The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 19:00:21

นายบุญเป็ง

นายบุญเป็ง

คํานาํ

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ สํานักงาน กปร. จึงพิจารณาเห็นสมควรให
เพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก นายบุญเปง จนั ตะภา เปน ศนู ยเรียนรูเ ศรษฐกจิ

พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) ไดจัดการ พอเพียง โดยในเบ้ืองตน สํานักงาน กปร.

ประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ไดจัดพิมพหนังสือคูมือตัวอยางความสําเร็จ

พอเพยี ง ครง้ั ที่ 1 ประจาํ ป 2550 มวี ตั ถปุ ระสงค การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือเผยแพรตัวอยางความสําเร็จของบุคคล ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม เพื่อเปนคูมือ

ชุมชน และองคก รภาครฐั และธุรกจิ ท่ไี ดน อ มนาํ ใหผ ทู ส่ี นใจไดเ ขา ใจและมองเหน็ ภาพการนอ มนาํ

เอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ช หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต

ในการดําเนินชีวิต การพัฒนาชุมชน และ ใชในการพัฒนาตนเองและสวนรวม

การบรหิ ารจดั การองคก ร จนประสบความสาํ เรจ็ สุดทา ยนี้ สาํ นักงาน กปร. ขอขอบคณุ

และเปนแบบอยางท่ดี ีแกส งั คม นายบุญเปง จันตะภา เปนอยางย่ิง ท่ีใหความ

จากการประกวดผลงานฯ ที่ผานมา อนุเคราะหขอมูลและรูปภาพในการจัดพิมพ

นายบญุ เปง จันตะภา ไดร บั รางวัลรองชนะเลิศ หนงั สอื เลม น้ี โดยหวงั เปน อยา งยงิ่ วา หนงั สอื คมู อื

ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตัวอยา งความสาํ เร็จฯ เลมน้ี จะเปนแนวทางใน

สยามบรมราชกมุ ารี ประเภทเกษตรกรทฤษฎใี หม การดําเนินชีวิตและดํารงตนใหเปนประโยชน

ซ่ึงเหมาะสมที่จะเปนตัวอยางใหแกบุคคลท่ัวไป ตอ สงั คมตอไป

ท่ี ส น ใ จ เ ข  า ม า ศึ ก ษ า เ รี ย น รู  ค ว า ม สํ า เ ร็ จ

สาํ นักงาน กปร.

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบุญเปง จันตะ ภา 1

ประวัติสว นตัว

ชอ่ื : นายบญุ เปง จนั ตะภา
อายุ : 56 ป
สถานภาพ : สมรส
การศกึ ษา : นกั ธรรมโท
สถานท่ตี ้งั : บานเลขที่ 55 หมทู ่ี 14 บานหว ยกา งปูลาน ตาํ บลไมย า อาํ เภอพญาเม็งราย

จังหวัดเชยี งราย
โทรศัพท : 08-9559-2171

2 คมู ือตัวอยางความสําเรจ็ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จดุ เริ่มตนของความสําเรจ็

นายบญุ เปง จนั ตะ ภา ผา นการศกึ ษา ทาํ นาอยา งเดยี วทาํ ใหม หี นส้ี ิน ยิง่ ทาํ ยิ่งจน ยง่ิ มี
ระดบั นกั ธรรมโท และไดไ ปทาํ งานทบี่ รไู นอยู 2 ป หนเี้ พม่ิ ขนึ้ จงึ เรม่ิ หนั มาทาํ เกษตรผสมผสาน โดย
เหลือเงินเก็บเพียง 2,300 บาท จึงทําให เริ่มตนจากการเล้ียงปลานิล ปลาดุกในนาขาว
ตระหนักและสํานึกถึงแผนดินบานเกิดและ เล้ียงไก สกุ ร กระบือ ปลูกพืชผักสวนครัว และ
เศรษฐกจิ พอเพียง และไดตัดสนิ ใจเดนิ ทางกลับ ไมผล ในระยะแรกนายบุญเปง ใหความสนใจ
มาในป2529 โดยเริ่มทําเกษตรทฤษฎีใหม ดานเศรษฐกิจพอเพียงอยางมาก จึงไดเขารวม
ปจจุบันมีที่ดินทั้งหมด 23 ไร เดิมเริ่มจากการ การฝก อบรมกบั หนว ยงานตา งๆ ทใ่ี หก ารสนบั สนนุ

