The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

_ข้อมูลระบบการศึกษา-การพัฒนาครู-และการพัฒนาโรงเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kamthorn Saeiew, 2022-07-11 19:11:56

_ข้อมูลระบบการศึกษา-การพัฒนาครู-และการพัฒนาโรงเรียน

_ข้อมูลระบบการศึกษา-การพัฒนาครู-และการพัฒนาโรงเรียน



ขอ้ มลู ระบบการศกึ ษา

การพฒั นาครแู ละการพฒั นาโรงเรยี น

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน
กระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ

เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลดังต่อไปน้ี 1) ข้อมูลระบบการศึกษา ประกอบด้วย
ขอ้ มลู ท่ีเปน็ นโยบายและการบรหิ าร การพัฒนาหลักสูตร และการจดั การศึกษา 2) ขอ้ มลู การพัฒนาครู ประกอบด้วย
แนวทางการพัฒนา ปัญหาและอุปสรรค รวมถึงแนวทางการ Up skill- Re skill ตลอดจนการสร้าง New skill และ
3) ข้อมลู การพัฒนาโรงเรียน ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐาน ปญั หาและอุปสรรคในการพัฒนา และแนวทางการพัฒนา
โรงเรยี น

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงานในสังกัดที่เก่ียวข้อง
ทุกฝ่าย ท้ังน้ี ขอขอบคุณสานักทุกสานัก และหน่วยงานเทียบเท่าสานัก ที่ร่วมให้ข้อมูลอย่างละเอียดครบถ้วน
ทาใหม้ ขี อ้ มลู ทส่ี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในส่วนทเี่ กย่ี วข้อง ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพต่อไป

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
12 พฤษภาคม 2565



สำรบัญ

เร่ือง หน้ำ

คำนำ 1
1
1. ระบบกำรศกึ ษำ 1
2
1.1 นโยบายและการบริหาร 3
 ปัญหาดา้ นภัยความมนั่ คงด้านการศึกษา 4
 แนวทางการบรหิ ารส่วนภมู ภิ าคของ สพฐ. 5
 บทบาทหนา้ ที่ของผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา 5
 แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัด 6
 การผลิตครูรว่ มกบั สถาบันอดุ มศึกษา 6
 การกากบั บคุ คลภายนอกจัดกิจกรรมในโรงเรยี น 8
9
1.2 การพฒั นาหลักสูตร 9
 หลกั สูตรแกนกลางฯ 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) 9
 การปรับปรุงวิชาประวัติศาสตร์ 10
 การพัฒนา ปรับปรงุ กจิ กรรมลกู เสือ 11
12
1.3 การจัดการศกึ ษา 14
 การสอบ O-net 16
 ผลการใหส้ อบ O-net ตามความสมัครใจ
 การเตรยี มข้อสอบใหม่ 17
 การประเมนิ คณุ ภาพโรงเรียน ท้งั ภายในและภายนอก 17
 การแก้ปัญหาเดก็ ที่บกพร่องทางการเรยี นรู้ 17
 การแก้ไขปัญหาเดก็ อา่ นไม่ออกเขียนไม่ได้ 17
18
2. กำรพัฒนำครู 18
20
2.1 แนวทางการพฒั นา 20
 แนวทางการพัฒนาครู ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 21
 พัฒนาความรคู้ วามเขา้ ใจหลักสตู รแกนกลางฯ 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) 21
 การผลติ และพัฒนาครูเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น 21
 การพฒั นาทักษะครูของศูนยพ์ ฒั นาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลศิ 21

2.2 ปัญหาและอุปสรรค
 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด – 19

2.3 แนวทางการ Up skill – Re skill สร้าง New skill
 Up skill: พฒั นาทกั ษะ
 Re skill: ทบทวนเพื่อพัฒนา
 New skill: สร้างทกั ษะใหม่

เรอ่ื ง ข

3. กำรพัฒนำโรงเรยี น หน้ำ

3.1 ขอ้ มูลพื้นฐาน 22
 ข้อมลู โรงเรยี น 22
 ขอ้ มูลนักเรียน 22
 ข้อมลู ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 23
23
3.2 ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาโรงเรยี น 24
 ด้านครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 24
 ดา้ นการเรียนการสอน 24
 ดา้ นการบริหารจัดการ 24
 ด้านการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา 24
25
3.3 แนวทางการพฒั นาโรงเรยี น 25
 โรงเรียนคุณภาพ 25
 โรงเรียน Stand Alone 25
 โรงเรยี นวัตถปุ ระสงคพ์ ิเศษ 26
 โรงเรยี นขนาดเลก็ 26
 โรงเรยี นคอนเนก็ ซ์อดี ี (Connext ED) 28
 โรงเรียนร่วมพฒั นา (Partnership School Project) 28

3.4 การแก้ปัญหาโรงเรียนท่ีขาดแคลนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

1) ระบบกำรศกึ ษำ ๑

ระบบกำรศกึ ษำ กำรจดั กำรศึกษำ

นโยบำยและกำรบรหิ ำร กำรพัฒนำหลักสูตร • การสอบ O-net
• ผลการใหส้ อบ O-net
• ปัญหาด้านภัยความมั่นคง • หลกั สตู รแกนกลางฯ 2551
ดา้ นการศกึ ษา (ฉ.ปรับปรงุ 2560) ตามความสมัครใจ
• การเตรียมข้อสอบใหม่
• แนวทางการบรหิ าร • การปรบั ปรงุ • การประเมินคุณภาพ
สว่ นภูมภิ าค ของ สพฐ. วชิ าประวตั ิศาสตร์
โรงเรียน ทั้งภายในและ
• บทบาทหนา้ ทขี่ อง ผอ.เขต • การพัฒนา ปรับปรงุ ภายนอก
• แผนพฒั นาการศกึ ษาฯ กจิ กรรมลูกเสอื • การแก้ปญั หาเดก็
ท่บี กพรอ่ งทางการเรยี นรู้
• การแกป้ ญั หาเดก็
อ่านไมอ่ อกเขยี นไม่ได้

 การผลติ ครูรว่ มกับ
สถาบันอุดมศึกษา

 การกากับบคุ คลภายนอก

จัดกจิ กรรมในโรงเรยี น

นโยบำยและกำรบริหำร

๑ ปัญหำของประเทศด้ำนภัยควำมมนั่ คงดำ้ นกำรศกึ ษำ และแนวทำงแก้ไข

การศึกษาเป็นส่วนสาคัญและจาเป็นในการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรือง ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ
สงั คม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นการ
ถ่ายทอดวฒั นธรรม และสรา้ งภูมปิ ญั ญาใหแ้ ก่สงั คม

ระบบการศึกษา หมายถึง โครงสร้างของการศึกษาท่ีมีองค์ประกอบ ท้ังเร่ืองหลักสูตร
จดุ มุง่ หมาย แนวนโยบาย ระบบการจดั และแนวทางในการจดั การศึกษา เพอ่ื ใหก้ ารศึกษาช่วยพัฒนาชีวิตของเด็ก
และเยาวชน ไปในทศิ ทางท่พี ึงประสงค์

ระยะเวลากว่า 2 ปีท่ีผ่านมา ระบบการศึกษาได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งถือเป็นปัญหาของประเทศด้านภัยความม่ันคงด้านการศึกษา
ท่สี ง่ ผลทาใหเ้ กิดปัญหาในมติ ติ ่าง ๆ ไดแ้ ก่



1. ปญั หาด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ทมี่ ีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) อนั เกดิ จาก
สาเหตุของความไม่พร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน ความเครียดและปัญหาสุขภาพจิต ท่ีผู้เรียนต้องน่ังเรียน
ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรทัศน์ เป็นเวลานาน และบรรยากาศในบ้านที่ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ ขาดปฏิสัมพันธ์
ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกันเอง รวมทัง้ ความจาเป็นของครอบครัว ที่ผู้ปกครอง
ไม่สามารถอยู่กับบุตรหลานในช่วงการเรียนผ่านระบบออนไลน์ เนื่องจากต้องประกอบอาชีพ และในบางกรณี
เด็กอาศัยอยกู่ บั ผู้สงู อายุ (ปู่ย่า ตายาย)

2. ปัญหาด้านโอกาสและความเหล่ือมล้าทางการศึกษา : เด็กหลุดจากระบบฯ ท่ีมีสาเหตุ
มาจากเศรษฐกิจของครอบครัว ผู้ปกครองถูกพักงานหรือถูกเลิกจ้าง ครอบครัวขาดรายได้ มีการย้ายถิ่นฐาน
และนักเรียนต้องทางาน เพ่ือหารายได้มาช่วยเหลอื ครอบครวั

3. ปญั หาด้านสุขภาพอนามยั : นักเรียนติดเชอ้ื โควิด-19 โดยมีสาเหตุมาจากสภาพความเปน็ อยู่
ของนักเรียน การพักอาศัยภายในบ้านเดียวกันจานวนหลายคน และที่สาคัญคือการเข้าใจท่ีไม่ถูกต้องในเรื่อง
การปอ้ งกันด้วยการเข้ารบั การฉีดวคั ซนี

แนวทำงแก้ไข
1. เพ่ิมโอกาสและลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการดาเนินโครงการ
ติดตามค้นหาเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน โครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” เพื่อเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึง
การศึกษา รวมถึงพฒั นาทกั ษะอาชีพเพือ่ การมีงานทา โดยบูรณาการดาเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งในระดับ
กระทรวงและระดับพนื้ ท่จี งั หวดั
2. ปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในการ
เตรียมความพร้อมสาหรบั การเปิดเรียนแบบ Onsite และเร่งสร้างการรับรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกต้อง ในการรับวัคซีน
สาหรบั ผู้ที่ยังไมไ่ ดร้ บั การฉีด และใหผ้ ทู้ ี่ได้รับการฉดี แล้ว ให้เข้ารับเข็มกระตุ้น (เข็ม 3)
3. ฟืน้ ฟู ซ่อม เสริม และสรา้ งคุณภาพการศกึ ษา

3.1 ประเมนิ การถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล
3.2 ปรับหลักสตู รสถานศึกษาและกระบวนการเรียนการสอน รวมถงึ การวดั และประเมนิ ผล
ใหม้ ีความยืดหยุ่น
3.3 พัฒนาคลังส่ือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ มีการเช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา
เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี น และครูผู้สอนเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ในการนาไปใช้หรอื ศึกษาเพม่ิ เตมิ ดว้ ยตนเอง
3.4 สร้างการมสี ว่ นร่วมในการฟื้นฟู ซ่อม เสรมิ และสร้างคณุ ภาพการศึกษาใหเ้ กิดข้นึ กับผ้เู รียน
อาทิ เครอื ข่ายผูป้ กครอง ชมุ ชน องค์กร บคุ คล หนว่ ยงานภายนอกทง้ั ภาครฐั และเอกชน

๒ แนวทำงกำรบริหำรส่วนภูมิภำคของ สพฐ.

