The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นายสมชาย นิลอนันต์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 19:08:03

นายสมชาย นิลอนันต์

นายสมชาย นิลอนันต์

คํานาํ

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ สํานักงาน กปร. จึงพิจารณาเห็นสมควรให
เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก นายสมชาย นลิ อนนั ต เปน ศูนยเ รยี นรเู ศรษฐกจิ

พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) ไดจัดการ พอเพียง โดยในเบ้ืองตน สํานักงาน กปร.

ประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ไดจัดพิมพหนังสือคูมือตัวอยางความสําเร็จ

พอเพยี ง ครงั้ ท่ี 1 ประจาํ ป 2550 มวี ตั ถปุ ระสงค การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือเผยแพรตัวอยางความสําเร็จของบุคคล ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม เพื่อเปนคูมือ

ชมุ ชน และองคก รภาครฐั และธรุ กจิ ทไ่ี ดน อ มนาํ ใหผูที่สนใจไดเขาใจ และมองเห็นภาพการ

เอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ช นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ในการดําเนินชีวิต การพัฒนาชุมชน และการ ไปประยุกตใ ชใ นการพัฒนาตนเองและสวนรวม

บรหิ ารจดั การองคก ร จนประสบความสาํ เรจ็ และ สดุ ทายนี้ สํานักงาน กปร. ขอขอบคุณ

เปน แบบอยางท่ีดแี กสังคม นายสมชาย นิลอนันต เปนอยางย่ิง ท่ีใหความ

จากการประกวดผลงานฯ ที่ผานมา อนุเคราะหขอมูลและรูปภาพในการจัดพิมพ

นายสมชาย นิลอนันต ไดร บั รางวัลรองชนะเลิศ หนงั สอื เลม นี้ โดยหวงั เปน อยา งยง่ิ วา หนงั สอื คมู อื

ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตัวอยางความสําเร็จฯ เลมน้ี จะเปนแนวทาง

สยามบรมราชกุมารี ประเภทเกษตรกรทฤษฎี ในการดาํ เนนิ ชวี ติ และดาํ รงตนใหเ ปน ประโยชน

ใหม ซ่ึงเหมาะสมที่จะเปนตัวอยางใหแกบุคคล ตอ สงั คมตอ ไป

ทั่วไป ท่ีสนใจเขามาศึกษาเรียนรูความสําเร็จ

สาํ นักงาน กปร.

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นลิ อนันต 1

2 คมู อื ตวั อยา งความสาํ เรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขอ มูลสวนตวั

ชอ่ื : นายสมชาย นิลอนันต
อายุ : 69 ป
การศกึ ษา : ประถมศกึ ษาปที่ 6
สถานภาพ : สมรส
สถานท่ีต้งั : บา นเลขท่ี 101 หมู 1 ตาํ บลชา งขวา อาํ เภอกาญจนดษิ ฐ จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี 84160
โทรศพั ท : 08-9592-1764

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 3

จุดเร่ิมตน ของความสาํ เรจ็

นายสมชาย นิลอนันต เกิดเมื่อป การเกษตร และเหน็ วา แนวทางการเกษตรทฤษฎี

พ.ศ. 2489 ปจจบุ ันอายุ 69 ป มีพ่ีนองทง้ั หมด ใหมสามารถทํารายไดเล้ียงครอบครัวไดอยาง
8 คน สมรสกับนางยุพา นลิ อนันต มีบตุ ร-ธิดา ตอเน่ือง โดยไมตองออกไปรับจางขายแรงงาน
รวม 3 คน เดิมนายสมชายมุงทําการเกษตร นอกพ้ืนที่ในชวงนอกฤดูการผลิต จึงพยายาม
เชิงเด่ียว ประเภทสวนยางพาราและนาขาว เรียนรูเก่ียวกับเกษตรทฤษฎีใหมดวยตนเอง
ตอมาในป 2546 ไดเปลี่ยนจากสวนยางพารา ประกอบกับมีหนวยงานเขามาสนับสนุนการทํา
มาทําสวนปาลมนํ้ามัน พรอมดวยใจรักดาน ไรนาสวนผสม และสงเสริมการปลูกแฝก

