The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นายสุนัน เผ้าหอม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 19:09:08

นายสุนัน เผ้าหอม

นายสุนัน เผ้าหอม

คํานํา

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ ซ่ึงเหมาะสมท่ีจะเปนตัวอยางใหแกบุคคลทั่วไป
เพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก ทสี่ นใจเขา มาศกึ ษาเรยี นรคู วามสาํ เรจ็ สาํ นกั งาน

พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) รวมกับมูลนิธิ กปร. จึงพิจารณาเห็นสมควรให นายสุนัน

ชยั พฒั นา สาํ นกั งบประมาณ กระทรวงมหาดไทย เผาหอม เปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง

กองทัพไทย และมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนา โดยในเบื้องตน สํานักงาน กปร. ไดจัดพิมพ

ประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดจัดให หนงั สอื คมู อื ตวั อยา งความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใ ช

มกี ารประกวดผลงานตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภท

พอเพยี ง ครงั้ ท่ี 2 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ เผยแพร ประชาชนทั่วไป เพ่ือเปนคูมือใหผูท่ีสนใจได

ตัวอยางความสําเร็จของบุคคล ชุมชน และ เขาใจและมองเห็นภาพการนอมนําหลักปรัชญา

องคกรภาครัฐและธุรกิจที่ไดนอมนําเอา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการ

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช พัฒนาตนเองและสวนรวม

ในการดําเนินชีวิต การพัฒนาชุมชน และการ สุดทายน้ี สาํ นกั งาน กปร. ขอขอบคณุ

บริหารจัดการองคกร จนประสบความสําเร็จ นายสุนัน เผาหอม เปนอยางย่ิง ท่ีใหความ

และเปนแบบอยา งทดี่ แี กสังคม อนุเคราะหขอมูลและรูปภาพในการจัดพิมพ

จากการประกวดผลงานฯ ท่ีผานมา หนงั สอื เลม น้ี โดยหวงั เปน อยา งยง่ิ วา หนงั สอื คมู อื

นายสุนัน เผาหอมไดรับรางวัลรองชนะเลิศ ตัวอยางความสําเร็จฯ เลมนี้ จะเปนแนวทาง

ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ และดาํ รงตนใหเ ปน ประโยชน

สยามบรมราชกุมารี ประเภทประชาชนทั่วไป ตอ สังคมตอ ไป

สาํ นกั งาน กปร.

ประเภท ประชาชนทัว่ ไป : นายสนุ นั เผาหอม 1

ประวตั ิสว นตัว

ชือ่ : นายสนุ นั เผา หอม
อายุ : 61 ป
สถานภาพ : สมรสกบั นางบญุ เรือง เผาหอมมบี ุตรสาวและบตุ รชายรวม 2 คน
การศึกษา : จบการศกึ ษาระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 การศกึ ษานอกระบบและการ

ศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.)
สถานทตี่ ง้ั : บา นเลขที่ 122 หมู 5 บา นหมอ ตําบลคูคาํ อําเภอซาํ สงู

จงั หวดั ขอนแกน
โทรศพั ท : 08-0186-8617

2 คมู ือตัวอยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดเรม่ิ ตนของความสาํ เร็จ

นายสนุ ัน เผา หอม เดมิ มอี าชพี ทํานา อาชีพของตนไมสามารถพ่ึงตนเองได เพราะ
ทําไร ปลกู พชื เชงิ เดย่ี ว และไดร บั ความไววางใจ เปน การทาํ เพอ่ื คา ขายใหผ อู นื่ เปน หลกั ดงั นน้ั จงึ
จากชาวบานใหดํารงตําแหนงผูใหญบานเปน เร่ิมปรับวิถีการประกอบอาชีพ ทําสวนผัก
ระยะเวลา 31 ป ( พ.ศ. 2526 – 2557) ประกอบ ปลอดภัยจากสารพิษ โดยเนนการปลูกพืช
กบั มคี วามสนใจในหลกั การทรงงาน โดยเฉพาะ หลากหลายชนดิ
หลกั การพง่ึ ตนเอง จงึ ไดท บทวนวา การประกอบ