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน แบ่งการบริหารงานออกเปน็ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับ สพฐ. (ส่วนกลาง) มีหน้าที่บริหารงานเชิงนโยบายและกากับติดตาม (Policy &
Regulator) หน่วยงานภายในกากับตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ จานวน 12 สานัก และหน่วยงานที่
จดั ตง้ั เป็นการภายใน 10 สานกั
2. ระดับเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา มหี น้าท่นี านโยบายสู่การปฏบิ ัติ (Implementation & Facilitator)
ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน 183 แห่ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา จานวน 62 แห่ง



3. ระดับสถานศึกษา ทาหน้าท่ีเป็นหน่วยงานจัดการเรียนการสอน (Operator) มีจานวน
29,583 แห่ง (ข้อมลู ณ วนั ที่ 10 มิถุนายน 2564)

แนวทำงกำรบรหิ ำร
1. ส่งเสรมิ สนับสนุนการทางานรว่ มกันระหว่างสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาและสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ในรูปแบบคณะทางานของจังหวัด (Matrix Organization)
2. ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ กฎหมาย ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์
ในปัจจุบัน และเพ่ือให้มีความชัดเจนในการปฏิบัติงานระหว่างสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด
3. จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อให้ทราบถึงภารกิจและ
ขัน้ ตอนการทางานท่ชี ดั เจน

๓ ผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศกึ ษำมหี น้ำท่ีอะไรบำ้ ง

บทบาทหนา้ ท่ขี องผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ตามระเบยี บ กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง
1. พระรำชบัญญัติระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธกิ ำร มำตรำ 37 วรรค 2
1.1 เปน็ ผู้บงั คบั บัญชาข้าราชการในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
1.2 รับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานกั งานใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย แนวทางและ

แผนปฏบิ ตั ริ าชการของกระทรวง
1.3 ปฏิบัติหน้าท่ีตามกฎหมายอ่ืน ในกรณีที่มีกฎหมายอ่ืนกาหนดอานาจหน้าที่ของ

ผู้อานวยการไว้เป็นการเฉพาะการใช้อานาจ และการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบาย
ที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนมุ ัตแิ นวทาง และแผนการปฏิบัตริ าชการของกระทรวงด้วย

2. พระรำชบญั ญัติระเบยี บขำ้ รำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ พ.ศ. 2547 มำตรำ 24
2.1 รับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิงานราชการทเ่ี ปน็ อานาจและหน้าท่ี
2.2 เสนอแนะการบรรุและแตง่ ตั้ง และการบรหิ ารงานบุคคลในเรื่องอื่นที่อย่ใู นอานาจและ

หน้าท่ี
2.3 พิจารณาเสนอความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ในหน่วยงานการศึกษา

ในเขตพืน้ ที่การศึกษา และข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา

2.4 จัดทาแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในหน่วยงานการศึกษา ในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

2.5 จดั ทาทะเบยี นประวัติขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
2.6 จัดทามาตรฐานคุณภาพงาน กาหนดภาระงานขั้นต่า และเกณฑ์การประเมิน
ผลงาน สาหรบั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
2.7 ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทารายงานการบริหารงานบุคคล
เสนอหน่วยงานหรือองคค์ ณะบุคคลที่เก่ยี วข้อง
2.8 ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ี กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ.
มอบหมาย (ปัจจบุ นั อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา เป็นของ ก.ศ.จ. ตามคาส่ัง คสช.ท่ี 19/2560)



3. อำนำจหนำ้ ท่ีตำมทไ่ี ด้รับมอบอำนำจ (คำสั่งใหป้ ฏิบัติรำชกำรแทน) และตำมกฎหมำยอ่ืน
เช่น
3.1 การขอใช้ท่ีราชพสั ดุของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด
3.2 การมอบโอนพัสดุ
3.3 อนุมัต/ิ อนญุ าต การลาไปตา่ งประเทศ (เฉพาะกรณที ุนส่วนตัวหรอื ทนุ ทีไ่ ม่ผูกพนั กับ

งบประมาณของทางราชการ)
4. หน้ำท่ีเป็นคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำร เลขำนุกำร ในคณะกรรมกำรต่ำงๆ
เชน่
4.1 คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)
4.2 คณะอนกุ รรมการศึกษาธิการจังหวัด (อกศจ.)

๔ แผนกำรพัฒนำกำรศึกษำจงั หวัด มีหรอื ไม่/มจี งั หวดั ใดบำ้ ง กำรปฏบิ ตั ิและผลสัมฤทธิเ์ ปน็ อย่ำงไร

บทบำทของสำนกั งำนศึกษำธกิ ำรจงั หวดั
 เป็นโซ่ข้อกลางในการจัดทายุทธศาสตร์การศึกษาระดับจังหวัด และดาเนินการเชิงนโยบายของ
การศึกษาในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการภายในจังหวัด โดยในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด
ดังกล่าว จัดทาข้ึนตามบริบทของแต่ละจังหวัด เป็นแผนระยะปานกลาง ส้ินสุดปี 2565 โดยเมื่อสิ้นสุดแผน
จึงจะทาการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านและผลสมั ฤทธต์ิ อ่ ไป

กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2564 –
2565) สาหรับใช้เป็นกรอบทิศทางในการดาเนินงานของหน่วยงาน โดยเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
พ.ศ. 2561 – 2580 และสอดคล้องกับแผนต่าง ๆ ทุกระดับ โดยกาหนดแนวทางในการขับเคลื่อนแผน
สกู่ ารปฏบิ ัติและเง่ือนไขความสาเรจ็ ไว้ ดงั น้ี

การขบั เคล่อื นแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
1. สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับผู้บริหารและบุคลากรในสังกัดทุกระดับ เพ่ือให้เกิด
ความเข้าใจในทิศทางเดียวกนั
2. เน้นย้าให้ผู้บริหารในสังกัดทุกระดับให้ความสาคัญในการพิจารณาแผนพัฒนาการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2564 – 2565) และใช้เป็นกรอบในการกาหนดนโยบาย แผน และการดาเนินงานของ
หน่วยงาน
3. บูรณาการแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สู่แผนต่าง ๆ ของหน่วยงานในสังกัด
เพ่ือขับเคล่ือนนโยบายและกลยุทธ์ ใหส้ อดคล้องกัน
4. กากับ ติดตาม การนาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปี และแผนต่าง ๆ ของโรงเรยี น เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
เงือ่ นไขสูค่ วามสาเรจ็
1. ความตอ่ เนื่องของนโยบายทุกระดับ
2. หน่วยงานทุกระดับมีแผนและกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน



3. ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และการบริหาร
จดั การอย่างต่อเนอ่ื งและครอบคลุมภารกจิ

4. การดาเนินงานของหน่วยงานทุกระดับเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างความเชื่อม่ัน
ใหห้ นว่ ยงาน องค์กร และผู้มีส่วนไดสว่ นเสยี

บทบำทของสำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำ
 ดาเนินการส่งเสริม สนับสนุน เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สาหรับเด็กในวัยการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ท้ังเด็กปกติ เด็กด้อยโอกาส และเด็กความสามารถพิเศษ รวมถึงเด็กพิการ ตั้งแต่แรกพบความพิการ
จนถึงอายุ 18 ปี โดยกาหนดนโยบาย แผน และการดาเนินงานของหน่วยงาน ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน และแผนการพฒั นาการศึกษาจังหวดั

๕ กำรทำงำนรว่ มกบั สถำบันอดุ มศกึ ษำในกำรผลิตครู

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดาเนินการกาหนดกรอบความต้องการครูตาม
สาขาวิชาเอก โดยใช้อัตราครูที่เกษียณอายุราชการในการรองรับการบรรจุ จานวน 25 % ของอัตราครู
ท่ีเกษียณอายุราชการ เพ่ือนาเสนอต่อกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งเป็น
ผรู้ บั ผิดชอบดาเนินการ

๖ กำรกำกบั บคุ คลภำยนอกเข้ำไปจัดกิจกรรมในโรงเรยี น

1. การจัดโครงการหรือกิจกรรมต้องเป็นไปตามกรอบที่ สพฐ. กาหนดสาหรับการรายงาน
หน่วยงานภายนอกระดับชาติ ได้แก่ การรายงานการใช้จ่ายงบประมาณในระบบ eMENSCR รายงานการจัด
การเรียนการสอนในสถานการณโ์ ควดิ -19 และรายงานการพฒั นาการจัดการเรียนร้ฯู ของสานักงาน ก.พ.ร.

2. โครงการ/กิจกรรมใด นอกเหนือจากท่ี สพฐ.กาหนด สถานศึกษาต้องพิจารณาวัตถุประสงค์ของ
โครงการ/กิจกรรม น้ัน เป็นสาคัญลาดับแรก ซึ่งจะต้องไม่เป็นการเพ่ิมภาระงานครู และไม่เกิดผลกระทบ
ต่อการจัดการเรียนการสอน และต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พร้อมแจ้ง
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา และ สพฐ. ทราบตามลาดบั

3. ควรให้ความสาคัญ ตระหนัก และระมัดระวังเป็นอย่างย่ิง ในการจัดกิจกรรมในโรงเรียน
ท่ีเก่ียวข้องกับทางการเมือง ความม่ันคง และสถาบันหลักของชาติ สถานศึกษาจะต้องพิจารณาอย่างถ่ีถ้วน
โดยร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หากโครงการ/กิจกรรมใด นอกเหนือหรือเกินกว่าอานาจ
ที่จะพิจารณาได้ ให้ขออนุญาตต่อสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาต้นสังกัด และสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน ตามลาดับ



กำรพฒั นำหลกั สตู ร

๑ หลกั สตู รแกนกลำงฯ 2551 (ฉ.ปรับปรงุ 2560)

วัตถปุ ระสงค์ของกำรดำเนนิ งำน

1. เพอ่ื ทดลองใช้ (ร่าง) กรอบหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ....