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จันตะภา 3

ต้งั แตป  2550 จนถงึ ปจ จบุ นั โดยเคยไดรับการ พรอมกับเปนผูใฝรู โดยมองวาการเรียนรูเปน
อบรมหลักสูตรท้ังในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย และ การศึกษาตลอดชีวิตไมมีวันหมด พรอมกับ
นอกพนื้ ท่ี เชน ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาหว ยฮอ งไคร ดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ และมหาวิทยาลัย อยา งสมดุล
แมโ จ เปน ตน นายบญุ เปง เปน ผมู คี วามขยนั รจู กั
วางแผนการใชจ า ยและออมเงนิ โดยมแี นวคดิ วา
“ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางท่ีปลูก”

นายบญุ เปง หลักยดึ
ในการดําเนนิ ชวี ติ วา

ขยัน อดทน ซ่อื สัตย
มีคณุ ธรรม

4 คมู ือตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จากจุดเร่ิมตนในความตองการปรับ
เปล่ียนชีวิตของตนเอง ในการดําเนินชีวิตตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นายบุญเปง
คน พบวา ตนเองสามารถดาํ เนนิ ชวี ติ อยไู ด ยดึ คติ
เปนลูกจางตนเองดีกวาเปนลูกจางคนอ่ืน

โดยลงแรงทํางานในแปลงทุกอยางดวยตนเอง
ทาํ ใหม คี วามมน่ั คงทางอาหาร ลดการพงึ่ พาจาก
ภายนอก ปลูกพืชและเล้ียงสัตวหลากหลาย
โดยเฉพาะการเล้ียงปลาดุก ซ่ึงนายบุญเปง
มีทักษะความชํานาญในการเล้ียง และสามารถ
สรางรายไดหมุนเวยี น

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จนั ตะภา 5

แรงบันดาลใจในการประยุกตใ ชห ลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

หลังจากใชเวลาบวชเรียนกวา 10 ป ประสบปญหาขาดทุนและมีหน้ีสินเกิดข้ึนมาก
จนจบนักธรรมโทและไดเปนครูสอนนักธรรม จนกระทั่งวันหน่ึงไดมีโอกาสเขารวมอบรมการ
ตร-ี โท โดยยดึ อาชีพทาํ นาเรอื่ ยมา แตด วยราคา ทาํ บญั ชรี ายรบั รายจา ยทท่ี างจงั หวดั จดั ขนึ้ ใหแ ก
ผลผลิตทางการเกษตรท่ีตกตํ่า ประกอบกับ เกษตรกรและนํามาลองปฏิบัติดวยตนเอง
ไมเคยมีการทําบัญชีรายรับ-รายจาย ทําให จึงเห็นวาท่ีผานมามีรายไดไมพอกับรายจาย

6 คมู ือตัวอยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพราะรายไดจ ากการจาํ หนา ยผลผลติ มนี อ ยกวา ท่ีเคยทํานาแตเพียงอยางเดียวมาเปนการทําไร
รายจา ยในเรอ่ื งของยากาํ จดั แมลงศตั รพู ชื ทใ่ี ชใ น นาสวนผสม ลดการพง่ึ พาจากภายนอกตามหลกั
การเกษตร อันเปนสาเหตุหลักท่ีทําใหมีหนี้สิน เศรษฐกิจพอเพียงและใชความพยายาม อดทน
มากมาย จึงมีความคิดที่จะปรับเปล่ียนการใช ตอ อปุ สรรค
จา ยเสยี ใหม โดยการเปลย่ี นพน้ื ทก่ี ารเกษตรจาก

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จนั ตะ ภา 7

การดาํ รงตนอยา งพอเพียง

ความพอประมาณ
ทําการเกษตรผสมผสานแบบอินทรีย

ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม  ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระเจาอยูหัว ดวยการพ่ึงพาตนเองครบวงจร
อยา งสมบรู ณ ดว ยความขยนั อดทน จึงสามารถ
ลดรายจายในเร่ืองของปจจัยการผลิตลงไดมาก
อาศัยทรัพยากรในแปลงอยางรูคุณคา ทําให
ประหยดั เงนิ ลงทนุ มรี ายไดต ลอดปจ ากการเลยี้ ง
ปลาและขายผลผลิตทางการเกษตร ไมสราง
หนี้สินใหเปนภาระของครอบครัว มีเงินออม
ยึดถือธรรมมะเปนท่ีตั้ง จึงไมเบียดเบียนตนเอง
และครอบครัว รวมทง้ั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดลอม เรียนรูตลอดเวลาท่ีจะใชประโยชน
จากทรัพยากรในแปลงเกษตร หรือสิ่งของ
เหลอื ใชใ หเ กดิ ประโยชนส งู สดุ โดยการเลยี้ งผงึ้ ที่
ใชยางรถยนตและโทรทัศนท่ีชํารุดแลวเปนที่อยู
อาศัยของผึ้ง

