The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 19:03:28

นายพินัย

นายพินัย

คาํ นาํ

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ ซ่ึงเหมาะสมที่จะเปนตัวอยางใหแกบุคคลท่ัวไป
เพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก ทส่ี นใจเขา มาศกึ ษาเรยี นรคู วามสาํ เรจ็ สาํ นกั งาน

พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) รวมกับมูลนิธิ กปร. จึงพิจารณาเห็นสมควรให นายพินัย

ชยั พฒั นา สาํ นกั งบประมาณ กระทรวงมหาดไทย แกวจันทร เปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง

กองทัพไทย และมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนา โดยในเบื้องตน สํานักงาน กปร. ไดจัดพิมพ

ประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดจัดให หนงั สอื คมู อื ตวั อยา งความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใ ช

มีการประกวดผลงานตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภทเกษตรกร

พอเพยี ง ครงั้ ที่ 2 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ เผยแพร ทฤษฎใี หม เพอื่ เปน คมู อื ใหผ ทู สี่ นใจไดเ ขา ใจและ

ตวั อยา งความสาํ เรจ็ ของบคุ คล ชมุ ชน และองคก ร มองเห็นภาพการนอมนําหลักปรัชญาของ

ภาครัฐและธุรกิจ ที่ไดนอมนําเอาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการพัฒนา

เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการดําเนิน ตนเองและสว นรวม

ชีวิต การพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการ สุดทา ยน้ี สํานกั งาน กปร. ขอขอบคณุ

องคกร จนประสบความสําเร็จและเปนแบบ นายพินัย แกวจันทร เปนอยางยิ่ง ที่ใหความ

อยา งทด่ี แี กส งั คม อนุเคราะหขอมูลและรูปภาพในการจัดพิมพ

จากการประกวดผลงานฯ ที่ผานมา หนงั สอื เลม นี้ โดยหวงั เปน อยา งยง่ิ วา หนงั สอื คมู อื

นายพินัย แกวจันทร ไดรับรางวัลรองชนะเลิศ ตัวอยางความสําเร็จฯ เลมนี้ จะเปนแนวทาง

ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ และดาํ รงตนใหเ ปน ประโยชน

สยามบรมราชกมุ ารี ประเภทเกษตรกรทฤษฎใี หม ตอ สงั คมตอไป

สํานักงาน กปร.

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพนิ ัย แกวจนั ทร 1

2 คมู อื ตวั อยา งความสาํ เรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขอมลู สวนตัว

ชื่อ : นายพินยั แกวจันทร
สถานภาพ : สมรส
อายุ : 58 ป
การศกึ ษา : ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) แผนกชางกลโลหะ ป 2520

จากวิทยาลยั เทคนคิ ยะลา
สถานท่ตี ั้ง : บานเลขท่ี 72/3 หมทู ่ี 1 บานยโุ ปตําบลยโุ ป อําเภอเมอื งจังหวดั ยะลา
โทรศพั ท : 08-1388-5161 / 0-7327-0055

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพนิ ยั แกวจนั ทร 3

จุดเริ่มตน ของความสาํ เรจ็

นายพนิ ยั แกว จนั ทร สมรสกบั นางนวพร ที่มีนามาตั้งแตเด็กและสามารถสงลูกๆ เรียน
แกวจันทร มีบุตรชาย 2 คน ไดเริ่มทําเกษตร หนังสือไดโดยไมมีหน้ีสิน อีกท้ังยังไดรับการ
ทฤษฎีใหม เมื่อป 2538 โดยไดแ นวคิดจากบดิ า อบรมใหม คี วามเออ้ื อาทรตอ กนั จา ยเทา ทจี่ าํ เปน

4 คมู ือตัวอยางความสําเร็จ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นายพินยั ยึดหลัก
ในการดําเนนิ ชวี ติ

“ทําใหดู อยูใหเห็น
สอนใหเ ปน ”