2. ศกึ ษาความเป็นไปได้ของการใช้ (ร่าง) กรอบหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ....

ในการพัฒนาความสามารถของผเู้ รยี น

3. ศึกษาแนวทางการนาไปใช้ของ (ร่าง) กรอบหลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ....

กลุ่มเปำ้ หมำยกำรดำเนินงำน

1. พ้ืนท่ีเป้าหมาย ไดแ้ ก่ พนื้ ท่ีนวตั กรรมการศึกษา 8 จงั หวดั ประกอบดว้ ย จังหวดั กาญจนบรุ ี

เชยี งใหม่ ระยอง ศรสี ะเกษ สตูล ยะลา นราธวิ าส และปัตตานี

2. โรงเรยี นในพืน้ ทน่ี วัตกรรมการศึกษาท่ีสมัครใจเขา้ รว่ มโครงการ จานวน 194 โรงเรียน

3. ศกึ ษานิเทศกใ์ นพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา จานวน 72 คน

3.1 สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน จานวน 50 คน

3.2 สงั กดั สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด จานวน 16 คน

3.3 สงั กัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั จานวน 4 คน

3.4 สังกดั สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ จานวน 2 คน

4. ผูบ้ รหิ ารและครผู ู้สอน โรงเรยี นละ 3 - 4 คน โดยประมาณ จานวน 774 คน

สำระสำคัญของกำรพฒั นำ

1. การศกึ ษาฐานสมรรถนะ

2. (รา่ ง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช....

3. กระบวนการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา

รูปแบบกำรพัฒนำ

1. Online

2. Onsite

กำรทดลองใช้ (รำ่ ง) กรอบหลกั สตู รกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน พทุ ธศกั รำช....

1. กระบวนกำรดำเนนิ งำนและผลกำรดำเนนิ งำน

1.1 จดั ทาหลกั สูตรพัฒนาพีเ่ ลีย้ งและครูผสู้ อนในโรงเรียนนารอ่ งในพ้ืนท่นี วตั กรรมการศึกษา

ประกอบดว้ ย 3 Module ดงั น้ี

Module 1 การศกึ ษาฐานสมรรถนะ

Module 2 (ร่าง) กรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช....

Module 3 กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา

จานวน 4 หนว่ ยการเรียนรู้

1) การกาหนดตัวตนของสถานศึกษา

2) สมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ

3) โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา

4) การจัดการเรยี นรแู้ ละการวดั และประเมนิ ผล



1.2 พัฒนาพ่เี ลยี้ งและครผู สู้ อนในโรงเรียนนาร่องในพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาดงั น้ี

วนั ท่ีอบรม หลกั สูตรอบรม ผเู้ ขา้ รับการอบรม จานวนผเู้ ขา้ อบรม
Module 1 และ Module 2 ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร 700 คน
21 พฤศจิกายน ครูผูส้ อนและพ่ีเลีย้ ง
2564 ในพน้ื ทนี่ วัตกรรม 72 คน
ศกึ ษานิเทศก์ 700 คน
15-19 และ Module 3 ผู้บริหาร และครผู สู้ อน
17-20 มีนาคม หน่วยท่ี 1 – 3 72 คน
ศึกษานเิ ทศก์ 1,600 คน
2565 Module 3 ผู้บริหาร และครผู ูส้ อน
หนว่ ยที่ 4
19-11 และ
19-21 เมษายน

2565

2. ผลลัพธ์ (ร่ำง) หลกั สตู รสถำนศึกษำมีโครงสรำ้ งเอกสำร ดังนี้
2.1 แนวคดิ พนื้ ฐานการพพฒั นาหลักสูตร
2.2 วิสยั ท้ศนข์ องหลักสูตร
2.3 หลกั การของหลักสตู ร
2.4 จดุ หมายของหลกั สูตร
2.5 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
2.6 สมรรถนะหลกั
2.7 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2.8 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้เม่ือจบช่วงชน้ั และผลลัพธ์การเรียนรู้ช้ันปี
2.9 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (วิชาเรยี นและเวลา)
2.10 การจดั การเรยี นรแู้ ละการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

3. กำรดำเนินงำนระยะต่อไป : วิจยั กระบวนการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

แผนปฏิบัติการปรบั ปรุง (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช....
ระดับประถมศกึ ษา และ (รา่ ง) คูม่ ือการใชก้ รอบหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช....ระดบั ประถมศึกษา

กาหนดเวลา กิจกรรม

มนี าคม 2562 - - ศึกษา วิจยั วิเคราะห์ข้อมูล
มนี าคม 2565 - (รา่ ง) กรอบทิศทางหลักสตู รฯ (รับฟังความคิดเห็น)
- ยกร่าง (ร่าง) กรอบหลักสูตรฯ
- วพิ ากษ์ (ร่าง) กรอบหลักสูตรฯ (รบั ฟังความคดิ เหน็ )
- ปรับปรุง (ร่าง) กรอบหลักสูตรฯ

มนี าคม 2565 - ปรบั ปรงุ (รา่ ง) กรอบหลกั สตู รฯ และ (รา่ ง) คู่มือการใช้กรอบหลักสูตรฯ
ระดบั ประถมศึกษา
- อธบิ ายหลักการ ที่มา ช่ือหลกั สูตร นยิ ามศพั ท์
- ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น สมบรู ณข์ องกลุ่มสาระการเรียนรู้

กาหนดเวลา ๘
เมษายน 2565
กิจกรรม
พฤษภาคม – ธันวาคม - สง่ มอบงานให้คณะอนุกรรมการ กพฐ. ชุดที่ 2 เพอื่ ปรับปรุง
2565 - พจิ ารณ์ (รา่ ง) กรอบหลกั สูตรฯ ระดบั ประถมศึกษา 4 ภมู ิภาค จานวน 6 คร้ัง
- ปรับปรุง (ร่าง) กรอบหลักสูตรฯ และ (ร่าง) คู่มือการใช้กรอบหลักสตู รฯ ระดบั
ประถมศึกษา
- พัฒนาเอกสารประกอบหลักสูตร เช่น (ร่าง) แนวทางการบริหารจัดการ
หลักสูตร (ร่าง) แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล และ (ร่าง) แนวทางการ
จัดการเรยี นรู้ เปน็ ต้น

๒ กำรดำเนินงำนปรบั ปรงุ วชิ ำประวตั ศิ ำสตร์

วตั ถุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในมิติต่างๆ ที่หลากหลาย รวมถึงการพัฒนา
รปู แบบการจดั การเรียนการสอนให้เข้าถงึ ผเู้ รียน เพอื่ นาไปส่กู ารเปน็ พลเมอื งดีของประเทศ
ผลกำรดำเนนิ งำนทผี่ ่ำนมำ
1. ดา้ นพัฒนาครู

1.1 พฒั นาคู่มอื การสรา้ งและการใชส้ ื่อ AR คมู่ ือการอบรมครใู ชว้ ิดโี อคลิป
1.2 อบรมการใช้สื่อ AR และการใช้สื่อวิดีโอคลิปในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ระดับปฐมวัย/
ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา
1.3 อบรมครสู งั คมศึกษา 12 เดือน Webinar การเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร์ วิถใี หม่ วิถีอนาคต
2. ด้านพฒั นาโรงเรียน
2.1 ส่งเสริมการ PLC ในโรงเรยี น
2.2 สง่ เสรมิ การบรู ณาการแผนการจดั การเรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์วถิ ีใหม่ 12 เดอื น Webinar
2.3 สง่ เสรมิ ให้ครใู ชน้ วตั กรรม AR และเทคโนโลยี
2.4 ส่งเสริมการใช้ Active Learning ในการจดั การเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์
2.5 สง่ เสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมการสอน และ E-portfolio รวมถงึ การประเมินตามสมรรถนะ
3. ด้านโครงการ/กจิ กรรม การวจิ ัยการจดั การเรยี นรู้วิชาประวัติศาสตร์
3.1 การพัฒนาคลังนวตั กรรมการเรยี นร้ปู ระวัติศาสตร์
3.2 ถอดบทเรียนนวตั กรรมของ สพท. ทง้ั หนว่ ยงานภายใน สพฐ. และหนว่ ยงานภายนอก
3.3 การบันทึกข้อตกลง MOU การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านพิพิธภัณฑ์
ท่วั ประเทศ
3.4 12 เดอื น Webinar การเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์วถิ ใี หม่ วิถีอนาคต



๓ กิจกรรมลูกเสือ มแี นวทำงกำรดำเนนิ งำน พฒั นำ ปรับปรงุ อยำ่ งไร

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใช้กระบวนการลูกเสือในการพัฒนาผู้เรียนในด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง โดยสถานศึกษาเป็นหน่วยงานสาคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรม
ลกู เสือ ที่มีผู้บริหาร บคุ ลากรทางการลกู เสอื รวมท้ังลูกเสอื เนตรนารี เปน็ ผู้ทม่ี ีสว่ นเกย่ี วข้องในการพัฒนาตนเองด้วย
กระบวนการลูกเสอื

แนวทางการพฒั นาปรับปรุง
1. ร่วมกับสานักงานลูกเสือแห่งชาติปรับปรุงหลักสูตรลูกเสือให้ทันสมัย เหมาะกับบริบทของ

สังคมปัจจบุ นั นาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ในอนาคต
2. พฒั นาโรงเรยี นต้นแบบลูกเสือ เพื่อขบั เคลือ่ นผู้เรียนสูง่ การเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
3. การขับเคล่อื นงานลกู เสอื จิตอาสาพระราชทานในสถานศึกษา