4 คูมอื ตวั อยา งความสาํ เร็จ การประยกุ ตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จงึ ปรบั เปลยี่ นการปลกู พชื เชงิ เดย่ี วสไู รน าสวนผสม เปด ไก และบานพักเพื่ออยูอาศัยโดยมีรายได
เพราะถาเกิดมีเหตุใดข้ึน จะไดมีตัวชวยให หลักจากปาลมนํ้ามัน เสริมดวยการปลูกพืชผัก
อยูรอดได โดยไมมีผลกระทบจากราคามากนัก ผลไมเนนการบริโภคทานเองกอน หากเหลือ
ดังนั้น จึงไดปรับปรุงพื้นท่ีของตนเองที่พอมีอยู จึงแบงไปขาย โดยมีพอคาแมคามารับซ้ือเอง
โดยขุดสระน้ํา ขนาด 3.43 ไร จํานวน 1 บอ ถงึ สวน มรี ายไดป ระมาณวนั ละ 300 - 400 บาท
เพื่อใหมีนํ้าใชเพียงพอตลอดทั้งป ปลูกไมผล
พชื ผัก และพืชสมุนไพรบนเนอื้ ท่ี 4 ไร โรงเลยี้ ง

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 5

แรงบันดาลใจในการประยุกตใชห ลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เดิมนายสมชายมีที่ดินจํากัดเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเชอื่ วา การดาํ เนนิ ชวี ติ ตาม

4-5 ไร ไมเพียงพอตอการทํานา สวนยางหรือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะเปนสุข
สวนปาลม จึงหันมาสนใจศึกษาเกี่ยวกับเกษตร ไมเดือดรอน ไมขัดสน และเหลือเงินเก็บออม
ทฤษฎีใหม และแนวทางตามหลักปรัชญาของ จึงเปลี่ยนจากปลูกพืชเชิงเด่ียวสูไรนาสวนผสม

6 คมู อื ตวั อยางความสําเรจ็ การประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ทาํ ใหม รี ายไดเ พยี งพอเลย้ี งตนเองและครอบครวั จากแนวคิด “ทําดวยใจ” ยังมาซ่ึง ความอยูดี
นบั ไดว า เปน อกี หนง่ึ ตวั อยา งทรี่ าษฎรไดน อ มนาํ มีกินของตนเองและครอบครัว และสามารถ
แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต เปน แบบอยา งใหเ กษตรกรรายอน่ื ๆ ได
ปฏิบัติจนประสบความสําเร็จอยางเปนรูปธรรม

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 7

การประยกุ ตใ ชห ลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

ðøąđìýßćêĉ ðøąßćßî
ÿöéčú ÷ęĆÜ÷îČ óøĂš öøĆïêŠĂÖćøđðú÷ęĊ îĒðúÜ

öĊõĎöĉÙšöč ÖĆîĔîéšćîüêĆ ëč / ÿÜĆ Ùö / ÿęÜĉ ĒüéúšĂö / üçĆ îíøøö

îĞćÿĎŠ

¡°ž¦³¤µ–

šµŠ­µ¥„¨µŠ ‡ªµ¤¡°Á¡¸¥Š

öĊõöĎ Ùĉ čöš ÖîĆ
ĔîêĆüìĊéę Ċ
¤¸Á®˜Ÿ» ¨

ïîóîĚČ åćî Ùčèíøøö
àČęĂÿêĆ ÷ÿŤ čÝøĉê Ăéìî
ÙüćöøĂïøĎš Ùüćöđó÷Ċ ø öĊÿêĉ ðŦââć

ÙüćöøĂïÙĂï

ÙüćöøąöéĆ øąüĆÜ

ที่มา : มูลนธิ ิสถาบันวจิ ัยและพฒั นาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง,
สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ, 2555

8 คูมอื ตวั อยางความสําเรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จุดเริ่มตน ของความสาํ เร็จ

ความพอประมาณ : มีการทํา ผัก ผลไมสําหรับรับประทานในครัวเรือน

บัญชีครัวเรือน จัดสรรเงินแบงไวสําหรับลงทุน สวนที่เหลือนําไปขายโดยไมเก็งราคา ปลอยให
และเก็บออม โดยใชเพียงครึ่งหนึ่ง เนน ปลกู พืช เปน ไปตามกลไกตลาด ไมต ั้งราคาท่สี ูงเกนิ ไป