ประเภท ประชาชนท่ัวไป : นายสนุ นั เผาหอม 3

ในป พ.ศ. 2537 นายสุนนั จงึ ไดเริ่มทาํ นําความรูตา งๆ ที่ไดร บั จากการอบรม เชน การ
เศรษฐกิจพอเพียงอยางจริงจัง โดยในชวงแรก วิจยั และปลกู ผักปลอดภัยจากสารพษิ การปลกู
ไดปลูกผักท่ัวไปบนพื้นท่ีวางเปลาตามพอแม พรกิ และแปรรปู พรกิ มาขยายผลใหเ ปน รปู ธรรม
ตอมากรมสงเสริมการเกษตรไดเขามาสงเสริม จนกระท่ังสามารถเปนตนแบบถายทอดความรู
ใหม กี ารรวมกลมุ และสนบั สนนุ มงุ สาํ หรบั ปลกู ผกั เรอื่ งการปลกู ผกั ปลอดภยั จากสารพษิ ทงั้ ในระดบั
(ปลูกผักกางมุง) คนละ 1 งาน และเมอ่ื ผลผลติ หมบู า นจนถงึ ระดบั จงั หวดั นอกจากนี้ นายสนุ นั
ขายดจี นเปน ทต่ี อ งการของตลาด จงึ ขยายการปลกู ไดร ับรางวลั มากมาย อาทเิ ชน รางวลั ผใู หญบ าน
จาก 1 งาน เปน 3 ไร (จากพืน้ ทท่ี ง้ั หมด 6 ไร) ยอดเยย่ี ม รางวลั สงิ หท อง และรางวลั ครอบครัว
โดยผักที่ปลูกเปนผักที่นิยมบริโภคในตลาด คือ ที่มีผลการดําเนินงานดีเดนตามโครงการ
กวางตุง ผักกาดขาว ผักปวยเลง ผักต้ังโอ ขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหเปน
ถั่วฝกยาว คะนา และใบโหระพา อีกทั้งยังได รากฐานชีวติ ของประชาชน

4 คูม อื ตวั อยา งความสําเร็จ การประยกุ ตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แรงบันดาลใจในการประยุกตใชหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคิดแรงบันดาลใจที่นายสุนัน ในขณะทลี่ อยคอในทะเล จนเกดิ ความประทบั ใจ
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ท่ีพระมหาชนกไมยอทอตออุปสรรค จึงหันมา
ประยุกตใชเพราะเห็นวาการทํานาอยางเดียว ปรับเปล่ียนวิธีคิดและวิธีทํางาน คือไมปลูกพืช
มคี วามเสยี่ งและตอ งซอื้ พชื ผกั ตอ งหาวธิ ที จี่ ะตอ ง เชิงเด่ียว แตจ ะปลกู ผักหลายชนดิ และขายควบคู
พึ่งตนเองใหไดมากที่สุด เหมือนพระมหาชนก กบั การทํานา
ในเร่ืองของความอดทน ความเพียรพยายาม

ประเภท ประชาชนทว่ั ไป : นายสนุ ัน เผา หอม 5

การดาํ รงตนอยางพอเพียง

ความพอประมาณ
นายสนุ นั และครอบครวั มคี วามพอใจกบั มกี ารขยายกจิ การจากการยมื เงนิ ธ.ก.ส. เพอ่ื เปน

ชีวิตที่เปนอยูอยางมีความสุขมีการออมทรัพย แบบอยางใหกับชุมชน โดยวางแผนการใชจาย
ปองกันการร่ัวไหลของเงิน จะซ้ือของท่ีจําเปน เงนิ และบรหิ ารจดั การระบบการเงนิ อยา งสมดลุ
เสื้อผาก็จะซอมแซมใชจนกวาจะหมดสภาพ จนสามารถชาํ ระหนีไ้ ดภายใน 2 ป
การใชรถคันเกาที่ยังสามารถใชไดก็ใชใหคุมคา

6 คูมอื ตัวอยางความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความมีเหตผุ ล
สมาชิกในครอบครัวมีสวนรวมคิด รวม