8 คูม อื ตัวอยางความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ความมเี หตุผล
จากประสบการณในอดีตท่ีเคยยากจน ทเี่ หมาะสมลงตวั กบั สภาพดนิ และนา้ํ ใชเ หตแุ ละ

ที่สุดถึงกับเคยขอทานกับแม ทําใหชีวิตตอง ผลในการดําเนินชีวิต จนประสบความสําเร็จ
ด้ินรนตอสูและไดบวชเรียนอยูในวัดกวา 10 ป ครอบครัวมีความอบอุน เพราะทําการเกษตร
จนจบนกั ธรรมโท ไดเ ปนครูสอนนักธรรมตร-ี โท ดว ยกนั ทงั้ 4 คน ซงึ่ เหมาะสมกบั ขนาดของแปลง
ขวนขวายหาความรูใสตัวตลอดเวลา ประกอบ 10 ไร ตามศักยภาพของครอบครัว ทําใหเกิด
อาชพี การเกษตรผสมผสาน ปรบั ปรงุ และพฒั นา การใชพื้นท่ีอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดอยางมี
แปลงทฤษฎีใหมอยางสมํ่าเสมอ ทดลองเรียนรู ความสขุ และยงั ถา ยทอดความรชู ว ยเหลอื สงั คม
ดวยตนเองในกิจกรรมดานการเกษตรตางๆ จนไดร างวลั มากมาย

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จนั ตะภา 9

การมีภูมคิ ุมกันที่ดี
ครอบครวั มคี วามขยนั รจู กั เกบ็ ออม ไมม ี ภายนอก การปลกู พชื และเล้ียงสัตวห ลากหลาย

หนี้สิน ทําใหการดําเนินชีวิตไมเดือดรอน สวน ชนดิ ในพนื้ ทเี่ ดยี วกนั ทาํ ใหเ กดิ การพง่ึ พากนั เชน
แปลงพนื้ ทเี่ กษตรกรทฤษฎใี หม นายบญุ เปง ปลกู ไดรมเงา มูลสัตวเปนปุยชวยลดความเสี่ยงของ
ทกุ อยางทกี่ ิน กนิ ทกุ อยางท่ีปลูก และยดึ ถือคติ ราคาผลิตแตละชนิด ลดความเสียหายจากภัย
เปนลูกจางตนเองดีกวาเปนลูกจางคนอื่น โดย ธรรมชาติ เชน นํ้าทว ม ภัยแลง เปน ตน ทาํ ให
ลงแรงทาํ งานในแปลงทกุ อยา งดว ยตนเอง ทาํ ให ชวยชดเชยความเสยี่ งดังกลา วได
มีความมั่นคงทางอาหาร โดยลดการพึ่งพา

จงหม่ันดูแล
อยา หม่ันแลดู

10 คูมอื ตวั อยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ความกตญั ูไมใชสวนเตมิ เตม็
ใหเปน คนดีโดยสมบรู ณ
แตม ันเปน พ้ืนฐานของคนดี
ถา หากไมม ีสงิ่ น้ตี ้งั แตต น

คณุ ก็ไมม ที างเปน คนดที ส่ี มบูรณได 1

เงื่อนไขความรูคคู ณุ ธรรม

ความรู คุณธรรม
เมอ่ื วยั เยาวเ ปน ผทู ไ่ี ดร บั การศกึ ษาอบรม
เปนผูใฝรู เรียนรูตลอดชีวิต รูจักใช
ภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ มาประยกุ ตใ ชก บั ความรใู หมๆ บวชเรียนอยูในวัดมากกวา 10 ป ทําใหมี
ท่ีไดรับจากการอบรมจากหนวยงานตางๆ และ คุณธรรมและจรยิ ธรรมสูง ไมเกยี่ วขอ งอบายมขุ
ไดไ ปศกึ ษาดงู านอยเู สมอ จงึ มวี สิ ยั ทศั นก วา งไกล ทงั้ ปวง โดยยดึ หลกั อทิ ธบิ าท 4 การดาํ เนนิ ชวี ติ
และไดน าํ มาปรบั ใชก บั การประกอบอาชพี พฒั นา ดวยสจั จะและความกตญั ู
แปลงเกษตรทฤษฎีใหมโดยบริหารจัดการพ้ืนท่ี
ไดอยางเหมาะสม ครบวงจร ทําใหหนวยงาน 1 อางจาก http://www.thaiquip.com/835
ตางๆ เลือกแปลงทฤษฎีใหมนี้เปนศูนยเรียนรู
หรือฟารมสาธิตท้ังดานพืช ปศุสัตว ประมง
การอนุรกั ษด ินและนํา้