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนันต 9

ความมีเหตุผล : นายสมชาย หมูหลมุ กบ เปด ไก และพืชผกั ตางๆ มกี ารจัด

ดาํ เนินชวี ติ ดวยความระมัดระวัง ลดการจับจา ย ทําบัญชีรายรับ-รายจาย เพื่อเปนดัชนีชี้วัดวา
คดิ กอ นทํา ไมทาํ ใหค นอืน่ เดือดรอ น ทาํ ในสิ่งที่ ทําการเกษตรแบบใดไดผลคุมคาและเหมาะสม
เปนไปไดและไมประมาท โดยทดลองการเกษตร ทสี่ ดุ จึงเลอื กเล้ียงและปลกู ในสิง่ ทเ่ี หมาะสมกบั
ทกุ อยา งทหี่ นว ยงานเขา มาใหก ารสนบั สนนุ เชน ภมู สิ ังคมและศกั ยภาพของตนเอง

10 คูม อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เกษตรกรตอ งมตี วั ชวย
คือ ปลกู หลายอยาง

ใหหลากหลาย
จงึ อยูรอดได

การมภี มู คิ มุ กนั ทด่ี ี : มกี ารวางแผน

การเพาะปลูก ประเมินตลาดลวงหนา เพ่ือใหได
ผลผลิตและมีรายไดอยางตอเน่ืองตลอดทั้งป และ
เก็บออมเงนิ สว นหนึ่งไว เพอ่ื ประกันในความเสี่ยงที่
อาจจะเกิดขึน้ ไดกบั ครอบครวั ในภายภาคหนา

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 11

ความรู : นายสมชายมคี วามพยายาม
ในการศึกษาหาความรูเ พม่ิ เติมอยเู สมอ โดยเขา

รับการฝกอบรมท้ังดานการเกษตร การทําบญั ชี

ครัวเรือน เพ่ือนําความรูมาปรับปรุงในการ

ดําเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม : นายสมชายเปน

จนสามารถเปนตัวอยางเผยแพรได นอกจากน้ี เกษตรกรตัวอยางท่ีประสบผลสําเร็จในอาชีพ

ยงั ไดร บั เชญิ เปน วทิ ยากรบรรยายใหแ กห นว ยงาน และพรอมอุทิศตนในการเปนตัวอยางเผยแพร

ตา งๆ อยา งตอ เนอ่ื ง รวมทง้ั ผทู เี่ ขา มาศกึ ษาดงู าน ความรู เพ่ือชวยเหลือเกษตรกร และสานตอ

ในพืน้ ทศ่ี ูนยเ รยี นรูฯ ความรใู หแกเ ยาวชนรนุ หลงั

12 คูม อื ตวั อยา งความสาํ เร็จ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลสาํ เรจ็ จากการประยุกตใ ช
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปจ จบุ นั นายสมชายมพี น้ื ท่ี 12 ไร 2 งาน เพื่อใหไดผลผลิตไมขาดชวง มีการจัดการพื้นท่ี
แบงเปนพื้นท่ีอยูอาศัย บอนํ้า สวนปาลม และ โดยแบงเปน พื้นท่ีบอ นาํ้ 3.43 สวนปาลม 5 ไร
แปลงเกษตรผสมผสาน เชน ชะอม ฝร่ัง สละ และแปลงเกษตรผสมผสานประมาณ 4 ไร
มะละกอ พรกิ ดาวเรือง ใบเตยหอม และพืชผัก ทเ่ี หลอื แบง เปน ทอ่ี ยอู าศยั และเลยี้ งปลาดกุ สกุ ร
อ่ืนๆ มีแผนการปลูกจากการศึกษาตลาด เปด ไก เปนตน

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 13

แปลงเกษตรผสมผสาน

แปลงเกษตรผสมผสานมพี นื้ ที่ 4 ไร ปลกู - ชะอม เพาะพันธุ ขยายพันธุ และ

พืชผัก ผลไมท ี่หลากหลาย สามารถสรา งรายได เก็บเก่ียวผลผลิตขายตลาด ปจจุบันมีจํานวน

หมนุ เวยี นตอเน่อื งตลอดท้ังป ดังน้ี 350 ตน โดยเกบ็ ได 30 กโิ ลกรมั / ครง้ั รายได

กโิ ลกรมั ละ 30 - 40 บาท

- มะละกอ พันธุฮอลแลนดและพันธุ

แขกดาํ ขยายพนั ธเุ พอื่ ขายตน กลา และเกบ็ เกย่ี ว
ผลผลติ ขายตลาด โดยพนั ธฮุ อลแลนดเ นน ขายสง
ตลาด และพันธุแขกดําขายสงโรงงานผลติ ผลไม
กระปอ ง