แสดงความคิดเห็นในการวางแผนการดําเนิน
ชีวติ โดยแมบ าน ซ่ึงมคี วามรเู รอ่ื งการตลาดกจ็ ะ
แนะนําใหปลูกผักตามความตองการของตลาด
ขณะทพี่ อบานจะเปนคนปลูก ดูแล รกั ษา และ
รบั ฟง เหตุผลรว มกัน สว นบตุ รชายทําหนาทีเ่ ปน
แรงงานของครอบครัว เปนการฝกเรื่องความ
รับผิดชอบและการเปดรับฟงความคิดเห็น
ซ่ึงจะเหน็ ไดว า สมาชกิ ในครอบครวั มสี ว นรว มคดิ
การใชเ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจอยา งรอบคอบ
โดยไมจ าํ เปน ตอ งทาํ ตามคนอน่ื หรอื ไมป ลกู ผกั ตาม
กระแสมากเกินไป ทั้งนี้ยังมีการนําทรัพยากรที่
เหลอื ใชม าสรา งความคมุ คา เชน เกบ็ เศษไมท ท่ี ง้ิ
อยูขางทางมากองรวมกันไวเพ่ือใหเปนอาหาร
ปลวก ซงึ่ จะเปน ปยุ ชนั้ ดี และรณรงคใ หเ กษตรกร
เลิกเผาซังขาว ตลอดจนการนําเศษพืชผักทุก
ชนดิ ทส่ี ามารถยอ ยสลายไดม าทําปยุ

ประเภท ประชาชนทัว่ ไป : นายสนุ ัน เผาหอม 7

การมภี มู ิคมุ กนั ท่ดี ี
นายสุนันไดวางแผนการปลูกผักให พืชตามกระแสหรือตามคําสั่งซ้ือ นอกจากน้ียัง

สอดคลอ งกบั ฤดกู าลผลติ เพอ่ื เพมิ่ รายไดแ ละลด สนับสนุนใหสมาชิกในครัวเรือนเปนสมาชิกทุก
ความเสี่ยง พรอมท้ังมีการทําบัญชีรายรับราย กองทุนในหมูบาน อีกท้ังยังเปนอาสาสมัคร
จา ย โดยจะแยกเปน บญั ชีของผักแตล ะประเภท ทาํ งานชว ยเหลอื สังคม โดยมพี อ บา นเปน ผใู หญ
เพอื่ ใหท ราบวา ผกั แตล ะประเภทขายไดก าํ ไรมาก บา นและวทิ ยากร บตุ รชายเปน ประธานเยาวชน
นอยเทาใด พรอมทั้งมีการวางแผนการใชจาย มีหนาทค่ี วบคุมดแู ลเยาวชน
และการปลกู ผกั ใหส อดคลอ งกบั ฤดกู าล ไมป ลกู

8 คมู ือตัวอยางความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เงอ่ื นไขความรูคูคุณธรรม

ความรู

นายสนุ นั เปน คนใฝร แู ละสนใจเรยี นรอู ยู ในลาํ ไส ตน สาบเสอื ใชบ ดหา มเลอื ด การกาํ จดั หญา

เสมอ โดยเขา รบั การอบรมแลกเปลย่ี นเรยี นรแู ละ ในแปลงผักใหท ําชว งกลางคนื

นาํ ความรมู าปฏบิ ตั จิ นเกดิ ประโยชน จนสามารถ นอกจากน้ี นายสุนนั ยงั มีความเปน ผูนาํ

เผยแพรความรูใหกับบุคคลอ่ืนรวมถึงการเปน ทม่ี องการณไ กลโดยการพฒั นาอาชพี เดมิ ตอ ยอด

วิทยากรใหหนวยงานตางๆ พรอมท้ังขยายผล สอู าชพี ใหม เชน การเชญิ วทิ ยากรทมี่ คี วามรเู รอ่ื ง

การนําภูมิปญญาทองถ่ินมาใชประโยชนในการ การพัฒนาพริกสูกระบวนการแปรรูปเปนพริก

ดํารงชีวิตใหผูอ่ืน เชน ความรูเรื่องชะอมที่ตอง ปน (เพราะครวั เรือนปลกู พริกอยแู ลว ) จนกลาย