กนิ เอง ทําเอง ปลกู เอง มรี ายไดจ ะไมเดือดรอน และไดนอมนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใน
โดยไดนําแนวที่บิดาสอนตนคือ ทําใหดู อยูให พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มาเปน หลกั ในการ
เหน็ สอนใหเปน มาเปนหลักในการดําเนนิ ชวี ิต ดาํ เนินชีวิตอยา งเพียงพอตลอดมา

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพินัย แกวจันทร 5

จากจดุ เรมิ่ ตน ในการเรมิ่ งานดา นเกษตร แบบผสมผสาน ไรนาสวนผสมเปนรายแรก
เพ่ือปรับเปล่ียนชีวิตของตนเอง ในการดําเนิน ของตําบลยุโป ดวยงบประมาณ 30,000 บาท
ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเรมิ่ จนกระทงั่ ปจ จบุ นั มพี นื้ ทดี่ าํ เนนิ การ จาํ นวน 15 ไร
จากพ้ืนท่ีนา จํานวน 3 ไร เพื่อทําการเกษตร

6 คูมือตวั อยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แรงบันดาลใจในการประยุกตใ ช
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

นายพนิ ยั จบการศกึ ษาจากแผนกชา งกล ทเี่ ทศบาลนครยะลา เพอื่ วางแผนจดั ทาํ ไรน าสวน
โลหะ ในป 2520 และไดเร่มิ ตน ชวี ติ การทาํ งาน ผสม จนไดรับนามวา “คนบาแหงบานยุโป”
โดยเปนลูกจางของกรมชลประทาน ตอมาได เนอ่ื งจากในขณะนน้ั ทกุ พน้ื ทข่ี องบา นยโุ ปจะเปน
โอนยา ยไปทาํ งานในกรมทรพั ยากรธรณี กระทรวง ที่นาทุกผืน มีเพียงนายพินัยท่ีเปนผูริเริ่มพลิก
อุตสาหกรรม และทํางานในเทศบาลนครยะลา ผนื นาเปน การทาํ ไรน าสวนผสม โดยไดร บั แนวคดิ
ซ่ึงรวมระยะเวลาในการทํางานเปนเวลา 18 ป จากบิดามารดาของตนซึ่งสามารถเล้ียงดูบุตร
กอนท่ีนําแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดถ งึ 6 คน จากการทาํ นาในพน้ื ทจี่ งั หวดั สงขลา
มาปรับใช โดยเริ่มจากในป 2539 ไดซ้ือท่ีดิน จึงเปนแรงบันดาลใจในการประยุกตใชใหเห็น
1 แปลง ขนาด 3 ไร ซง่ึ เปน ทนี่ าในขณะทท่ี าํ งาน ผลสาํ เร็จอยางเปนรปู ธรรม

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพนิ ัย แกว จันทร 7

การดาํ รงตนอยา งพอเพียง

ความพอประมาณ ความมเี หตุผล
มีการวางแผน ทําแบบคอยเปนคอยไป พิจารณาถึงศักยภาพของตนเองและ

เริ่มจากนอยไปหามาก ลดตนทุนการผลิตและ ครอบครัว ถึงความจําเปน ความเปนไปได

พจิ ารณาตามกาํ ลงั และความสามารถของตนเอง คิดกอนทํา มีการวางแผนงาน และการบริหาร

เปน หลกั โดยใชแ รงงานจากสมาชกิ ในครอบครวั จัดการเงินทุนอยางรอบคอบ โดยมีแนวคิดใน

ไมม กี ารจางแรงงาน รูจกั ใชจายเงนิ ไมฟ มุ เฟอย การทํางาน คอื “อดทน สงู าน หาประสบการณ

โดยมีการจัดทําบัญชีรายรับ-รายจาย มีการ ผสานภูมิปญญาทองถ่ิน” ใชเหตุและผลในการ

เกบ็ ออมเปนเงนิ ทุน ดําเนินชีวิต จนประสบความสําเร็จ ครอบครัว

มีความอบอุน เพราะทําการเกษตรดวยกัน

ตามศักยภาพของครอบครัว ทําใหเกิดการใช

พนื้ ท่ีอยางมปี ระสิทธิภาพ

8 คมู ือตัวอยางความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การมภี มู ิคมุ กันทีด่ ี
รูจักประมาณตน ไมทําเกินกําลังความ นายพินัยใหความสําคัญกับการทําบัญชี