กำรจดั กำรศึกษำ

๑ แนวทำงกำรสอบ O-net คิดอยำ่ งไร หำรอื กับ อว. หรอื ทปอ. บำ้ งหรือไม่

แนวทำงกำรทดสอบกำรศกึ ษำระดบั ชำตขิ ้ันพน้ื ฐำน (O-NET)
สพฐ. มีการประสานความร่วมมือและข้อมูลกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
อย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) สามารถดาเนินการได้อย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ จึงขอสรุป ดงั นี้
1. รูปแบบวิธีกำรทดสอบ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้วยรูปแบบวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
ในปีการศึกษา 2564 กาหนดให้ผู้เรียนเข้าสอบตามความสมัครใจในทุกระดับชั้น โดยมีรูปแบบวิธีการจัดสอบ
2 รปู แบบ ได้แก่

1.1 รปู แบบ Paper-pencil Testing
1.2 รูปแบบ Computer based Testing
2. ลักษณะของขอ้ สอบท่ีใชใ้ นกำรทดสอบ O-NET เปน็ ขอ้ สอบท่ีมีคณุ ภาพได้มาตรฐาน ดังนี้
2.1 ใช้ขอ้ สอบแบบปรนัย (ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่จี ดั สอบ)
2.2 ใชข้ ้อสอบแบบอัตนัย (กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ัน ป.6 และ ม.3)
3. ข้อเสนอในกำรจดั สอบ O-NET
3.1 การดาเนินการจัดสอบ O-NET ตามความสมัครใจ เพราะมีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมิน
ความคิดรวบยอดของผู้เรียนตามหลักสูตรฯ ซ่ึงการทดสอบ O-NET มีความสาคัญในการนาผลการทดสอบไปใช้
การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นและการเรยี นการสอนของครูผู้สอน
3.2 ปรับเปลี่ยนการทดสอบเป็นการสุ่มผู้เรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง แทนประชากรนักเรียนทั้งประเทศ
โดยใช้วธิ ีการกาหนดและเลือกกลุ่มตวั อยา่ งตามหลกั วชิ าการ โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้

แนวทางที่ 1 ทดสอบกับผเู้ รยี นทถี่ กู สมุ่ มาจากสถานศกึ ษา
แนวทางท่ี 2 ทดสอบกบั ผู้เรียนทถี่ ูกสุม่ จากสถานศึกษาและผู้เรยี นที่สมัครใจสอบ
3.3 กาหนดโครงสร้างและรูปแบบลักษณะของข้อสอบที่มุ่งวัดความสามารถและสมรรถนะของ
ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21

๑๐

3.4 เพมิ่ ศูนย์สอบทนี่ าเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการทดสอบผ้เู รยี นให้มากข้นึ
3.5 สอื่ สารสร้างความเข้าใจบุคลากรทกุ ระดับให้มีการนาผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ในการพัฒนา
คณุ ภาพผเู้ รยี นรายบุคคล
4. กำรใช้ผลกำรทดสอบ O-NET สำหรับคัดเลือกบุคคลเข้ำศึกษำต่อในระดับมหำวิทยำลัย
(TCAS65) ขอ ทปอ. สรปุ แนวทางการดาเนินการ ดังน้ี
4.1 สรุปข้อหารือกับ ทปอ. ในการใช้ผลการทดสอบ O-NET มีการยกเลิกการใช้ผลการทดสอบ
O-NET สาหรับการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย (TCAS) ปีการศึกษา 2565 สรุปได้ว่า
ทปอ. ไดย้ กเลิกการใชผ้ ลการทดสอบ O-NET สาหรบั การคัดเลือกฯ
4.2 การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (TCAS) ปีการศึกษา 2565 ทปอ. ใช้คะแนน
ในการคัดเลือก จาก 3 ส่วน ได้แก่ GPAX, การสอบ GAT/PAT และการสอบวชิ าสามญั 9 วิชา
4.3 ทปอ. กาหนดรอบการคดั เลอื กบุคคลเขา้ ศึกษาต่อในระดบั มหาวทิ ยาลัย (TCAS) จานวน 4 รอบ ดงั น้ี

รอบท่ี 1 การคดั เลือกโดยใช้ Portfolio
รอบท่ี 2 การคัดเลอื กโดยใช้ โควตา
รอบที่ 3 การคัดเลือกโดยใช้ Admission
รอบที่ 4 การคดั เลอื กแบบรบั ตรงของแต่ละมหาวิทยาลยั

๒ เสียงสะท้อนจำกผลกำรทใี่ ห้สอบ O-net ตำมควำมสมัครใจ

1. ข้อมลู เบ้ืองต้นเก่ียวกับสัดส่วนจำนวนนักเรียนทเ่ี ขำ้ สอบ O-NET ตำมควำมสมัครใจ

สัดส่วนจานวนร้อยละของผู้เรียนท่ีเข้าสอบ O-NET กับจานวนนักเรียนประชากรทั้งหมด
ในปีการศกึ ษา 2564 สรุปได้ดงั ต่อไปนี้

1.1 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนเข้าสอบตามความสมัครใจ คิดเป็นร้อยละ 56.52
จากจานวนประชากรนกั เรยี นทัง้ หมด (จานวนผู้เรยี นในฐานข้อมลู ของ สพฐ. จานวน 509,953 คน และจานวน
ผเู้ รยี นที่เข้าสอบ จานวน 288,214 คน)

1.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีนักเรียนเข้าสอบตามความสมัครใจ คิดเป็นร้อยละ 40.71
จากจานวนประชากรนกั เรยี นทัง้ หมด (จานวนผู้เรยี นในฐานขอ้ มูลของ สพฐ. จานวน 551,024 คน และจานวน
ผู้เรยี นที่เข้าสอบ จานวน 244,300 คน)

1.3 ระดับช้ันชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจานวนนักเรียนเข้าสอบตามความสมัครใจ คิดเป็นร้อยละ
29.58 จากจานวนประชากรนักเรียนทั้งหมด (จานวนผู้เรียนในฐานข้อมูลของ สพฐ. จานวน 312,081 คน
และจานวนผู้เรยี นท่เี ข้าสอบ จานวน 92,307 คน)

2. เสียงสะท้อนของกำรทดสอบ O-NET ตำมควำมสมคั รใจ

2.1 จากการวิเคราะห์ข้อมูลสัดส่วนจานวนนักเรียนท่ีเข้าสอบ O-NET ตามความสมัครใจ
ปีการศึกษา 2564 สรุปได้ว่า การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจานวนผู้สมัครใจเข้าสอบ อยู่ประมาณร้อยละ 50

๑๑

แสดงให้เห็นว่านักเรียนและผู้ปกครองกลุ่มดังกล่าวยังเห็นความสาคัญของทดสอบ O-NET และต้องการท่ีจะนา
ผลการทดสอบไปใช้ในการสะท้อนความรู้ความสามารถของตนเอง รวมทั้งนาผลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
ตนเองให้เตม็ ตามศักยภาพ

ในส่วนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่มีจานวนผู้ท่ีสมัครใจเข้าสอบประมาณร้อยละ 30
อาจมีสาเหตุเน่ืองมาจากช่วงเวลาในการทดสอบ O-NET อยู่ในช่วงเดียวกับการทดสอบ GAT/PAT และ
การทดสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ท่ีใช้ในการคัดเลือกเข้าเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย ผู้เรียนจึงไม่เข้าร่วม
ในการทดสอบ O-NET ในช่วงเวลาดังกล่าว เพราะมีความวิตกกังวลเก่ียวกับแพร่ระบาดของเช้ือโรคไวรัส
โคโรน่า2019 ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อเข้าสอบในช่วงต่อไป ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบาย
ในการปรับลดการทดสอบ และการประเมินจากหน่วยงานภายนอก เพ่ือลดความเครียดและความกดดันของ
ผู้เรยี น และไม่ได้นาผลการทดสอบไปตดั สนิ ให้คุณใหโ้ ทษ จึงมีประกาศให้ผู้เรียนเขา้ สอบ O-NET ตามความสมคั ร
ใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีไม่ได้ใช้ผลการทดสอบ O-NET ไปใช้ประกอบ
การคัดเลอื กเขา้ เรยี นต่อในระดับอดุ มศกึ ษา (TCAS65) อกี ดว้ ย

2.2 จากการท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานปฏิบัติการภาคสนามตรวจเยี่ยม
ศนู ยส์ อบและสนามสอบในการทดสอบ O-NET และไดเ้ ก็บรวบข้อมลู จากผูเ้ รียนทส่ี มคั รสอบ ผู้ปกครอง ครผู สู้ อน
ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้แทนจากหน่วยงานทางการศึกษา ได้เสียงสะท้อน เกี่ยวกับการทดสอบ
O-NET ตามความสมัครใจ สรุปได้ ดังนี้

1) ผู้ปกครองและผู้เรียนท่ีสมัครใจเข้าสอบจะมีข้อมูลสารสนเทศท่ีสะท้อนความรู้
ความสามารถของตนเองตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงข้อมูลดังกล่าว
นาไปสู่การพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพ ถึงแม้ว่าสถานศึกษาแต่ละแห่งจะมีรูปแบบการจัดการเรียน
การสอนทห่ี ลากหลายออกไปก็ตามสภาพบริบทและสถานการณ์ของแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดต่อฯ

2) ผู้เรียนท่ีไม่ได้เข้าร่วมทาการทดสอบจะมีความกังวลหรือความเครียดเก่ียวกับ
การประเมินคุณภาพผู้เรียนทั้งในระดับช้ันเรียนและระดับชาติลดน้อยลงจากเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ต้องเตรียมตัวสอบทดสอบ GAT/PAT และการทดสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ท่ีใช้ใน
การคดั เลอื กเข้าเรียนต่อในระดบั มหาวทิ ยาลัย

3) สถานศึกษาท่ีไม่มีนักเรียนสมัครใจเข้าสอบ O-NET จะไม่มีข้อมูลสารสนเทศท่ี
สะท้อนคุณภาพผู้เรียนในภาพรวมของสถานศึกษา จากระบบการทดสอบท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐานและเป็นที่
ยอมรบั อยา่ งผลการทดสอบ O-NET