นํามาชุบไขทอดเพราะจะชวยลางสารมะเร็ง เปนผลติ ภัณฑข้นึ ชือ่ ประจาํ จังหวดั ขอนแกน

ประเภท ประชาชนทั่วไป : นายสุนนั เผาหอม 9

คณุ ธรรม
นายสุนันและครอบครัวดํารงตนอยาง ความอดทน ไมทอถอย (จากการอานหนังสือ

ปลอดอบายมุข (ไมด่มื เหลา ไมส ูบบหุ รี่ ไมเลน พระมหาชนก ไดเ ขา ใจเรอื่ งความอดทน ความเพยี ร
การพนัน) บริจาคทรัพยสิ่งของชวยเหลือผู พยายามในขณะทลี่ อยคอ จนเกดิ ความประทบั ใจ
ขาดแคลน มีจิตสาธารณะและสละแรงกายเพ่ือ ไมยอ ทอตอ ปญ หาอุปสรรค)
สรางคณุ ประโยชนอยางตอ เนือ่ ง ดาํ รงชีวติ ดว ย

10 คมู ือตวั อยางความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลสาํ เรจ็ จากการประยกุ ตใ ชป รชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

จ า ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ท่ี ดี แ ล ะ ค ว า ม ศึกษาจากสถาบันตาง ๆ แลวนํามาประยุกตใช
สม่ําเสมอในการประกอบสัมมาอาชีพของนาย ใหเ หมาะสมกบั สภาพพน้ื ทแี่ ละความเปน อยขู อง
สนุ นั ทาํ ใหส ว นราชการใหค วามเชอื่ ถอื ในคณุ ภาพ ตนเองทาํ ใหส ามารถเปน แบบอยา งใหค าํ แนะนาํ
และความปลอดภัยของผัก จนไดใชแบรนด แกชาวบาน และเปนจุดถายทอดความรูระดับ
ผลติ ภณั ฑอ าํ เภอซาํ สงู สว นภาคเอกชนรบั ซอ้ื ผกั หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด จนถึงระดับ
ไปจาํ หนา ยทตี่ ลาดบางลาํ พู จ.ขอนแกน และจาก ประเทศ โดยมีผลงานสําเร็จท่ีโดดเดน คือการ
การที่นายสุนันรูจักพัฒนาตนเอง หม่ันเรียนรู ปลกู ผักปลอดภัยผสมผสานแบบกางมงุ

ประเภท ประชาชนทัว่ ไป : นายสนุ นั เผาหอม 11

เกษตรปลอดภัย
(Hygienic Products)

คอื การเกษตรทมี่ ีวิธีการปลูกโดยใชส ารเคมเี ทา ทีจ่ ําเปน และผลผลติ ตอ งไมม ี
สารเคมตี กคา งเปน อนั ตรายตอ ผบู รโิ ภค โดยในขนั้ ตอนสดุ ทา ยจะตอ งงดใชส ารเคมกี อ น
การเก็บเกยี่ วในระยะเวลาไมนอยกวา 1 สปั ดาห ซึง่ จะทาํ ใหผลผลติ ท่ีเกบ็ เก่ียวมรี ะดับ
สารเคมตี กคา งไมเ กนิ รอ ยละ 30 ตามท่ี WHO แหง องคก ารสหประชาชาตกิ าํ หนด ดงั นนั้
เกษตรปลอดภัยจึงมีกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐานตํ่ากวาเกษตรอินทรีย แตไมมีสาร
เคมีตกคา งจนเปนอันตรายตอผบู ริโภค

(ขอ มูลจากสํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต,ิ 2554)

12 คมู ือตวั อยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การปลูกผักปลอดสารพิษผสมผสาน
แบบกางมุง

เดิมเม่ือเจอแมลงรบกวนนายสุนันก็ใช พืชผักท่ีปลูกจะปลูกในลักษณะหมุนเวียนตาม

ยาฆาแมลงมาโดยตลอด แตเมื่อเปลี่ยนมาปลูก ฤดูกาลทเ่ี หมาะสมกับผกั แตล ะชนดิ เชน คะนา
ผักกางมุงก็สามารถชวยลดตนทุนการใชยาฆา ขจร แตง คื่นฉาย ผักกาด กวางตุง ถ่ัวฝกยาว
แมลง คาน้ําและคาปุยลงได หากเจอแมลง ผักหวานบาน และดอกสลิด เปนตน โดยมี
รบกวนมากๆ จะไถทงิ้ ใหเ ปน ปยุ แลว ปลกู ใหมท นั ที ข้นั ตอนการเตรียมดนิ และปลกู ผกั ดงั นี้

