ง นึ่ และความ สนใจได้แตกแขนงออกไปอย่าย่งกว้างขวางทำ ให้เ ห้ กิดการศึก ศึ ษา ค้นคว้าหาความรู้แ รู้ ละทำ ให้เ ห้ กิดหนังนัสือ สืประเภทต่างๆมากขึ้น ขึ้ ประเภทของหนังสือ มีดังนี้ 1.1 หนังนัสือ สื สารคดี 1.2 หนังนัสือ สื บันบัเทิงคดี 1.3 นิตนิยสาร 1.1หนังสือ สื สารคดี เป็น ป็ การเขีย ขี นหรือ รื วรรณกรรมร้อ ร้ ยแก้วในลักษณะตรง ข้า ข้ มกับบันบัเทิงคดีที่มุ่งมุ่ให้ส ห้ าระความรู้แ รู้ ก่ผู้อ่ผู้ อ่านเป็น ป็ เบื้อ บื้ งต้นมีค มี วามเพลิดเพลินเป็น ป็ เบื้อ บื้ งหลัง ที่มุ่งมุ่แสดง ความรู้ ความคิด ความจริงริความกระจ่างแจ้งและ เหตุผตุลเป็น ป็ สำ คัญอาจจะเขีย ขี นเชิงชิอธิบธิายหรือ รื วิเคราะห์เ ห์ ชิงชิแนะนำ คำ สอน เป็น ป็ ต้น 1


1.2 หนังสือ สื บันบัเทิงคดี เรื่อ รื่ งที่แต่งขึ้น ขึ้ โดยมุ่งมุ่ให้ค ห้ วามบันบัเทิงแก่ผู้รัผู้บรัเป็น ป็ สำ คัญ เรีย รี บเรีย รี งขึ้น ขึ้ จากการผสมกันระหว่างประสบการณ์ จินตนาการ และทฤษฎีหากผู้รัผู้บรัก็ได้ข้อ ข้ คิดในทางใด ทางหนึ่ง นึ่ ก็เป็น ป็ ผลจากอารมณ์ข ณ์ องผู้รัผู้บรัเองผู้แผู้ ต่งอาจจะ ตั้งใจหรือ รื ไม่ไม่ด้ตั้งใจแต่หากตั้งใจก็อาจใช้ก ช้ ลวิธีก ธี ารนำ เสนอประเภทหนึ่ง นึ่ ว่าไม่ไม่ด้ตั้งใจบันบัเทิงคดีตรงข้า ข้ มกับ สารคดีได้แก่ นวนิยนิาย การแสดงโชว์เป็น ป็ ต้น 1.3 นิตยสาร สิ่งสิ่ที่พิมพิพ์ร พ์ ายคาบที่ออกเป็น ป็ ระยะสำ หรับรัผู้ อ่านทั่วไป มีเ มี นื้อ นื้ หาหลากหลาย มุ่งมุ่ทั้งให้ค ห้ วาม รู้แ รู้ ละความบันบัเทิง ความรู้มั รู้ กมัเป็น ป็ ไปใน ลักษณะที่ให้ค ห้ วามรอบรู้ มีก มี ารหารายได้จาก โฆษณาและวางขายทั่วไป 2


การจัดเก็บหนังสือ สื หนังนัสือ สื ที่มีเ มี นื้อ นื้ หาเดียวกัน สัมสัพันพัธ์กั ธ์ กันหรือ รื คล้ายคลึงกันจะอยู่ใยู่นหมวดหมู่ เดียวกันช่วช่ยให้ผู้ ห้ ใผู้ช้ส ช้ ามารถค้นหาหนังนัสือ สื ได้สะดวกรวดเร็ว ร็ และสะดวกแก่ เจ้าหน้า น้ ที่ในการจัดเก็บหนังนัสือ สื เข้า ข้ ชั้นชั้อย่าย่งเป็น ป็ ระบบและมีร มี ะเบีย บี บเพื่อ พื่ ให้ ทราบว่าหนังนัสือ สื แต่ละสาขาวิชามีม มี ากพอสำ หรับรัผู้ใผู้ช้ห ช้ รือ รื ไม่เม่พื่อ พื่ จะได้ จัดหาเพิ่มพิ่เติมได้ การจัดเก็บหนังสือ สื มีดั มีดังนี้ 2.1การจัดหมวดหมู่ 2.2การเก็บรักรัษา 2.3การยืด ยื อายุหนังนัสือ สื 2.1 การจัดหมวดหมู่ 2.1.1 แบ่งบ่ตามตัวเลขของหนังนัสือ สื เช่นช่ 000-099 เบ็ด บ็ เตล็ด 2.1.2 แบ่งบ่ตามหมวดหมู่ขมู่องหนังนัสือ สื เช่นช่นวนิยนิาย 2.1.3 แบ่งบ่ตามผู้แผู้ ต่ง 3