สามารถของตนเอง มีการออม การวางแผนงาน ครัวเรอื น ซ่งึ ถือวา เปนภมู ิคมุ กนั ทีส่ ําคัญของทุก

มีการแบงปนและเอ้ือเฟอเผ่ือแผแกคนรอบขาง ครัวเรือน โดยถือวาการจัดทําบัญชีครัวเรือน

ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และชวยเหลือสังคม และการปรับเปล่ียนแนวคิด เปนสิ่งที่สําคัญ

แปลงพน้ื ทเี่ กษตรผสมผสาน มกี ารปลกู ไมโ ตเรว็ ในการถายทอดองคความรูในศูนยเรียนรูฯ

เพือ่ ใชส อย ไมผ ล พชื ผักสวนครัว เลยี้ งปลา ไก นอกเหนือจากการการลงมอื ปฏบิ ัติจริง

โดยปลูกและเลี้ยงทุกอยางที่กิน เพ่ือลดการ

พง่ึ พาจากภายนอก

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพินยั แกว จันทร 9

เง่ือนไขความรูคคู ณุ ธรรม

ความรู
เรยี นรจู ากภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ตาํ รา และ นอกจากน้ัน นายพนิ ยั เปน คนใฝรู สนใจ

การอบรม ศกึ ษาดงู าน โดยหมน่ั หาความรใู หก บั เรียนรูอยูเสมอและนําความรูมาปฏิบัติจนเกิด

ตนเองอยูตลอดเวลาและนํามาปรับใชในการ ประโยชน กอการตอยอดองคความรูไดจน

พัฒนาแปลงเกษตรทฤษฎีใหม โดยบริหาร ประสบผลสําเร็จ ดังจะเห็นไดจากกระบวนการ

จัดการพื้นท่ีไดอยางเหมาะสม ใชเวลาใหคุมคา ผลิตสมแขก โดยเริ่มตั้งแตขยายพันธุจนได

และมีการแบงปนความรูที่ไดรับใหกับผูอื่น ผลผลิต นําไปแปรรูปในรูปแบบตางๆ เชน

โดยมีปณิธานในการทํางาน “แบงรู แบงใช ตากแหง กวน เช่ือม เปนตน โดยเนนการ

เพ่ือถวายในหลวง” จดั จาํ หนา ยในรปู แบบทเ่ี ปน สนิ คา แปรรปู มากกวา

10 คมู อื ตวั อยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เน่ืองจากสามารถจําหนายไดในราคาสูงกวา คณุ ธรรม
หลายเทา จนเปน ทตี่ อ งการของตลาด ซง่ึ สว นใหญ ดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจ

จะเปนการส่ังซ้ือจากหนวยงานราชการภายใน พอเพยี ง และใชห ลกั อทิ ธบิ าท 4 ในการดาํ เนนิ ชวี ติ

ทอ งถน่ิ นอกจากนี้ ยงั มผี ลติ ภณั ฑน า้ํ มนั มะพรา ว รูจักเอ้ืออาทรแกผูอ่ืน โดยมีแนวคิด “มุงม่ัน

สกัดเย็น ท่ีทําการตลาดในรูปแบบของ OTOP ขยัน ประหยัด แนวปฏิบัติท่ีพอสอน มีวินัย

จังหวัดยะลา ไมเดอื ดรอ น เอ้ืออาทร ชวี ติ พอเพียง”

มุงม่ัน ขยนั ประหยัด
แนวปฏบิ ัตทิ พ่ี อ สอน
มีวนิ ัย ไมเดอื ดรอน
เอื้ออาทร ชีวิตพอเพียง