ประเภท ประชาชนทั่วไป : นายสนุ นั เผาหอม 13

- การเตรยี มดิน โดยการทําแปลง
ปลกู ยกรอ งประมาณ 25-30 เซนตเิ มตร ขนาด
กวาง 1.5-2 เมตร และใสปุยอินทรียประมาณ
รอยละ 70 ซึง่ สวนใหญท าํ ใชเอง และมีการซ้อื
บา งเลก็ นอ ย ใชป ยุ เคมที ไ่ี มเ ปน อนั ตรายประมาณ
รอยละ 30 ซึ่งการใชปุยเคมีตองใชแบบ
ระมดั ระวงั และตอ งนาํ ผกั ไปตรวจหาสารเคมวี า
มีสารตกคางหรือไม

- การปองกันแมลงหรือศัตรูพืช - การปอ งกนั สารเคมตี กคา ง เมอ่ื

โดยใชว ธิ กี างมงุ ปอ งกนั แมลง และใชว ธิ กี ารแบบ ผกั ครบกาํ หนดเวลาทจ่ี ะตอ งเกบ็ เกยี่ ว เกษตรกร

ธรรมชาติ คือ เกษตรกรจะตองเฝาระวังแมลง จะตองเวนชวงการใชสารเคมีอยางนอย 1

ศตั รพู ชื โดยการเดด็ ใบทมี่ ศี ตั รพู ชื ทงิ้ หรอื ทาํ ลาย สปั ดาห เกบ็ เกย่ี วในชวงเวลากลางคนื เพื่อรักษา

การใชส ารสกดั จากพชื หรอื การปลกู พชื กนั แมลง ความสด หลงั จากนน้ั ตอ งลา งผักดว ยนา้ํ สะอาด

ตางๆ เพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคพืช ประมาณ 3 ครงั้ เมอื่ ผกั สะอาดแลว นาํ ไปบรรจุ

ซึ่งเกษตรกรผูปลูกตองเอาใจใสตอพืชผักของ ถุงกระสอบเพอื่ ขนสงสูต ลาดตอไป

ตนเองเปน อยางดี

14 คูม อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สําหรับการจําหนายผักเขาสูตลาดนั้น นอกจากน้ี นายสุนันยังมีการวางแผน

ขนสง โดยใชร ถสว นตวั ของเกษตรกรหรอื บางครง้ั การปลูกผัก โดยแมบานผูมีหนาที่ขายผักเปนผู

จะฝากเพ่ือนบานไปจําหนาย และมีบางสวนท่ี แนะนําใหนายสุนันปลูกผักตามความตองการ

พอคามารับซ้ือถึงบานเกษตรกร แหลงที่นํา ของตลาด และเนน วา ไมปลูกผัก / ขายผกั ชนิด

ผลผลิตไปจําหนาย คือ ตลาดบานพลู จังหวัด เดยี วกนั กบั สมาชกิ ในกลมุ เพอ่ื จะไดไ มแ ยง ตลาด

ขอนแกน กลุมสมาชิกปลูกผักบานหมอเฉลี่ย และลูกคากัน ซึ่งเปนการวางแผนอยางมี

คาใชจายในการเชาแผงขายผัก เพื่อกระตุนให ภูมิคุมกัน และเปนการถอยทีถอยอาศัยซ่ึงกัน

สมาชิกมีผักไปขายทุกวัน และลดปญ หาการถกู และกนั เปนอยางดี

พอคาคนกลางกดราคา และผูบริโภคก็จะได

รับประทานผักปลอดสารพษิ สดใหมท กุ วนั

ประเภท ประชาชนทวั่ ไป : นายสนุ ัน เผาหอม 15

จึงกลา วไดว า การปลูกผักปลอดสารพิษ
ของนายสนุ นั สามารถเปน แบบอยา งในการดาํ รง
ตนและการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงใหแกเพ่ือนบาน ขยายผล
ความสําเร็จจากตนเองสูชุมชน จนเกิดการรวม
กลุมปลูกผักและการเกษตรผสมผสานตามแนว
เศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง โดยผลสาํ เรจ็ ทนี่ ายสนุ นั
และคนในชุมชนไดรับนอกจากเงินคือความ
สามคั คี ความเปน กลมุ กอ น และความเออื้ อาทร
ตอกัน