2.2การเก็บรัก รั ษา 2.2.1. ก่อนอ่านหนังนัสือ สื ควรห่อห่ ปกให้เ ห้ รีย รี บร้อ ร้ ยเพื่อ พื่ป้อ ป้ งกันคราบ สกปรกที่จะมาเลอะหนังนัสือ สื 2.2.2. ควรทำ ความสะอาดให้เ ห้ รีย รี บร้อ ร้ ยก่อนเก็บใส่ชั้ส่ชั้นชั้ 2.2.3 อย่าย่เก็บในที่ถูกถูแสงแดดโดยตรง 2.2.4 ไม่คม่วรรับรั ประทานอาหารขณะอ่านหนังนัสือ สื 2.2.5 อย่าย่พับพัมุมมุหนังนัสือ สื 2.2.6 ไม่คม่วรถ่ายเอกสารหนังนัสือ สื 2.2.7 อย่าย่ ใช้เ ช้ ทป หรือ รื กาวติดหนังนัสือ สื 2.2.8 พยายามอย่าย่ ใช้ที่ ช้ที่กั้นหนังนัสือ สื บางๆ จากโลหะ ควรใช้ก ช้ ล่อง พลาสติก หรือ รื สิ่งสิ่ปกคลุมลุหนังนัสือ สื แทน 2.3การยืด ยื อายุหนังสือ สื 2.3.1. เก็บหนังนัสือ สื ในถุงถุซิปซิล็อค 2.3.2. ห่อห่ ปกทุกทุครั้งรั้ 2.3.3. หลีกเลี่ยงแสงแดดและความชื้น ชื้ 2.3.4. หยิบยิออกมาอ่านบ้า บ้ ง 2.3.5. ระวังตอนกิน 2.3.6. จัดหนังนัสือ สื ให้เ ห้ป็น ป็ ระเบีย บี บ ไม่แม่น่นน่เกินไป 4


บทที่3ที่ ประโยชน์ของหนังสือ สื หนังนัสือ สื หมายถึง สิ่งสิ่พิมพิพ์ที่ พ์ที่เป็น ป็ เล่มถาวร มีปมี กเรีย รี บร้อ ร้ ย อาจเป็น ป็ ปกอ่อนหรือ รืปกแข็ง ข็ ก็ได้ มีก มี ารเรีย รี งหน้า น้ ตามลำ ดับหน้า น้ ประโยชน์ของหนังสือ สื มีดั มีดังนี้ 3.1 การอ่านหนังนัสือ สื ช่วช่ยอะไร 3.2 ความสำ คัญของหนังนัสือ สื 3.3 การอ่านวิเคราะห์วิ ห์ วิจารณ์คื ณ์ คื ออะไร 3.1 การอ่านหนังสือ สื ช่วช่ยอะไร 3.1.1 ช่วช่ยกระตุ้นตุ้การทำ งานของสมอง 3.1.2 ได้รับรัความรู้ 3.1.3 มีส มี มาธิจธิดจ่อมากขึ้น ขึ้ 3.1.4 ความเครีย รี ดลดลงและจิตใจสงบมากขึ้น ขึ้ 3.1.5 มีทั มี ทักษะการสื่อ สื่ สารที่ดี 5