4) ผลการทดสอบ O-NET ท่ีได้จากผู้เรียนท่ีเข้าสอบตามความสมัครใจอาจยัง
ไม่มีความเป็นตัวแทนท่ีดีของจานวนประชากรผู้เรียนท้ังประเทศ ทาให้ผลการทดสอบ O-NET ไม่สามารถเป็น
ตัวชวี้ ัดที่สะทอ้ นคุณภาพในการบรหิ ารจัดการของหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องการศึกษาของประเทศไทย เช่น ตวั ชวี้ ัดที่
สะท้อนเป้าหมายยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายความม่ันคงของมนุษย์
หลังโควิด-19 เปา้ หมายของ SDG และเป้าหมายของ กพร. เปน็ ต้น

๓ สทศ. เตรยี มข้อสอบใหม่เปน็ ฐำนสมรรถนะหรือยัง

กำรเตรยี มข้อสอบและเครอ่ื งมือประเมินเพ่อื รองรับสมรรถนะของผูเ้ รยี น
ที่มา : จากนโยบาย จุดเน้น Big rock ด้านยกระดับคุณภาพ การวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551
(ร่าง) หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (หลกั สูตรฐานสมรรถนะ) และ Active Learning

๑๒

วัตถปุ ระสงค์ : เพอื่ พฒั นาเครื่องมือต่างๆ สาหรับใหบ้ ริการ
เครือ่ งมอื

1. คร่อื งมือประเมนิ ระดับชำติ ไดแ้ ก่
1.1 (RT) ป.1 - อา่ นรู้เรอ่ื ง คา ประโยค ขอ้ ความ
- อา่ นออกเสียง คา ข้อความ

เนน้ การคิดวเิ คราะหจ์ ากสถานการณ์ ใหต้ อบคาถามและใหป้ ฏิบัตดิ ้วยการออกเสยี ง
1.2 (NT) ป.3 ขอ้ สอบวดั ความสามารถพนื้ ฐานด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์

เน้นขอ้ สอบเชงิ สถานการณป์ ระจาวนั เน้นการคิดวเิ คราะห์ อา่ นร้เู ร่ือง และเขยี นสือ่ สารได้
2. เคร่อื งมอื ระดับช้ันเรียน ไดแ้ ก่
2.1 คู่มือการใช้เคร่ืองมือประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ตามหลักสตู รแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ป.6, ม.3, ม.6 จานวน 3 ฉบับ)
2.2 ค่มู อื การใชเ้ ครื่องมือมาตรฐานแบบเขยี นตอบ (Essay Test) ตามหลักสตู รแกนกลางฯ

พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) (ช้ันประถม ชน้ั มัธยมต้น ชน้ั มธั ยมปลาย จานวน 3 ฉบับ)
2.3 คมู่ อื การใช้เคร่ืองมอื ประเมินสมรรถนะหลักของผูเ้ รยี น ตามร่างหลักสตู รการศกึ ษา

ข้นั พ้ืนฐาน (ช่วงช้ันที่ 1, 2, 3, 4 จานวน 4 ฉบบั )
2.4 คู่มือการใช้เคร่ืองมือประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ตามร่างหลักสูตรแกนกลางฯ

พ.ศ.2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) (ชน้ั ป.1 - 3, ป.4 - 6, ม.1 - 3, ม.4 - 6 จานวน 4 ฉบบั )
2.5 คู่มือการใช้เคร่ืองมือวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ และสมรรถนะ

ของผู้เรียน จานวน 12 รูปแบบ ตามร่างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ช้ัน ป.1 - 3, ป.4 - 6, ม.1 - 3, ม. 4 - 6
จานวน 4 ฉบบั )

กำรให้บริกำร : ผ่านระบบคลังเครื่องมือมาตรฐาน (SIBS) ให้แก่สานักงานขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาในสังกัด สพฐ. และต่างสังกัด รวมทั้งสถานศึกษาท่ีทดลองใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศักราช.... ในเขตพ้นื ทน่ี วัตกรรมฯ

๔ กำรประเมินคุณภำพโรงเรียนภำยในและภำยนอกสอดคลอ้ งกันหรอื ไม่ อยำ่ งไร

ความสอดคลอ้ งของการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาและการประเมนิ คุณภาพภายนอก

ประเดน็ พจิ ารณา การประกันคณุ ภาพภายใน การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ความสอดคลอ้ ง
ของสถานศกึ ษา

1. เป้าหมายในการ ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 3 ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป้าหมายการพัฒนา/การประเมิน

พฒั นา/การประเมิน มาตรฐาน รวม 21 ประเด็น พิจารณาเป็น จานวน 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน มีควำ ม สอดคล้อง กัน ระ ห ว่า ง

กรอบในการพัฒนา ประกอบด้วย มาตรฐาน คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานกระบวนการ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานกระบวนการบริหาร บริหารและการจัดการ และมาตรฐาน และมาตรฐานสาหรับการประเมิน

และจัดการ และมาตรฐานการจัดการเรียน การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน คุณภ าพ ภา ยนอก โดยใช้ก รอ บ

การสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั เป็นสาคัญ โดยกาหนดเป็น 15 ตัวบ่งช้ี มา ตรฐา นก ารศึก ษา ขั้นพื้นฐา น

เป็นกรอบในการประเมิน จานวน 3 มาตรฐาน

2. 2. หลกั เกณฑ์ ยึดหลักเกณฑ์การดาเนินงานตามกฎกระทรวง 1) ยึดหลักเกณฑ์การดาเนินงานตาม ห ลัก เก ณฑ์แ ละ ก า รดา เนินงา น

3. การดาเนินงาน การประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวงการประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพภายในและการ

1) กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ การศึกษา พ.ศ. 2561 โดยดาเนินการ ประเมินคุณภาพภายนอก มีควำม

สถานศกึ ษา ประเมินผลและติดตามตรวจสอบ สอดคล้องกัน ยึดหลักเกณฑ์การ

๑๓

ประเด็นพจิ ารณา การประกันคณุ ภาพภายใน การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ความสอดคล้อง
ของสถานศึกษา
3. วธิ กี ารและรูปแบบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ ด า เ นิ น ง า น ต า ม ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร
การประเมนิ 2) จดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา สถานศกึ ษา ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.
3) ดาเนนิ การตามแผนทีก่ าหนดไว้ 2) ดาเนินงานจัดส่งรายงานผลการ 2561 โดยสถานศึกษาพัฒนาระบบ
4. เกณฑ์การตดั สนิ 4) มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพ ประเมินและการติดตาม ตรวจสอบ การประกันคุณภาพภายในและ ได้รับ
คณุ ภาพสถานศกึ ษา พร้อมข้อเสนอแนะให้แกส่ ถานศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และ
ภายในสถานศึกษา และหนว่ ยงานตน้ สังกัด มาตรฐานการศึกษา จากหน่วยงาน
5) สง่ รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ภายนอก
1) ประเมินตามความพร้อมของ
ให้แกห่ น่วยงานต้นสงั กดั ทุกปี สถานศกึ ษา 1) วิธีการและรูปแบบการเมินการ
2) ยึดหลักประเมินแบบองค์รวม ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น แ ล ะ ก า ร
1) สถานศึกษาประเมินตนเองอย่างน้อย ( Holistic assessment) ใ ช้ ก า ร ประเมินคุณภาพภายนอก มีควำม
ปีละ 1 คร้ัง แล้วทา SAR ประเมินเชิงคุณภาพ ใช้หลักการ สอดคล้องกัน โดยยึดหลักประเมิน
ประเมินและตัดดสินคุณภาพ โดย แบบองคร์ วม (Holistic assessment)
2) ยึดหลักประเมินแบบองค์รวม (Holistic อาศัยความเชี่ยวชาญ ประเมินจาก ใชก้ ารประเมนิ เชิงคณุ ภาพใช้หลักการ
assessment) ใช้การประเมนิ เชงิ คุณภาพ หลักฐานเชิงประจักษ์ และลดภาระ ประเมิน และตัดสินคุณภาพ โดย
ใช้หลักการประเมินและตัดสินคุณภาพ ต่างๆ จากการปรเมนิ อาศัยความเชี่ยวชาญ ประเมินจาก
โดยอาศัยความเชี่ยวชาญ ประเมินจาก 3) แบ่งการประเมิน 2 ระยะ หลักฐานเชิงประจักษ์ และลดภาระ
หลักฐานเชิงประจักษ์ และลดภาระต่างๆ ต่างๆ จากการประเมิน
จากการประเมิน ร ะ ย ะ ท่ี 1 ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ 2) ระยะเวลาการประเมินคุณภาพ
วิเคราะหจ์ าก SAR ภายใน มีการประเมินอย่างน้อยปีละ
1) ตัดสินคุณภาพสถานศึกษาออกเป็น 5 1 คร้ังส่วนการประเมินคุณภาพ
ระดับ คือ กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ระยะท่ี 2 ลงพ้ืนท่ีตรวจเยี่ยม ภายนอกประเมินอย่างนอ้ ย 1 ครั้งใน
และยอดเยยี่ ม (Site visit) ห รื อ ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง ทุก 5 ปี ซึ่งแบ่งการประเมินออกเป็น
2) มีการตัดสินคุณภาพสถานศึกษา จาแนกเป็น อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2 ระยะ(ประเมินจาก SAR และ
รายมาตรฐาน 3 มาตรฐาน และภาพรวมของ ประเมนิ จากการลงพืน้ ทีต่ รวจเย่ยี ม)
สถานศึกษา 1) ตัดสินคุณภาพสถานศึกษาโดย
จาแนกระยะการประเมิน 1) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของ
สถานศึกษาจากการประกันคุณภาพ
ร ะ ย ะ ที่ 1 ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ภายในของสถานศึกษา ประเมิน
วิเคราะห์จาก SAR มีคณุ ภาพ 3 ระดบั คุณภาพภายนอก ไม่สอดคล้องกัน
คือ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี โดยการตัดสนิ คณุ ภาพของการประกนั
คณุ ภาพภายใน 5 ระดับ (กาลงั พัฒนา
ระยะท่ี 2 ลงพ้ืนที่ตรวจเย่ียม ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ียม) ส่วน
( Site visit) ห รื อ ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง การตัดสินคุณภาพ สถานศึกษาจาก
อเิ ล็กทรอนิกส์ มีคุณภาพ 5 ระดบั คือ การประเมินคุณภาพภายนอก แบ่ง
ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก และดเี ยย่ี ม ตามระยะการประเมนิ คอื
2) มีการตัดสินคุณภาพสถานศึกษา
เ ป็ น ร า ย ม า ต ร ฐ า น จ า น ว น 3 ระยะท่ี 1 ประเมินจาก SAR
มาตรฐาน มีจานวน 3 ระดบั
(ปรบั ปรุง พอใช้ ดี)