16 คูม ือตัวอยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ประโยชนของการปลูกผัก
ปลอดสารพษิ ผสมผสานแบบ

กางมงุ

การปลูกผักปลอดสารพิษมีตน ทุนคือ คามุง คาไถกลบ คาปยุ มลู สัตวแ ละ
คาเมลด็ พนั ธเุ ทานน้ั ที่เหลือจงึ เปนกาํ ไรเฉลย่ี ไรละ 3-4 หมนื่ บาท / ป ซึง่ มากขน้ึ
กวา ตอนทใี่ ชส ารเคมถี งึ 2 เทา และทสี่ าํ คญั คอื เมอ่ื กอ นสงั เกตไดว า เมอ่ื ใชส ารเคมี

ยาฆาแมลง คนทาํ ไรเองมักจะเปน โรคตาง ๆ คอ นขา งมาก แตพ อไดเรียนรู
วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษแลว สังเกตไดวา สุขภาพของผูปลูกเอง
ก็ดขี ้ึน ยิง่ ไปกวานนั้ ผบู ริโภคเองก็ไดส ุขภาพท่ดี กี ลับไป

ประเภท ประชาชนทัว่ ไป : นายสนุ นั เผาหอม 17

รางวัลความสําเรจ็

- รางวลั ผูใ หญบานยอดเย่ียม
- รางวัลสิงหท อง
- รางวลั รองชนะเลศิ ถว ยพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
จากการประกวดผลงานตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสาํ นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ คร้งั ที่ 2

18 คมู ือตวั อยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ลําดับ ศนู ยเรียนรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภท จงั หวัด โทรศพั ท
สํานกั งาน กปร.
08 7903 0912
ภาคกลาง 09 4861 9205
08 9076 4325
1. นายประมาณ ประสงคสันติ ประชาชนทัว่ ไป กาญจนบรุ ี 08 7357 6444
08 1929 9159
2. นายวนิ ยั สุวรรณไตร ประชาชนท่ัวไป ฉะเชงิ เทรา 08 9886 0983
08 0076 8989
3. นายสํารอง แตงพลับ เกษตรกรทฤษฎใี หม เพชรบรุ ี
08 1316 0805
4. นายณรงค บวั สี เกษตรกรทฤษฎใี หม กรุงเทพฯ 02 5211 190
08 9486 1509
5. นายยวง เขยี วนิล เกษตรกรทฤษฎีใหม นนทบรุ ี 02 2800 180
ตอ 2331-2
6. นายปรชี า เหมกรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม กรุงเทพฯ 08 3954 7824
08 1489 9323
7. กลมุ สงเสริมและผลิตพันธุขาว กลุมเกษตรทฤษฎใี หม นนทบุรี
08 7988 7801
ชมุ ชนบา นไทรใหญ
02 6837 322 - 3
8. ชมุ ชนบางรักนอ ย ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง นนทบุรี 08 9541 4442

9. ชมุ ชนเพชราวุธพนั 2 ชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพียง กรุงเทพฯ 02 3354 658

10. เรือนจาํ ช่วั คราวเขากลิง้ หนว ยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค เพชรบรุ ี 02 7398 000

11. ธนาคารเพ่ือการเกษตร หนว ยงานภาครฐั ในสว นกลาง กรุงเทพฯ 02 2028 000

และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) 08 6167 8524
08 0059 3243
12. กรมราชทัณฑ หนวยงานภาครฐั ในสวนกลาง นนทบรุ ี