14 คมู อื ตวั อยางความสําเรจ็ การประยกุ ตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

- สละพันธสุ มุ าลี มีจาํ นวน 70 ตน - ฝรงั่ พนั ธกุ มิ จู มจี าํ นวน 160 ตน
ขยายพนั ธโุ ดยการเพาะเนอ้ื เยอื่ และขายตน กลา ขยายพนั ธเุ พอ่ื ขายตน กลา และเกบ็ เกย่ี วผลผลติ

ในราคาตน ละ 600 บาท ขายตลาด โดยตนฝรั่งมีอายุการปลูกประมาณ

- พริก ในพ้ืนที่เกษตรผสมผสาน 5 ป จึงตองวางแผนปลูกฝร่ังเพ่ือใหไดผลผลิต
ไมข าดชว ง
จาํ นวน 4 ไร นายสมชายปลกู พรกิ จาํ นวน 300 ตน

โดยวางแผนการปลูกและเก็บเก่ียวสลับกัน - กลวยหอม กลวยนํ้าวา

เพื่อใหไดผลผลิตหมุนเวียนตอเนื่องตลอดทั้งป จาํ นวน 90 ตน

มรี ายไดจากพรกิ สด กโิ ลกรัมละ 100 บาท - พืชเสริมอ่ืนๆ เชน ใบเตย

เก็บขายในชวงวันพระได 16 กิโลกรัม ราคา

กิโลกรัมละ 20 บาท ดาวเรืองเก็บขายชวง

วันพระไดดอกละ 0.80 - 1.50 บาท

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 15

รางวัลความสําเรจ็

- รางวัลรองชนะเลิศการประกวด - เกษตรกรดีเดนระดับจังหวัด ดาน

ผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ป 2549 จากกระทรวงเกษตร

ครง้ั ท่ี 1 ในป 2550 ประเภทเกษตรกรทฤษฎใี หม และสหกรณ

จากสาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงาน - หมอดินอาสาประจําหมูบานดีเดน

โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ ประจําป 2549 จากกรมพัฒนาทดี่ ิน

- ผูปฏิบัติงานดานอนุรักษดินและนํ้า
ดีเดนประจําป 2549 สาขาการจัดการระบบ
อนรุ กั ษด นิ และนา้ํ จากสมาคมอนรุ กั ษด นิ และนาํ้
แหง ประเทศไทย

และรางวลั อ่นื ๆ อีกมากมาย

16 คมู ือตวั อยางความสําเร็จ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนนั ต 17

แผนที่ศูนยเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพียง

นายสมชาย นิลอนนั ต

18 คมู ือตัวอยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ลําดับ ศนู ยเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพียง ประเภท จังหวดั โทรศัพท
สํานกั งาน กปร.
08 7903 0912
ภาคกลาง 09 4861 9205
08 9076 4325
1. นายประมาณ ประสงคส นั ติ ประชาชนทัว่ ไป กาญจนบรุ ี 08 7357 6444
08 1929 9159
2. นายวินยั สวุ รรณไตร ประชาชนท่วั ไป ฉะเชิงเทรา 08 9886 0983
08 0076 8989
3. นายสาํ รอง แตงพลับ เกษตรกรทฤษฎใี หม เพชรบรุ ี
08 1316 0805
4. นายณรงค บัวสี เกษตรกรทฤษฎใี หม กรุงเทพฯ 02 5211 190
08 9486 1509
5. นายยวง เขยี วนลิ เกษตรกรทฤษฎีใหม นนทบรุ ี 02 2800 180
ตอ 2331-2
6. นายปรีชา เหมกรณ เกษตรกรทฤษฎีใหม กรุงเทพฯ 08 3954 7824
08 1489 9323
7. กลุมสงเสรมิ และผลติ พนั ธขุ า ว กลุมเกษตรทฤษฎีใหม นนทบรุ ี
08 7988 7801
ชมุ ชนบานไทรใหญ
02 6837 322 - 3
8. ชุมชนบางรกั นอ ย ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นนทบรุ ี 08 9541 4442

9. ชุมชนเพชราวธุ พัน 2 ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง กรงุ เทพฯ 02 3354 658

10. เรือนจาํ ชัว่ คราวเขากล้งิ หนว ยงานภาครัฐในสวนภูมิภาค เพชรบุรี 02 7398 000

11. ธนาคารเพือ่ การเกษตร หนวยงานภาครัฐในสวนกลาง กรงุ เทพฯ 02 2028 000

และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) 08 6167 8524
08 0059 3243
12. กรมราชทัณฑ หนว ยงานภาครฐั ในสวนกลาง นนทบุรี