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพนิ ัย แกวจนั ทร 11

ผลสําเรจ็ จากการประยกุ ตใชป รัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

การนําเกษตรแบบผสมผสานมาปรับใช และเหมาะสม สําหรับดานครอบครัว สมาชิก
โดยทไ่ี มจ าํ เปน ตอ งพงึ่ พาการใชส ารเคมี สามารถ ในครอบครัวมีความเขาใจในแนวทางที่ปฏิบัติ
ชว ยลดตน ทนุ จากการใชป ยุ และยาปราบศตั รพู ชื และมีสวนชวยโดยรวมแรงรวมใจกันทําการ
นอกจากน้ียังมีการจัดทําบัญชีรายรับรายจาย เกษตร ตลอดจนเปนวิทยากรในการใหความรู
เพื่อใชวางแผนในการใชจายเงินอยางถูกตอง แกผ เู ขา อบรมในกจิ กรรมตา งๆ และเคยไดร ว มกบั

12 คมู ือตัวอยางความสําเร็จ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

อาจารยใหญโรงเรียนท่ีภรรยารับราชการอยู ศูนยเรียนรู โดยมีคณะกรรมการท้ังสิ้น จํานวน
ทําแปลงสาธิตในโรงเรียนใหนักเรียนไดปฏิบัติ 9 ทาน มีนายพินัย แกวจันทร เปนประธาน
จึงเปนตัวอยางแกชุมชน และไดผลผลิตใชเปน เพ่ือชวยกันถายทอดความรูภายในศูนยเรียนรูฯ
อาหารกลางวนั ของนกั เรยี น ปจ จบุ นั มกี ารจดั ตง้ั โดยมีแนวคิด “อดทน สูงาน หาประสบการณ
ในรูปของคณะกรรมการเพื่อเปนวิทยากรใน พง่ึ ภูมปิ ญญาทองถ่ิน”

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพนิ ัย แกวจนั ทร 13

การจัดการอบรมของนายพินัย มีการ หลักสตู รฝกอบรม
จดั ทาํ หลกั สตู รเสรมิ ความรตู า งๆ ดา นเกษตร ดงั นี้
1. การจัดการไรนาสวนผสม การขยาย

พนั ธุพ ืช การเลยี้ งสัตว การประมง

2. การทาํ ของใชใ นครวั เรอื น เชน การทาํ
น้ํายาอเนกประสงคสําหรับลางจาน ซักผาจาก
วัสดุธรรมชาติ การทําสบูเหลวสมุนไพรจาก
เปลอื กมังคุด

3. การทาํ ปยุ หมกั จากเศษวชั พชื ฟางขา ว
การทาํ นาํ้ หมักชีวภาพจากเศษวัสดุในครัวเรือน

14 คมู อื ตวั อยางความสาํ เร็จ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. การทําน้าํ มันมะพราวสกัดเยน็ 7. การทําสารสกัดกําจัดศัตรูพืชจาก

5. การทาํ เตาเผาถา นน้าํ สม ควันไม การ สมนุ ไพรทองถ่นิ

ทําเตาเผาถานแกลบ 8. การทําเตาถานแกลบ เพื่อเปนวัสดุ

6. การเล้ียงปลาในบอพลาสติก บอ เพาะชาํ

ซีเมนต 9. การเล้ียงผึ้งโพรงไทย

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพินยั แกว จันทร 15

มีอาคารศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งอยูระหวางการกอสราง โดยบริเวณรอบเปน
สามารถรองรับผูเขาฟงบรรยายไดประมาณ แปลงสาธิตในหลกั สตู รตา งๆ เชน การปลกู ไมผ ล
50 คน โดยมที พ่ี กั แรมเปน อาคาร 1 ชน้ั 1 หลัง การเลยี้ งปลา การทาํ ของใชใ นครวั เรอื น การผลติ
และเต็นทจํานวน 40 หลัง เพ่ือรองรับผูเขามา ปยุ หมักชีวภาพ
ศกึ ษาดงู าน และมอี าคารพกั แรม 2 ชน้ั อกี 1 หลงั

16 คูมือตวั อยา งความสําเร็จ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รางวัลความสาํ เร็จ

- เกษตรกรดีเดน สาขาไรนาสวนผสม - วทิ ยากรเกษตรกรคนเกง ธนาคารเพอื่

ระดับจังหวัด ป 2545 การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร ประจาํ ฝสข.