13. บรษิ ทั ซองเดอรไ ทยออรแ กนคิ ฟูด ธรุ กจิ ขนาดยอ ม สพุ รรณบรุ ี

จํากดั

14. กลมุ สตรผี ลติ ภณั ฑของใช ธรุ กิจขนาดยอ ม เพชรบุรี

ในครัวเรือน

15. บริษทั บาธรมู ดีไซน จาํ กัด ธุรกิจขนาดกลาง ปทุมธานี

16. หางหุนสว น สมศักดิ์แกลงเซอรวสิ ธรุ กจิ ขนาดกลาง ระยอง

จํากดั

17. บริษัท บางจากปโ ตรเลียม จํากัด ธรุ กิจขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

18. บริษัท ซีเอ็ดยเู คชนั่ จาํ กัด ธรุ กจิ ขนาดใหญ กรงุ เทพฯ

(มหาชน)

19. บริษทั โทเทล่ิ แอค็ เซส็ ธรุ กจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ

คอมมูนิเคชนั่ จํากัด (มหาชน)

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

20. นายแสนหม้นั อนิ ทรไชยา ประชาชนท่ัวไป อดุ รธานี

21. นายทวี ประหา ประชาชนทัว่ ไป มกุ ดาหาร

ประเภท ประชาชนท่วั ไป : นายสุนัน เผาหอม 19

ลาํ ดับ ศนู ยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท
สํานกั งาน กปร.

22. นายสนุ นั เผาหอม ประชาชนทัว่ ไป ขอนแกน 08 0186 8617

23. นายจันทรท ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม นครราชสีมา 08 9948 4737

24. นางพิมพ โถตนั คาํ เกษตรกรทฤษฎใี หม สกลนคร 08 0748 3133

25. นายบุญแทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎใี หม เลย 08 3346 0287

26. กลุม ขา วคณุ คา ชาวนาคณุ ธรรม กลุม เกษตรทฤษฎใี หม ยโสธร 08 8073 4277

27. กลมุ เกษตรย่งั ยนื อําเภอกันทรวิชัย กลุมเกษตรทฤษฎใี หม มหาสารคาม 08 9618 4075

28. ชมุ ชนบา นทาเรอื ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819

29. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหนางรอง หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค บุรรี ัมย 04 4631 883

30. บรษิ ัท โสมภาส เอ็นจเิ นยี ร่ิง ธรุ กิจขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270

(2005) จํากดั

ภาคเหนอื

31. นายสพุ จน โคมณี ประชาชนท่วั ไป นครสวรรค 08 1041 0911

32. นายผล มศี รี ประชาชนท่วั ไป พะเยา 08 1174 9928

33. นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ประชาชนทัว่ ไป กําแพงเพชร 08 6207 1285

34. นางเปรยี วจันทร ตะ ตน ยาง เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 1706 9687

35. นายประพันธ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม แพร 08 5252 2835

36. นายบญุ เปง จันตะ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 9559 2171

37. กลมุ เกษตรทาํ สวนบา นถํา้ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม พะเยา 08 1023 8350

38. กลมุ เกษตรศูนยเครอื ขา ยปราชญ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม เชียงราย 08 1025 5598

ชาวบา นเกษตรย่ังยนื

ตาํ บลศรีเมืองชมุ

39. ชมุ ชนบา นดอกบวั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง พะเยา 08 9430 4286

40. โรงพยาบาลหนองมวงไข หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค แพร 05 4647 458 - 60

ภาคใต

41. นายสมพงษ พรผล ประชาชนท่ัวไป พงั งา 08 9123 1589

42. นายสมชาย นิลอนนั ต เกษตรกรทฤษฎีใหม สรุ าษฎรธ านี 08 9592 1764

43. นายพินยั แกวจนั ทร เกษตรกรทฤษฎใี หม ยะลา 08 1388 5161

44. ชมุ ชนบานบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ภเู ก็ต 08 1892 9204

45. เทศบาลตาํ บลปลายพระยา หนวยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค กระบ่ี 07 5687 141

46. บริษัท พรทิพย ภูเกต็ จํากดั ธรุ กิจขนาดยอม ภเู ก็ต 07 6261 555

47. บรษิ ทั แปลนครเี อชัน่ ส จํากัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง ตรงั 02 2379 070

20 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง


Click to View FlipBook Version