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จันตะภา 11

ผลสาํ เร็จจากการประยกุ ตใ ชปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

ตงั้ แตน าํ การเกษตรแบบผสมผสานมาใช มาทาํ เปน ปยุ หมกั เพอ่ื ใชใ นการเกษตรโดยไมต อ ง
ทําเกิดประโยชนรวมกันโดยท่ีไมจําเปนตอง พง่ึ พาสารเคมจี ากภายนอก สง ผลใหส ามารถลด
พง่ึ พาการใชส ารเคมี เชน การเลีย้ งปลาในแปลง รายจายในเร่ืองของปจจัยการผลิตไดมาก
นาขาว ซ่ึงสามารถชวยลดตนทุนจากการใชปุย นอกจากนยี้ งั ทาํ ใหร จู กั การทาํ บญั ชรี ายรบั -รายจา ย
และยาปราบศตั รพู ชื เพราะมลู ของปลาจะเปน ปยุ เพอ่ื ใชว างแผนในการใชจ า ยเงนิ อยา งถกู ตอ งและ
ใหแกตนขาว อีกทั้งการเลี้ยงปลาในนาขาวยัง เหมาะสม สําหรับดานครอบครัว สมาชิกใน
สามารถชวยทําใหดินในนากลายเปนโคลนซ่ึง ครอบครัวมีความเขาใจในแนวทางที่ปฏิบัติและ
ทําใหวัชพืชไมสามารถเจริญเติบโตได ชวยลด มีสวนชวยโดยรวมแรงรวมใจกันทําการเกษตร
คา ใชจ า ยเกย่ี วกบั ยากาํ จดั วชั พชื ไปได นอกจากน้ี ตลอดจนเปนวิทยากรในการใหความรูแกผูเขา
ในสว นของมลู สตั วอ นื่ ๆ ทเี่ ลย้ี งไว ยงั สามารถนาํ อบรมในกจิ กรรมตา งๆ

12 คมู อื ตัวอยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการอบรมของนายบุญเปง มี หลักสูตรฝกอบรม

กระบวนการหลากหลายข้ันตอน เร่ิมจากการ 1. การพัฒนาดินและพืชดวยฮอรโมน

ปรบั เปลย่ี นแนวคดิ ของผเู ขา รบั การอบรม มกี าร สมนุ ไพร
พูดคุยแลกเปล่ียนประสบการณ เพราะเชื่อวา
2. การเลย้ี งกบในบอ พลาสตกิ
ทกุ คนมคี วามรูแตกตางกนั ขาดเพยี งแตเทคนคิ
3. การเลีย้ งปลาดุกเพ่ือเสริมรายได
การดําเนินงานใหประสบผลสําเร็จ ในหลักสูตร
4. การเพาะพันธลุ ูกออดเพ่อื จําหนา ย
พนื้ ฐานนายบญุ เปง ไดด าํ เนนิ การจดั ทาํ หลกั สตู ร
3. การปศสุ ตั ว การเลยี้ งสกุ ร และกระบอื
เสริมความรดู า นการเกษตร ดังนี้
4. การเล้ยี งผึ้งในตแู ละในลอรถยนต

5. การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

6. การศึกษาพืชสมุนไพรเพื่อการ

รกั ษาโรค

7. การจัดทาํ บญั ชีครวั เรอื น

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบุญเปง จันตะ ภา 13

“พัฒนา”

แปลวา ทาํ ใหด ขี ึ้นกวาเดมิ
พัฒนาสมองดว ยแนวคดิ
พัฒนาชวี ิตดวยการเรียนรู

โดยการฝกอบรมหลักสูตรในแตละ
หลกั สตู รจะเปน การอบรมภาคทฤษฎคี รงึ่ วนั และ
ภาคปฏิบัติคร่ึงวัน การจัดการฝกอบรมมีหลาย
รูปแบบ ท้ังหลักสูตรวันเดียว และหลักสูตร
คางคืน 3 วัน 2 คืน ซึ่งมีความพรอมดาน
สถานทแ่ี ละการจดั อาหารสาํ หรบั รองรบั ผเู ขา รบั