- ประธานศูนยบริการและถายทอด 8-9 ป 2551

เทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบลดีเดน ระดับ - ปราชญช าวบา นตําบลยโุ ป

จงั หวัด ป 2546 - ประกาศเกียรติคุณ รางวัลสิงหทอง

- ประธานศูนยเรียนรูบานพอพอเพียง ดานผูนําวิถีเศรษฐกิจพอเพียงดีเดน ระดับเขต

บา นยโุ ป (ศพช.เขต 9) กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง

- เกษตรกรดีเดน ดานเกษตรอินทรีย มหาดไทย ป 2551

งานมหกรรมผลไมเ มืองยะลา ป 2550 - โลเกียรติคุณเกษตรกรดีเดน สาขา

- เกษตรกรลกู คา ธนาคารเพอื่ การเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง ประจําป 2552 จงั หวดั ยะลา

และสหกรณก ารเกษตรจงั หวดั ยะลา เปน ผดู าํ รง - รางวัลถวยพระราชทานสมเด็จพระ

ชวี ติ ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ เทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประเภท

บําเพญ็ ประโยชนตอสังคม ป 2550 เกษตรกรทฤษฎีใหมในการประกวดผลงานตาม

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คร้งั ท่ี 2 ป 2552

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพินัย แกวจนั ทร 17

แผนที่

18 คูมือตวั อยางความสําเร็จ การประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ลาํ ดับ ศูนยเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภท จังหวัด โทรศพั ท
สาํ นกั งาน กปร.
08 7903 0912
ภาคกลาง 09 4861 9205
08 9076 4325
1. นายประมาณ ประสงคสันติ ประชาชนทวั่ ไป กาญจนบรุ ี 08 7357 6444
08 1929 9159
2. นายวนิ ยั สุวรรณไตร ประชาชนทวั่ ไป ฉะเชิงเทรา 08 9886 0983
08 0076 8989
3. นายสํารอง แตงพลบั เกษตรกรทฤษฎีใหม เพชรบุรี
08 1316 0805
4. นายณรงค บัวสี เกษตรกรทฤษฎีใหม กรุงเทพฯ 02 5211 190
08 9486 1509
5. นายยวง เขียวนลิ เกษตรกรทฤษฎใี หม นนทบุรี 02 2800 180
ตอ 2331-2
6. นายปรีชา เหมกรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม กรงุ เทพฯ 08 3954 7824
08 1489 9323
7. กลมุ สง เสริมและผลิตพนั ธขุ า ว กลมุ เกษตรทฤษฎใี หม นนทบรุ ี
08 7988 7801
ชมุ ชนบานไทรใหญ
02 6837 322 - 3
8. ชมุ ชนบางรักนอย ชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพียง นนทบรุ ี 08 9541 4442

9. ชุมชนเพชราวุธพนั 2 ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง กรงุ เทพฯ 02 3354 658

10. เรือนจาํ ชั่วคราวเขากลิ้ง หนวยงานภาครฐั ในสว นภูมภิ าค เพชรบุรี 02 7398 000

11. ธนาคารเพือ่ การเกษตร หนวยงานภาครัฐในสว นกลาง กรงุ เทพฯ 02 2028 000

และสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) 08 6167 8524
08 0059 3243
12. กรมราชทณั ฑ หนว ยงานภาครฐั ในสว นกลาง นนทบรุ ี