ระยะท่ี 2 ประเมินจากการลงพ้นื ที่
ตรวจเย่ียมฯ มี 5 ระดับ (ปรับปรุง
พอใช้ ดี ดมี าก ดีเยี่ยม)
2) การตัดสินคุณภาพสถานศึกษาของ
การประกันคุณภาพภายใน จาแนกเป็น
รายมาตรฐานและภาพรวมของ
สถานศึกษา ส่วนการตัดสินคุณภาพ
สถานศึกษาของการประเมินคุณภาพ
ภายนอก จาแนกเป็นรายมาตรฐาน
แต่ไม่ตัดสินคุณภาพเป็นภาพรวมของ
สถานศึกษา

๑๔

ประเด็นพิจารณา การประกนั คณุ ภาพภายใน การประเมินคณุ ภาพภายนอก ความสอดคลอ้ ง
ของสถานศึกษา
5. การนาผลการ 1) ใช้ผลการประเมินคุณภาพเพื่อ การนาผลการประกันคุณภาพภายใน
ประกนั และผลการ 1) ใช้ผลการประกนั คณุ ภาพเพื่อปรับปรุงและ ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ของสถานศึกษาและผลการประเมิน
ประเมนิ ไปใช้ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า การศึกษาของสถานศึกษาให้สูงขึ้นใน คุ ณภ า พ ภ า ย นอ ก ไป ใช้ มี ค ว ำ ม
ใหส้ ูงขน้ึ ในปีการศกึ ษาถดั ไป ปีการศกึ ษาถัดไป สอดคลอ้ งกนั
2) ไมม่ ุ่งเน้นนาผลการประกนั คุณภาพไปใชใ้ น 2) นาผลการประเมินคุณภาพมา - เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
การตัดสินให้คุณ ให้โทษ หรือจัดอันดับ หรือ จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับ การศึกษาของสถานศึกษาให้สูงขึ้นในปี
เลื่อนวทิ ยฐานะ สถานศึกษาและหนว่ ยงานต้นสังกดั การศึกษาถัดไป ไม่มุ่งเน้นนาผลการ
ประกันคุณภาพไปใช้ในการตัดสินให้
คุณ ให้โทษ หรือจัดอันดับ หรือเล่ือน
วิทยฐานะ
- จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับ
สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด

๕ กำรแก้ปญั หำเด็กท่ีบกพร่องทำงกำรเรยี นรู้

ประเภทควำมพกิ ำร จำนวน รอ้ ยละ แปลผล
(คน)
บกพร่องทางการเหน็
บกพร่องทางการได้ยิน 1,712 0.41
บกพร่องทางสตปิ ัญญา
บกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหวหรอื สุขภาพ 1,335 0.32 น้อยท่สี ุด
บกพร่องทางการเรยี นรู้
บกพร่องทางการพูดและภาษา 19,982 4.81 มากเปน็ ลาดับ 2
บกพร่องทางพฤตกิ รรม/อารมณ์
ออทสิ ตกิ 6,260 1.51
พกิ ารซ้อน
362,897 87.29 จานวนมากทส่ี ดุ
รวม
2,582 0.62

6,379 1.53

6,268 1.51

8,324 2.00

415,739 100
ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2564

๑๕

ปญั หำกำรจัดกำรเรียนรวมทผ่ี ่ำนมำ
1. การดาเนินการคดั กรองไมเ่ ปน็ ไปตามแนวทางท่ีกาหนดไว้
2. ในช่วงก่อนได้รับการวินิจฉัยว่ามีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ผู้เรียนไม่ได้รับการเฝ้าระวัง

และชว่ ยเหลอื ทางการเรยี น
3. ขาดการบรู ณาการความรว่ มมือจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่

กำรดำเนนิ งำนในปจั จบุ นั
1. สนับสนุนส่ิงอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา

(บญั ชี ก ข และ ค) ให้กบั เดก็ พิการเรียนรวม 149,167 คน วงเงนิ งบประมาณ 200 ลา้ นบาท
2. สนับสนุนพี่เล้ียงเด็กพิการปฏิบัติงานในห้องเรียนคู่ขนานสาหรับบุคคลออทิสติก จานวน

8,559 อัตรา วงเงิน 959,094,000 บาท
3. สนับสนุนครูประจาห้องเรียนคู่ขนานสาหรับบุคคลออทิสติก และจ้างครูอัตราจ้าง

ปงี บประมาณละ 21,357,000 บาท

แนวทำงกำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรจัดกำรเรยี นรวม

ระยะที่ 1 ระยะเรง่ ดว่ น (เม.ย. - ก.ย. 65)
1. สถานศึกษารับมอบนโยบาย ปีการศึกษา 2565 "ปีแห่งการขับเคลื่อนวิถีคุณภาพ
การจดั การศกึ ษาเรียนรวม"
2. สานักงานเขตพ้ืนที่แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพ
การจัดการเรียนรวม
3. ประชุมสร้างความเข้าใจแกบ่ คุ ลาการทเ่ี กยี่ วข้องก่อนเปดิ ภาคเรยี น
4. สานักงานเขตพื้นท่ีค้นหาและสนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อมและสมัครใจพัฒนา
เป็น "โรงเรียนการเรยี นรวมคุณภาพ"
ระยะท่ี 2 ระยะตอ่ เนื่อง (ปีงบประมาณ 2565 -2568)
1. พฒั นาวิทยากรแกนนา "หลกั สูตรผู้ดาเนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา"
2. เขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขตขยายผลการอบรม "หลักสูตรผู้ดาเนินการคัดกรองคนพิการ
ทางการศึกษา"
3. อบรมพเี่ ลี้ยงเด็กพิการในโรงเรียนท่จี ัดการศึกษาเรียนรวม/ศนู ย์การศึกษาพิเศษ

๑๖

๖ กำรแกป้ ญั หำเดก็ อำ่ นไม่ออกเขยี นไม่ได้ มแี นวทำงดำเนนิ กำรตอ่ ไปอยำ่ งไร

การดาเนินการเพือ่ แก้ปัญหาเด็กอา่ นไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ ดังน้ี
1. ประกาศนโยบายเร่งรัดพัฒนาการอ่านและการเขียน ภายใต้นโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้
ทุกคน” เพื่อกระตุ้นให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาให้ความสาคัญในการดาเนินการพัฒนา
การอา่ นการเขยี นของนกั เรยี น
2. จัดส่งแบบสารวจข้อมูลจานวนนักเรียนท่ีมีอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ โดยให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รายงานผ่านระบบการติดตามทางอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบันภาษาไทย ภายในวันท่ี 13 พฤษภาคม 2565
ซึ่งจะวเิ คราะห์ข้อมูลนาเสนอได้ภายในวันท่ี 18 พฤษภาคม 2565 ทั้งน้ี มีการเผยแพร่องค์ความรเู้ พอ่ื พฒั นานักเรียน
ที่มีปัญหาอ่านไม่ออกเขียนได้ โดยสามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซต์สถาบันภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐาน
การศกึ ษา อาทิ

- แบบฝึกออกเสียง เพอื่ แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการออกเสียงภาษาไทย
- หนงั สอื แนวทางการสอนซ่อมเสรมิ การอา่ นและการเขยี น โดยเปน็ ชดุ สาหรับซ่อมเสรมิ การอ่านการ
เขยี นของนักเรยี น
- หนงั สือ ก ไก่ สวัสดี
- หนงั สือสระเสียงใส
- หนงั สอื ภาษาน่าเรยี นรู้
- คู่มือการสอนอ่านเขียนโดยการแจกลกู สะกดคา
3. ขอความร่วมมือสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/สถานศึกษา คัดกรองความสามารถในการอ่านและ
การเขียนของนักเรียน โดยมีการบริการเคร่ืองมือให้กับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จากนั้นนาข้อมูลจากการ
คัดกรองไปใช้ในการวางแผนพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสมกับบริบทของช้ันเรียน เช่น
การสอนซอ่ มเสริม เปน็ ตน้
4. การแลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน
ภาษาไทย (ผา่ นทางเอกสาร เวบ็ ไซต์ เฟซบกุ๊ ไลน)์ โดยขณะนสี้ ถาบันภาษาไทย สวก. มชี ่องทางการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้แล ะ เผ ยแพร่ผ ล งานท่ีปร ะส บคว าม ส าเร็จใน การจัดกา รเรียนก า รส อนภ าษ าไทย ผ่ าน ทาง เฟซบุ๊ ก
สถาบันภาษาไทย สวก. และกลุ่มไลน์ศึกษานิเทศกภ์ าษาไทย ทุกเขต

๑๗

2) กำรพัฒนำครู

กำรพฒั นำครู

แนวทำงกำรพฒั นำ ปัญหำและอปุ สรรค แนวทำงกำร
Up skill - Re skill
• กาหนดเป็นนโยบาย • สถานการณ์โควิด-19 สร้ำง New skill
• ความรูค้ วามเข้าใจ
• Up skill : พัฒนาทักษะ
หลกั สตู รแกนกลาง 2551 • Re skill : ทบทวน
(ฉ.ปรบั ปรุง 2560)
• การผลติ และพฒั นาครู เพ่ือพฒั นา
เพื่อพฒั นาท้องถน่ิ • New skill: สร้างทักษะใหม่

๑ แนวทำงกำรพัฒนำครู ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน เปน็ อยำ่ งไร

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ประกาศจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกาศ ณ วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2565 จานวน

9 จุดเน้น โดยจุดเน้นที่ 5 กล่าวถึงการจัดการอบรมครูโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐาน ควบคู่กับการให้ความรู้ด้านการ

วางแผนและการสรา้ งวนิ ยั ด้านการเงนิ และการออม เพอื่ แกไ้ ขปญั หาหนสี้ ินครู

 แนวทำงกำรพัฒนำ

1. พัฒนำครูให้มีควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ เร่ือง หลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน
พทุ ธศักรำช 2551 และมำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