13. บรษิ ทั ซองเดอรไ ทยออรแกนคิ ฟดู ธุรกจิ ขนาดยอ ม สพุ รรณบุรี

จํากดั

14. กลุม สตรผี ลิตภณั ฑข องใช ธุรกิจขนาดยอม เพชรบรุ ี

ในครวั เรอื น

15. บริษทั บาธรมู ดีไซน จํากดั ธุรกิจขนาดกลาง ปทุมธานี

16. หา งหุนสวน สมศักด์ิแกลงเซอรวสิ ธรุ กิจขนาดกลาง ระยอง

จาํ กัด

17. บริษทั บางจากปโ ตรเลยี ม จาํ กดั ธุรกจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ

(มหาชน)

18. บรษิ ัท ซีเอด็ ยเู คช่นั จาํ กดั ธุรกจิ ขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

19. บริษทั โทเทิล่ แอค็ เซ็ส ธรุ กจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ

คอมมนู เิ คชน่ั จํากดั (มหาชน)

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

20. นายแสนหมั้น อนิ ทรไชยา ประชาชนท่ัวไป อดุ รธานี

21. นายทวี ประหา ประชาชนทั่วไป มกุ ดาหาร

ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม : นายสมชาย นิลอนันต 19

ลาํ ดับ ศนู ยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท
สํานกั งาน กปร.

22. นายสนุ นั เผาหอม ประชาชนทัว่ ไป ขอนแกน 08 0186 8617

23. นายจันทรท ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม นครราชสีมา 08 9948 4737

24. นางพิมพ โถตนั คาํ เกษตรกรทฤษฎใี หม สกลนคร 08 0748 3133

25. นายบุญแทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎใี หม เลย 08 3346 0287

26. กลุม ขา วคณุ คา ชาวนาคณุ ธรรม กลุม เกษตรทฤษฎใี หม ยโสธร 08 8073 4277

27. กลมุ เกษตรย่งั ยนื อําเภอกันทรวิชัย กลุมเกษตรทฤษฎใี หม มหาสารคาม 08 9618 4075

28. ชมุ ชนบา นทาเรอื ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819

29. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหนางรอง หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค บุรรี ัมย 04 4631 883

30. บรษิ ัท โสมภาส เอ็นจเิ นยี ร่ิง ธรุ กิจขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270

(2005) จํากดั

ภาคเหนอื

31. นายสพุ จน โคมณี ประชาชนท่วั ไป นครสวรรค 08 1041 0911

32. นายผล มศี รี ประชาชนท่วั ไป พะเยา 08 1174 9928

33. นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ประชาชนทัว่ ไป กําแพงเพชร 08 6207 1285

34. นางเปรยี วจันทร ตะ ตน ยาง เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 1706 9687

35. นายประพันธ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม แพร 08 5252 2835

36. นายบญุ เปง จันตะ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 9559 2171

37. กลมุ เกษตรทาํ สวนบา นถํา้ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม พะเยา 08 1023 8350

38. กลมุ เกษตรศูนยเครอื ขา ยปราชญ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม เชียงราย 08 1025 5598

ชาวบา นเกษตรย่ังยนื

ตาํ บลศรีเมืองชมุ

39. ชมุ ชนบา นดอกบวั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง พะเยา 08 9430 4286

40. โรงพยาบาลหนองมวงไข หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค แพร 05 4647 458 - 60

ภาคใต

41. นายสมพงษ พรผล ประชาชนท่ัวไป พงั งา 08 9123 1589

42. นายสมชาย นิลอนนั ต เกษตรกรทฤษฎีใหม สรุ าษฎรธ านี 08 9592 1764

43. นายพินยั แกวจนั ทร เกษตรกรทฤษฎใี หม ยะลา 08 1388 5161

44. ชมุ ชนบานบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ภเู ก็ต 08 1892 9204

45. เทศบาลตาํ บลปลายพระยา หนวยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค กระบ่ี 07 5687 141

46. บริษัท พรทิพย ภูเกต็ จํากดั ธรุ กิจขนาดยอม ภเู ก็ต 07 6261 555

47. บรษิ ทั แปลนครเี อชัน่ ส จํากัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง ตรงั 02 2379 070

20 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง


Click to View FlipBook Version