13. บริษัท ซองเดอรไทยออรแกนคิ ฟูด ธรุ กิจขนาดยอม สุพรรณบุรี

จาํ กัด

14. กลมุ สตรผี ลติ ภัณฑของใช ธรุ กิจขนาดยอ ม เพชรบรุ ี

ในครัวเรอื น

15. บรษิ ัท บาธรมู ดไี ซน จํากัด ธุรกิจขนาดกลาง ปทุมธานี

16. หางหนุ สว น สมศักดแิ์ กลงเซอรว สิ ธรุ กิจขนาดกลาง ระยอง

จาํ กดั

17. บริษัท บางจากปโ ตรเลียม จาํ กดั ธุรกิจขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

18. บรษิ ัท ซเี อ็ดยเู คชั่น จํากดั ธรุ กิจขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

19. บรษิ ทั โทเทิล่ แอ็คเซส็ ธุรกจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ

คอมมูนเิ คช่ัน จํากดั (มหาชน)

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

20. นายแสนหมัน้ อินทรไชยา ประชาชนท่วั ไป อุดรธานี

21. นายทวี ประหา ประชาชนทว่ั ไป มุกดาหาร

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายพินยั แกวจันทร 19

ลาํ ดับ ศนู ยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท
สํานกั งาน กปร.

22. นายสนุ นั เผาหอม ประชาชนทัว่ ไป ขอนแกน 08 0186 8617

23. นายจันทรท ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม นครราชสีมา 08 9948 4737

24. นางพิมพ โถตนั คาํ เกษตรกรทฤษฎใี หม สกลนคร 08 0748 3133

25. นายบุญแทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎใี หม เลย 08 3346 0287

26. กลุม ขา วคณุ คา ชาวนาคณุ ธรรม กลุม เกษตรทฤษฎใี หม ยโสธร 08 8073 4277

27. กลมุ เกษตรย่งั ยนื อําเภอกันทรวิชัย กลุมเกษตรทฤษฎใี หม มหาสารคาม 08 9618 4075

28. ชมุ ชนบา นทาเรอื ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819

29. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหนางรอง หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค บุรรี ัมย 04 4631 883

30. บรษิ ัท โสมภาส เอ็นจเิ นยี ร่ิง ธรุ กิจขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270

(2005) จํากดั

ภาคเหนอื

31. นายสพุ จน โคมณี ประชาชนท่วั ไป นครสวรรค 08 1041 0911

32. นายผล มศี รี ประชาชนท่วั ไป พะเยา 08 1174 9928

33. นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ประชาชนทัว่ ไป กําแพงเพชร 08 6207 1285

34. นางเปรยี วจันทร ตะ ตน ยาง เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 1706 9687

35. นายประพันธ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม แพร 08 5252 2835

36. นายบญุ เปง จันตะ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 9559 2171

37. กลมุ เกษตรทาํ สวนบา นถํา้ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม พะเยา 08 1023 8350

38. กลมุ เกษตรศูนยเครอื ขา ยปราชญ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม เชียงราย 08 1025 5598

ชาวบา นเกษตรย่ังยนื

ตาํ บลศรีเมืองชมุ

39. ชมุ ชนบา นดอกบวั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง พะเยา 08 9430 4286

40. โรงพยาบาลหนองมวงไข หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค แพร 05 4647 458 - 60

ภาคใต

41. นายสมพงษ พรผล ประชาชนท่ัวไป พงั งา 08 9123 1589

42. นายสมชาย นิลอนนั ต เกษตรกรทฤษฎีใหม สรุ าษฎรธ านี 08 9592 1764

43. นายพินยั แกวจนั ทร เกษตรกรทฤษฎใี หม ยะลา 08 1388 5161

44. ชมุ ชนบานบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ภเู ก็ต 08 1892 9204

45. เทศบาลตาํ บลปลายพระยา หนวยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค กระบ่ี 07 5687 141

46. บริษัท พรทิพย ภูเกต็ จํากดั ธรุ กิจขนาดยอม ภเู ก็ต 07 6261 555

47. บรษิ ทั แปลนครเี อชัน่ ส จํากัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง ตรงั 02 2379 070

20 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง


Click to View FlipBook Version