3.2ความสำ คัญของหนังสือ สื 3.2.1 ใช้ห ช้ าข้อ ข้ มูลมูที่สนใจ 3.2.2 ศึก ศึ ษาเรื่อ รื่ งต่างๆ 3.2.3 ใช้ฝึช้ ก ฝึ ทักษะที่ต้องการ 3.2.4 ใช้เ ช้ป็น ป็ สิ่งสิ่บรรเทิงทางจิตใจ 3.3การอ่านวิเคราะห์วิ ห์ วิจารณ์คืออะไร 3.3.1 การวิเคราะห์ คือการหาคำ ตอบว่า บทความ ข้อ ข้ ความ ที่อ่านนั้นนั้ ให้รู้ ห้รู้เ รู้ รื่อ รื่ งอะไรบ้า บ้ ง ข้อ ข้ เขีย ขี นแสดงความคิดเห็น ห็ และ ความรู้สึ รู้ ก สึ อย่าย่งไร ใช้เ ช้ หตุผตุลในการอธิบธิายแง่มุมมุต่างๆ สามารถนำ ไปใช้ใช้ นชีวิ ชีวิตประจำ วันและนำ ไปในการอ่านเพื่อ พื่ การประเมินมิค่าต่อไปได้ 3.3.2 การวิจารณ์ ความหมายที่๑ คือการให้คำ ห้ คำตัดสินสิสิ่งสิ่ที่ เป็น ป็ ศิลศิปกรรมหรือ รื วรรณกรรม โดยผู้มีผู้ ค มี วามรู้เ รู้ ชื่อ ชื่ ถือได้ว่ามี ความงาม ความไพเราะเพีย พี งใดหรือ รื มีข้ มี อ ข้ ขาดตกบกพร่อร่ง อย่าย่งไรบ้า บ้ ง ความหมายที่๒ คือการติชมในความหมายโดยทั่วไปมักมั ใช้คำ ช้ คำ ว่า วิพากษ์วิจารณ์ 3.3.3การอ่านวิเคราะห์วิ ห์ วิจารณ์คื ณ์ คื อการแยกแยะแล้วนำ มา วิจารณ์ข้ ณ์ อ ข้ ดีข้อ ข้ เสีย สี และประเมินมิค่าของสิ่งสิ่ใดสิ่งสิ่หนึ่ง นึ่ หมาย ถึงการวิเคราะห์วิ ห์ วิจารณ์ลั ณ์ ลักษณะของบทประพันพัธ์ แล้ว แยกแยะส่วส่นประกอบที่สำ คัญวิเคราะห์ค ห์ วามหมายของบท ประพันพัธ์ 6


ความเป็นมาของหนังสือ สื บทที่ 4 หนังนัสือ สื คือ สื่อ สื่ ชนิดนิหนึ่ง นึ่ ที่เป็น ป็ แหล่งรวบรวมข้อ ข้ มูลมูต่างๆ เอาไว้มากมาย ด้วยตัวอักษรที่ร้อ ร้ ยเรีย รี งกัน ภาพวาดที่ถูกถูรวบรวมเป็น ป็ เล่มเดียวและยังยั กล่าวได้ว่าการเจริญริขึ้น ขึ้ ของอารยธรรมมนุษนุย์นั้ ย์ นั้นั้หนังนัสือ สื เป็น ป็ หนึ่ง นึ่ในปัจปัจัย สำ คัญที่สามารถสร้า ร้ งอารยธรรมในปัจปัจุบันบัขึ้น ขึ้ มาได้ ไม่ว่ม่ ว่าผ่าผ่นมากี่ยุคสมัยมั “หนังนัสือ สื” ยังยัคงเป็น ป็ สื่ง สื่ ที่ส่งส่ต่อองค์ความรู้แ รู้ ละภูมิภูปัมิญปัญาจากรุ่นรุ่สู่รุ่สู่รุ่นรุ่มา ยาวนาน ความเป็นมาของหนังสือ สื มีดั มีดังนี้ 4.1 ประวัติห้อ ห้ งสมุดมุ 4.2 หอไตรคืออะไร 4.3 ห้อ ห้ งสมุดมุในอดีต 4.1 ประวัติห้อ ห้ งสมุด มุ ห้อ ห้ งสมุดมุที่แรกในไทยเริ่มริ่มีม มี าต้ังแต่สมัยมัสุโสุขทัยเป็น ป็ ราชธานี กระดาษเกิดขึ้น ขึ้ ในประเทศจีน เมื่อ มื่ ค.ศ.105 โดยขุนนางไซลั่น กระดาษในไทยทำ มาจาก ต้นสา ทางภาคเหนือ นื นิยนิมทำ กัน เรีย รี กว่ากระดาษสา อีกชนิดนิหนึ่ง นึ่ คือต้นข่อข่ย สมัยมัสุโสุขทัย (พ.ศ. 1800 – 1920) พ่อพ่ขุนรามคำ แหงมหาราชได้ทรง ประดิษฐ์อั ฐ์ อักษรไทยขึ้น ขึ้ ในปี พ.ศ. 1826 ได้จารึก รึ เรื่อ รื่ งราวต่างๆ ลงบน แผ่นผ่หินหิหรือ รื เสาหินหิคล้ายกับหลักศิลศิาจารึก รึ ของพ่อพ่ขุนรามคำ แหง มหาราช 7