14 คูมือตัวอยางความสาํ เร็จ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การอบรม โดยมีวิทยากรผูชวย 7 คน ซึ่งเปน
เครอื ขา ยกลมุ เกษตรกรเศรษฐกจิ พอเพยี งภายใน
จงั หวดั เชียงราย อกี ทัง้ ยังเปนแหลงศึกษาดงู าน
ของนักเรียน นักศึกษา ภายในจังหวัดเชียงราย
และจังหวัดใกลเคียง และหนวยงานอื่นๆ ที่มี
ความสนใจเรื่องเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบุญเปง จนั ตะ ภา 15

การสรา งเครอื ขาย

นายบญุ เปง จันตะ ภา ไดส รางเครอื อําเภอ ปจจุบันไดสรางเครือขายไปแลว 7 คน
ขายโดยท่ีผูเขารับการอบรมใดสามารถตอบ ใน 7 อาํ เภอ สรางเครอื ขายเพ่อื ขยายองคความ
คําถามไดเปนคะแนนสงู ท่ีสุด นายบุญเปงจะให รไู ปสพู น้ื ทต่ี า งๆ ใหก ระจายไปทวั่ ภายในจงั หวดั
ไปดําเนินการและขยายผลตอท่ีบานโดยมีทุน เชียงราย และสนับสนุนใหเกษตรกรหันมาทํา
สนับสนุนการทําเกษตรทฤษฎีใหมให 5,000 เกษตรแบบทฤษฎใี หม
บาท นายบุญเปงตั้งเปาหมายไว 18 คน 18

16 คมู ือตวั อยางความสําเรจ็ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รางวลั ความสําเรจ็

- หมอดินอาสาประจําตําบล จังหวัด - รางวลั รองชนะเลศิ ถว ยพระราชทาน

เชยี งราย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช

- รางวัลหมอดินอาสาดีเดนชนะเลิศ กุมารี จากการประกวดผลงานตามปรัชญา

ของสํานกั งานพฒั นาที่ดนิ เขต 7 ประจาํ ป 2552 เศรษฐกิจพอเพียง คร้ังที่ 1 ประเภทเกษตรกร

ของกรมพัฒนาทดี่ นิ ทฤษฎใี หม สํานักงาน กปร.

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบุญเปง จันตะภา 17

แผนที่

ไป อ. เทงิ

ไป อ. เทงิ ปา ยทางไปอา งเกบ็ นา้ํ หว ยกา ง

ซอย 1 แปลงเกษตรทฤษฎีใหม
นายบุญเปง
ไป
อ. พญาเม็งราย

ทางหลวงชนบท
หมายเลข 1174

สะพาน อา งเก็บนาํ้
หวยกา ง

ไป อ. พญาเม็งราย

18 คมู ือตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ลาํ ดับ ศูนยเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภท จงั หวดั โทรศัพท
สาํ นกั งาน กปร.
08 7903 0912
ภาคกลาง 09 4861 9205
08 9076 4325
1. นายประมาณ ประสงคสันติ ประชาชนท่วั ไป กาญจนบุรี 08 7357 6444
08 1929 9159
2. นายวนิ ยั สุวรรณไตร ประชาชนท่ัวไป ฉะเชงิ เทรา 08 9886 0983
08 0076 8989
3. นายสํารอง แตงพลบั เกษตรกรทฤษฎใี หม เพชรบรุ ี
08 1316 0805
4. นายณรงค บัวสี เกษตรกรทฤษฎใี หม กรงุ เทพฯ 02 5211 190
08 9486 1509
5. นายยวง เขียวนลิ เกษตรกรทฤษฎใี หม นนทบรุ ี 02 2800 180
ตอ 2331-2
6. นายปรีชา เหมกรณ เกษตรกรทฤษฎีใหม กรุงเทพฯ 08 3954 7824
08 1489 9323
7. กลมุ สง เสริมและผลิตพนั ธขุ า ว กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม นนทบุรี
08 7988 7801
ชมุ ชนบานไทรใหญ
02 6837 322 - 3
8. ชมุ ชนบางรักนอย ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง นนทบุรี 08 9541 4442

9. ชุมชนเพชราวุธพนั 2 ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง กรุงเทพฯ 02 3354 658

10. เรือนจาํ ชั่วคราวเขากลิ้ง หนว ยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค เพชรบุรี 02 7398 000