1.1 ศึกษานิเทศก์ หรือครูผู้สอน ที่รับผิดชอบด้านหลักสูตร คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน 1,000 คน ได้รับการพัฒนา มีความรู้ความเข้าใจ เร่ือง การนามาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปสู่การปฏบิ ัติ และถ่ายทอดให้กับบุคลากรเขตพื้นท่ีและสถานศึกษาได้มีความรู้
ในเร่ืองการบริหารจดั การหลกั สูตร การวดั และประเมนิ ผล

1.2 ผู้แทนจากหน่วยงานอื่นที่มีสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสังกัด หน่วยงานละ ๔ คน
จากกรมการส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร กองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานักงานพระพุทธศาสนา (ร.ร.พระปริยัติธรรม)
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. และศูนย์บริหารโครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย สพฐ.
จานวน ๑,๐๐๐ คน ได้รับการพัฒนา มีความรู้ความเข้าใจ เร่ือง การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ และถา่ ยทอดให้กบั บุคลากรในสงั กดั

๑๘

1.3 เผยแพร่เอกสารหลักสูตร เอกสารประกอบหลักสูตร ประกาศ คาส่ัง ข้อมูล
ความเคล่ือนไหวเก่ยี วกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ในเวบ็ ไซต์สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

แผนการดาเนินงานระยะต่อไป
สร้างความรูค้ วามเข้าใจ เรื่อง หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
1. การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สกู่ ารปฏิบตั ิ
2. จัดทาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
3. ประกาศ คาส่ัง ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด การ
ปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรยี น ตามหลักสูตรฯ 51 และการบริหารจดั การเวลาเรยี นของสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน

2. กำรผลิตและพัฒนำครูเพ่ือพัฒนำท้องถ่ิน
ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2559 – 2564 มีนักศึกษาทุนโครงการผลิตครูเพอื่ พัฒนาท้องถิ่น ได้รับการ

บรรจุเป็นครูผู้ช่วยจานวน 17,166 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 1 พ.ค. 2565) โดยนักศึกษาทุนที่ได้รับการบรรจุ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จะติดตามและพัฒนาร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา
ในพ้ืนทีโ่ ดยงบประมาณของ อว.

แผนรองรับการบรรจนุ ักศกึ ษาทุนฯ
ปี 2565 ตาแหนง่ วา่ งรองรบั การบรรจุ 4,574 อัตรา
ปี 2566 ตาแหน่งว่างรองรบั การบรรจุ 4,091 อตั รา
ปี 2567 ตาแหนง่ ว่างรองรับการบรรจุ 3,555 อัตรา
ปี 2568 ตาแหน่งว่างรองรบั การบรรจุ 2,959 อตั รา

3. กำรพัฒนำทักษะครูของศูนย์พัฒนำศักยภำพบคุ คลเพ่ือควำมเป็นเลศิ
3.1 ภาษาอังกฤษ ตามกรอบ CEFR
ครเู ข้ารบั การพฒั นา/สอบวดั ระดบั ความสามารถ จานวน 20,000 คน
3.2 ภาษาจนี สาหรับครูผสู้ อนภาษาจีน (HSK)
3.2.1 การอบรมให้กับครูสอนภาษาจีนชาวไทย จานวน 1,400 คน

โดยกระทรวงศึกษาธิการไทย และศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ และ
มหาวิทยาลัยภาษาปักกิ่ง และศนู ย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือดา้ นภาษาจนี ระหว่างประเทศ สานักงาน
กรงุ เทพฯ

3.2.2 การอบรมภาษาจนี สาหรบั บุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธิการไทย จานวน
38 คน โดยมหาวทิ ยาลยั ภาษาและวฒั นธรรมปักก่งิ สานกั งานกรุงเทพฯ

3.2.3 อบรมภาษาจีนเพ่ือพัฒนาบุคลากรจีนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
จานวน 400 คน โดยสถาบันขงจื่อแหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

3.3 การพฒั นาสมรรถนะทางดา้ นดจิ ิทลั (Digital Literacy) สาหรบั ผเู้ รยี น ผูบ้ รหิ าร
สถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

3.3.1 ระดับพ้ืนฐาน ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่น้อยกว่า
10,000 คน

๑๙

3.3.2 ขยายผลพฒั นา โดยใหศ้ นู ย์ HCEC 185 ศนู ย์ ร่วมกบั ครแู กนนา
อบรมบุคลากรทางการศึกษา นกั เรยี น และประชาชนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ของประเทศ จานวน 20,000 คน

3.3.3 พัฒนาครแู กนนา จานวน 1,850 คน ศูนย์ละ 10 คน
3.4 พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนรูปแบบเชิงรุก ( Active Learning)
เพื่อให้วิทยากรแกนนาสามารถพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยกระบวนการการจัดการเรียนรู้ Active
Learning แบบ Fundamental AL Training และเพ่ือขับเคล่ือนขยายผลการพัฒนาระดับพื้นที่โดยใช้เขต
ตรวจราชการ (คลัสเตอร์) เป็นฐานในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ในการจัด
การเรยี นการสอน Active Learning แบบ Fundamental AL Training

ผลการดาเนินงาน
1) จัดทา (ร่าง) คู่มือพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก( Active Learning)
สู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมตัวอย่าง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ท่ีเน้นให้เกิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (การสื่อสาร การคิด
การแกป้ ญั หา การใช้ทักษะชีวิต และการใชเ้ ทคโนโลย)ี
2) พัฒนา (ร่าง) กิจกรรม/ ส่ือ เพ่ือพัฒนาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
(Learning Loss) ของผู้เรียน ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
โดยออกแบบใหผ้ ู้เรียนสามารถศึกษา เรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง
แผนดาเนนิ งานระยะต่อไป
1) พัฒนาคลิปวีดิทัศน์ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning ) สาหรับครู
2) เผยแพร่คมู่ อื และใหค้ วามรคู้ รู ใหส้ ามารถจดั การเรียนรู้เชิงรกุ (Active
Learning) สู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ตามตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ผา่ นทาง online และ offline
3) ส่งเสริม/สนับสนุน ครูแนะแนวหรือครูประจาช้ัน ในการซ่อมเสริม
เติมเต็มความรู้ ทักษะทางสังคม ทักษะการเรียนรู้ และทักษะ ด้านอื่น ๆ โดยให้ตัวอย่างส่ือ/กิจกรรมที่ผู้เรียน
เข้าถึงได้ ศึกษา เรียนรู้ และทาได้เอง เพื่อพัฒนาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของผู้เรียน
ผ่านการใชแ้ อพพลิเคช่ัน tiktok youtube kahoot และ handbook ฯลฯ
4) สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ครอบคลุม 77 จังหวัด เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผ่าน Online / Offline คัดเลือกสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษาต้นแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active
Learning) และพฒั นา Learning Loss
5) นิเทศ กากับ ติดตาม และสะท้อนผลการดาเนนิ งาน (สว่ นกลาง /เขตพ้ืนที่
การศกึ ษา)
6) ประชาสมั พนั ธ์ความสาเร็จของโครงการ ผ่านส่อื สงั คมออนไลน์

๒๐
3.5 อบรมตามหลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด มีครผู ่านการอบรม จานวน 481,619 คน

๒ มีปญั หำและอุปสรรคอะไร

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควดิ 19
1. การเรียนการสอนท่ีต้องดาเนินต่อไป นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา

จึงจาต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาตนเองให้เกิดการเรียนการสอน การเรียนรู้ที่เท่าทันกับโลกในยุคของการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว (VUCA World) ของเทคโนโลยี การแข่งขัน สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เศรษฐกิจ
ทัง้ ภายในและภายนอก

2. ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนของครู และการเรียนรู้พัฒนาทักษะต่าง ๆ ของนักเรียน
ไม่ได้ถูกผูกขาดแต่ในห้องเรียนอีกต่อไป ครูต้องนาเทคโนโลยีมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน แต่สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควดิ 19 ทาใหค้ รจู านวนมากขาดการพฒั นาทักษะท่ีจาเปน็

3. ความเหลื่อมล้าในแต่ละพื้นท่ียังมีอยู่มาก ส่งผลให้นักเรียนเข้าถึงการศึกษาท่ีลดลง
ความไม่พร้อมในการเรียนของผู้เรยี น และเกดิ ภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ (Learning Loss)

4. การนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ มาปรับใช้บูรณาการร่วมกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ทาให้ครูต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอน ต้องมีการ
ปรับวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยนาวิธีการเรียนแบบ Active Learning เข้ามาใช้ให้มากท่ีสุด แล้วให้ครูและ
นักเรียนช่วยกันคิดออกมาเป็นนวัตกรรม ทาให้ครูต้องปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนจากเดิม คือ
“ผูส้ อน” ปรบั เปลยี่ นใหมโ่ ดยพฒั นาครใู หเ้ ป็น “โคช้ ” ซ่ึงครูจานวนมากยังตดิ การเรียนการสอนในรปู แบบเดิม

๒๑

๓ แนวทำงกำร Up skill - Re skill และสรำ้ ง New skill ใหค้ รูเปน็ อยำ่ งไร

4.1 แนวทำงกำร Up Skill
พฒั นาทักษะของครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทางดา้ นภาษาองั กฤษ ภาษาจีน และทกั ษะด้าน

เทคโนโลยีดจิ ิทลั

ทักษะ ระดบั ปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษา
 
พัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ  A2 B1

ตามกรอบCEFR A2  
พืน้ ฐาน DC1-DC3 SHK4
พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ า จี น

ตามกรอบ SHK พนื้ ฐาน DC1-DC3

พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ด้ า น ดิ จิ ทั ล 

ตามกรอบสมรรถนะ DC1-DC7 พ้นื ฐาน DC1-DC3

4.2 แนวทำงกำร Re skill
พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ Active Learning รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ในพื้นท่ี
 ระดับก่อนประถมศกึ ษา พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ในหอ้ งเรียนปฐมวยั
 ระดับประถมศกึ ษา พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการสาระการเรียนรู้
 ระดบั มัธยมศกึ ษา พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการตามรายวชิ า