4.2 หอไตรคืออะไร หอพระไตรปิฎปิก หรือ รื ชาวบ้า บ้ นเรีย รี กว่า หอไตร เป็น ป็ ที่ เก็บรักรัษาพระไตรปิฎปิก โดยมีนั มี ยนัของการสร้า ร้ งหอไตรคือ เป็น ป็ สถานที่ศักศัดิ์สิทสิธิ์ปธิ์ระจำ พระราชวัง และใช้เ ช้ป็น ป็ ห้อ ห้ ง สมุดมุประจำ พระอารามสำ หรับรัพระสงฆ์ใฆ์ ช้ศึ ช้ ก ศึ ษาเล่า เรีย รี น ดังปรากฏหลักฐานในศิลศิาจารึก รึ วัดป่าป่มะม่วม่ง ภาษาเขมร (หลักที่ 4) ปี พ.ศ. 1904 4.3 ห้อ ห้ งสมุด มุ ในอดีต ดี ห้อ ห้ งสมุดมุที่เก่าแก่ที่สุดสุในโลก และที่ตั้งขึ้น ขึ้ เป็น ป็ แหล่งแรก สันสันิษนิฐานกันว่า เห็น ห็ จะได้แก่ ห้อ ห้ งสมุดมุตามวัด และพระราชวัง เพราะวัดเป็น ป็ ที่ชุมนุมนุของนักนับวช ซึ่ง ซึ่ เป็น ป็ ผู้รู้ผู้รู้เ รู้ รื่อ รื่ งศาสนา พระราชวังเป็น ป็ ที่ซึ่ง ซึ่ มีนั มี กนัปราชญ์ร ญ์ าชบัณบัฑิตรับรัราชการ หรือ รื อยู่ ในพระราชูปถัมภ์ 8


บทที่5ที่ งานประดิษฐ์เ ฐ์ พื่อ พื่ สัง สั คม ที่ม ที่ าและความสำ คัญ หนังนัสือ สื มีค มี วามสําสํคัญและมีปมี ระโยชน์กั น์ กับชีวิ ชีวิตมาก เพราะมนุษนุย์ ต้องการแสวงหาคําตอบที่ตนอยากรู้ อยากเห็น ห็ ด้วยวิธีก ธี ารต่าง ๆ เช่นช่ ซักซัถาม และเดินทาง เป็น ป็ ต้น แต่วิธีที่ ธีที่มนุษนุย์จ ย์ ะแสวงหาคําตอบได้ดี ที่สุดสุและสะดวกที่สุดสุคือ การแสวงหาคําตอบจากหนังนัสือ สื ดังนั้นนั้ หนังนัสือ สื จึงเป็น ป็ แหล่งอ้างอิงที่ดีที่สุดสุส่วส่นต่าง ๆ ของหนังนัสือ สื 9 ขั้นขั้ตอนการดำ เนินงาน 1.สืบ สื ค้นวิธีทำ ธี ทำ 2.เลือกดูวิดูวิธีทำ ธี ทำ 3.นำ กระดาษ a4 มาแล้วนำ มาตัด เป็น ป็ รูปสี่เ สี่ หลี่ยมขนาดเล็ก 4.พับพั ให้เ ห้ป็น ป็ ที่คั่นหนังนัสือ สื 5.ตกแต่งให้ส ห้ วยงาม


10 ประโยชน์ที่ไที่ ด้รับรั คั่นหน้า น้ หนังนัสือ สื เพื่อ พื่ประหยัดยัเวลาในการกลับมาอ่านซ้ำ คั่นหน้า น้ หนังนัสือ สื เก็บไฮไลท์เนื้อ นื้ หาส่วส่นที่ชอบ หรือ รื สำ คัญ ช่วช่ยให้ห ห้ นังนัสือ สื ไม่เม่กิดความเสีย สี หายจากการคั่นด้วยสิ่งสิ่อื่น ที่ไม่เม่หมาะสม เป็น ป็ อีกหนึ่ง นึ่ในการถนอมหนังนัสือ สื เป็น ป็ แฟชั่นชั่เพื่อ พื่ ความสวยงาม เป็น ป็ ของขวัญ และของที่ระลึก สามารถใช้เ ช้ป็น ป็ สื่อ สื่ โฆษณา ประชาสัมสัพันพัธ์


ค ภาคผนวก คณะผู้จัผู้ จั ดทำ


คณะผู้จัผู้ จั ดทำ ชื่อ ชื่ จริงริรินริรดา อภิชาตากร ชื่อ ชื่ เล่น พลอย ชั้นชั้ม. 2/2 เลขที่ 22 ชื่อ ชื่ จริงริสุภัสุภัชชา เภาโพธิ์ ชื่อ ชื่ เล่น แก้ม ชั้นชั้ม. 2/2 เลขที่ 23 ชื่อ ชื่ จริงริณัชณัชา เวนเต้น ชื่อ ชื่ เล่น เอดา ชั้นชั้ม. 2/2 เลขที่ 33


Click to View FlipBook Version