11. ธนาคารเพือ่ การเกษตร หนวยงานภาครฐั ในสวนกลาง กรุงเทพฯ 02 2028 000

และสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) 08 6167 8524
08 0059 3243
12. กรมราชทณั ฑ หนวยงานภาครฐั ในสวนกลาง นนทบรุ ี

13. บริษัท ซองเดอรไทยออรแกนคิ ฟูด ธุรกจิ ขนาดยอ ม สุพรรณบุรี

จาํ กัด

14. กลมุ สตรผี ลติ ภัณฑของใช ธุรกจิ ขนาดยอม เพชรบรุ ี

ในครัวเรอื น

15. บรษิ ัท บาธรมู ดไี ซน จํากัด ธุรกิจขนาดกลาง ปทุมธานี

16. หางหนุ สว น สมศักดแิ์ กลงเซอรว สิ ธุรกจิ ขนาดกลาง ระยอง

จาํ กดั

17. บริษัท บางจากปโ ตรเลียม จาํ กดั ธุรกจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ

(มหาชน)

18. บรษิ ัท ซเี อ็ดยเู คชั่น จํากดั ธรุ กจิ ขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

19. บรษิ ทั โทเทิล่ แอ็คเซส็ ธรุ กิจขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

คอมมูนเิ คช่ัน จํากดั (มหาชน)

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

20. นายแสนหมัน้ อินทรไชยา ประชาชนทัว่ ไป อุดรธานี

21. นายทวี ประหา ประชาชนทวั่ ไป มกุ ดาหาร

ประเภท เกษตรกรทฤษฎีใหม : นายบญุ เปง จนั ตะภา 19

ลาํ ดับ ศนู ยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท
สํานกั งาน กปร.

22. นายสนุ นั เผาหอม ประชาชนทัว่ ไป ขอนแกน 08 0186 8617

23. นายจันทรท ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม นครราชสีมา 08 9948 4737

24. นางพิมพ โถตนั คาํ เกษตรกรทฤษฎใี หม สกลนคร 08 0748 3133

25. นายบุญแทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎใี หม เลย 08 3346 0287

26. กลุม ขา วคณุ คา ชาวนาคณุ ธรรม กลุม เกษตรทฤษฎใี หม ยโสธร 08 8073 4277

27. กลมุ เกษตรย่งั ยนื อําเภอกันทรวิชัย กลุมเกษตรทฤษฎใี หม มหาสารคาม 08 9618 4075

28. ชมุ ชนบา นทาเรอื ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819

29. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหนางรอง หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค บุรรี ัมย 04 4631 883

30. บรษิ ัท โสมภาส เอ็นจเิ นยี ร่ิง ธรุ กิจขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270

(2005) จํากดั

ภาคเหนอื

31. นายสพุ จน โคมณี ประชาชนท่วั ไป นครสวรรค 08 1041 0911

32. นายผล มศี รี ประชาชนท่วั ไป พะเยา 08 1174 9928

33. นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ประชาชนทัว่ ไป กําแพงเพชร 08 6207 1285

34. นางเปรยี วจันทร ตะ ตน ยาง เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 1706 9687

35. นายประพันธ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม แพร 08 5252 2835

36. นายบญุ เปง จันตะ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 9559 2171

37. กลมุ เกษตรทาํ สวนบา นถํา้ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม พะเยา 08 1023 8350

38. กลมุ เกษตรศูนยเครอื ขา ยปราชญ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม เชียงราย 08 1025 5598

ชาวบา นเกษตรย่ังยนื

ตาํ บลศรีเมืองชมุ

39. ชมุ ชนบา นดอกบวั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง พะเยา 08 9430 4286

40. โรงพยาบาลหนองมวงไข หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค แพร 05 4647 458 - 60

ภาคใต

41. นายสมพงษ พรผล ประชาชนท่ัวไป พงั งา 08 9123 1589

42. นายสมชาย นิลอนนั ต เกษตรกรทฤษฎีใหม สรุ าษฎรธ านี 08 9592 1764

43. นายพินยั แกวจนั ทร เกษตรกรทฤษฎใี หม ยะลา 08 1388 5161

44. ชมุ ชนบานบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ภเู ก็ต 08 1892 9204

45. เทศบาลตาํ บลปลายพระยา หนวยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค กระบ่ี 07 5687 141

46. บริษัท พรทิพย ภูเกต็ จํากดั ธรุ กิจขนาดยอม ภเู ก็ต 07 6261 555

47. บรษิ ทั แปลนครเี อชัน่ ส จํากัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง ตรงั 02 2379 070

20 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง


Click to View FlipBook Version