4.3 แนวทำงกำรสร้ำง New Skill
สร้างทักษะใหมข่ องครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ด้านต่าง ๆ ดงั น้ี
4.3.1 Data Science คอื ศาสตรแ์ หง่ การเก็บรวบรวม จดั การ วเิ คราะห์ และเปลี่ยนแปลงข้อมูล

อนั มหาศาล ไปส่คู วามรูอ้ นั มีคณุ คา่ ที่สามารถนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้อยา่ งมากมาย
4.3.2 Design Thinking คอื กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ
4.3.3 Financial Literacy คือ ความรูเ้ รอื่ งทางด้านการเงนิ
4.3.4 Soft Skill คอื ความฉลาดทางอารมณ์ ทกั ษะการสือ่ สาร ทักษะการพูดโนม้ น้าวใจ ทกั ษะ

การฟงั ทกั ษะการบรหิ ารคน ภาวะผูน้ า การปรับตวั ความเห็นอกเหน็ ใจผู้อื่น ทักษะการทางานเปน็ ทมี
4.3.5 ทักษะการอยรู่ ่วมกนั ในอนาคต
ท้ังน้ี ครู และบุคลากรทางการศึกษา ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับ

มัธยมศกึ ษาต้องไดร้ บั การพัฒนาตามความสนใจ

๒๒

3) กำรพัฒนำโรงเรียน

กำรพัฒนำโรงเรยี น

ข้อมูลพืน้ ฐำน ปญั หำและอุปสรรค แนวทำงกำร
ในกำรพฒั นำ พัฒนำโรงเรยี น
• ขอ้ มลู โรงเรียน
• ข้อมลู นักเรยี น • ด้านครูและบุคลากร • โรงเรยี นคุณภาพ
• ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษา • โรงเรยี น Stand Alone
• โรงเรียนวัตถุประสงค์
ทางการศึกษา • ดา้ นการเรียนการสอน
• ดา้ นการบริหารจัดการ พเิ ศษ
• ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม • โรงเรียนขนาดเลก็
• โรงเรียนคอนเน็กซ์อดี ี
ในการจัดการศกึ ษา
(Connext ED)
• โรงเรยี นร่วมพฒั นา

(Partnership School
Project)

การแกป้ ัญหาโรงเรยี นที่ขาดแคลนครู
และบุคลากรทางการศึกษา

๑ ขอ้ มลู พน้ื ฐำน

 ข้อมูลโรงเรียน
สพฐ. มีโรงเรียนในสังกัด จานวน 29,583 แห่ง และเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียน

จานวนตั้งแต่ 120 คนลงมา จานวน 14,958 โรง (ข้อมลู ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564)
ตารางที่ 1 ขนาดโรงเรยี น

ขนำดโรงเรยี น จำนวนนกั เรียน จำนวนโรงเรยี น รอ้ ยละ
286 0.97
0 คน 782 2.64
2,065 6.98
1- 20 คน 3,578 12.09
3,382 11.43
ขนาดท่ี 1 21 - 40 คน 2,821 9.54
(โรงเรยี นขนาดเล็ก) 41 - 60 คน 2,044 6.91
61 - 80 คน 50.56
14,958
81 - 100 คน

101 - 120 คน

รวม

๒๓

ขนำดโรงเรยี น จำนวนนักเรียน จำนวนโรงเรียน ร้อยละ
7,000 23.66
ขนาดท่ี 2 121 - 200 คน 3,300 11.16
1,961 6.63
ขนาดท่ี 3 201 - 300 คน 1,673 5.66
408 1.38
ขนาดท่ี 4 301 - 499 คน 283 0.96
29,583 100.00
ขนาดท่ี 5 500 - 1,499 คน

ขนาดที่ 6 1500 - 2,499 คน

ขนาดท่ี 7 ตง้ั แต่ 2,500 คนขนึ้ ไป

รวมท้ังสิน้

ตารางที่ 2 ประเภทโรงเรยี น

ประเภทโรงเรียน

ประถม สำมญั สงเครำะห์ พเิ ศษ ศูนย์กำรศกึ ษำพเิ ศษ รวม
83 29,583
27,040 2,360 52 48

 ขอ้ มูลนักเรยี น

สพฐ. มีนักเรียนท้ังส้ิน จานวน 6,608,162 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564)

จาแนกตามระดับการศึกษา ดังน้ี

- ระดับก่อนประถมศึกษา จานวน 872,161 คน

- ระดับประถมศึกษา จานวน 3,036,882 คน

- ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 1,688,270 คน

- ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 1,010,849 คน

 ข้อมลู ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

สพฐ. มีบุคลากรโรงเรียน จานวน 523,315 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 21 ธันวาคม พ.ศ. 2564)

ประกอบด้วย

- ผอู้ านวยการสถานศึกษา จานวน 23,455 คน
- รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา จานวน 5,200 คน
- ข้าราชการครู จานวน 331,202 คน
- พนกั งานราชการ (คร)ู จานวน 17,858 คน
- ลูกจ้างชวั่ คราว (คร)ู จานวน 25,180 คน
- เจา้ หน้าธรุ การ จานวน 5,761 คน
- ลกู จ้างประจา จานวน 10,975 คน
- อ่ืนๆ เช่น ภารโรง แมบ่ ้าน จานวน 59,602 คน
- ตาแหนง่ ว่าง จานวน 44,082 คน

๒๔

๒ ปญั หำและอุปสรรคในกำรพฒั นำโรงเรียน

2.1 ด้ำนครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
- ขาดแคลนผู้อานวยการโรงเรยี น
- จานวนครไู ม่ครบชน้ั ไมค่ รบตามรายวิชาเอก
- ครูขาดทกั ษะในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในสภาพท่ีครูไม่ครบชัน้
- ครสู อนไมเ่ ต็มเวลาเต็มความสามารถ

2.2 ด้ำนกำรเรยี นกำรสอน
- หลักสตู รและแผนการจัดการเรียนรู้ไม่สอดคล้องกบั บริบทของโรงเรียน
- สอ่ื การเรียนการสอน อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และแหลง่ เรยี นรู้มีอยอู่ ยา่ งจากดั
- ส่ือเทคโนโลยีและการส่ือสารยงั ไมค่ รอบคลมุ เพียงพอต่อการใช้งาน

2.3 ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำร
- ประชากรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ทาให้ขนาดของโรงเรียนปรับเปล่ียนเป็นโรงเรียน

ขนาดเลก็ เพ่ิมมากขน้ึ
- อัตราการเกิดของประชากรท่ีลดลง ทาให้มีจานวนนักเรียนน้อยในแต่ละชั้น ส่งผลให้เกิด

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานของโรงเรียนเป็นอย่างยิ่งอัตราส่วนครูต่อนักเรียนและนักเรียนต่อห้องเรียน
ตา่ กว่ามาตรฐาน

- การอพยพเคลือ่ นยา้ ยของประชากรวัยเรยี นทีย่ ้ายตดิ ตามผู้ปกครองไปรบั จา้ งทางานต่างถ่นิ
- โรงเรียนขนาดเล็กจานวนหน่ึงอยู่ในพ้ืนทล่ี ักษณะพิเศษ อยู่ในพ้ืนท่ีหา่ งไกล อยู่บนภูเขาสูงบน
เกาะ ทาให้นกั เรียนมปี ญั หาในการเดนิ ทาง
- คา่ ใช้จ่ายตอ่ นกั เรยี น 1 คน ของโรงเรียนขนาดเล็กสูงกว่าโรงเรียนขนาดอ่นื
2.4 ดำ้ นกำรมีสว่ นรว่ มในกำรจัดกำรศกึ ษำ
โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่อยู่ในชุมชนขนาดเล็ก ประชากรมีฐานะยากจน ทาให้ไม่มีศักยภาพ
ในการระดมทรพั ยากร เพือ่ นามาช่วยสนับสนนุ การจดั การศึกษาให้กบั โรงเรยี น

๒๕

๓ แนวทำงกำรพฒั นำโรงเรียน

กลุ่มโรงเรยี น จำนวนโรงเรยี น ผลกำรดำเนนิ กำรทผ่ี ำ่ นมำ สงิ่ ท่ีจะทำต่อไป
349 โรง
- โรงเรยี นคุณภาพ 1) สร้างความรคู้ วามเข้าใจในการ 1) สนับสนุนค่าพาหนะรับ - ส่ง
- โรงเรียน Stand
Alone ตาเนินงานโครงการ เป้าหมาย นักเรียนให้กับโรงเรียนที่จะมา
- โรงเรยี นวตั ถปุ ระสงค์
พิเศษ เชน่ โรงเรยี นใน วัตถุประสงค์และใหส้ านักงานเขต เรยี นรวมกบั โรงเรยี นคณุ ภาพ
โครงการพระราชดาริ
พ้ืนที่การศึกษาและโรงเรียนจัด 2) สนับสนุนงบประมาณสาหรับ

แผนการดาเนนิ งานระดับจังหวัด จัดทาโครงการสร้างความเข้าใจ

2) โรงเรียนดาเนินการพัฒนา เก่ียวกับโรงเรียนคุณภาพให้กับ

โ ร ง เ รี ย น ต า ม น โ ย บ า ย แ ล ะ ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพและ

8 จุดเน้น ไต้แก่ ความปลอดภัย โรงเรียนเครือข่าย ผู้ปกครอง

ของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ ชุมชน และหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

การเรียนการสอนการนิเทศกากับ 3) สนับสนุนงบประมาณ สาหรับ

และติดตาม ระบบประกันคุณภาพ โครงการพัฒนาตามนโยบาย

การพัฒนาครู การวัดและประเมินผล 8 จดุ เนน้ ให้กบั โรงเรยี นคณุ ภาพ
และ Big Data
4) สนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน
3) จัดสรรงบประมาณปี พ.ศ. คุณภาพ ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้
2 5 6 4 - 2 5 6 5 ง บ ล ง ทุ น เพ่ือให้โรงเรียนเครือข่ายมาใช้
ค่าครุภัณฑ์ ท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง ทรพั ยากรรว่ มกัน
สาหรับโรงเรียนคุณภาพ จานวน 5) จัดทาแผนขับเคล่ือนโครงการ
226 โรง
โรงเรียนคุณภาพ ประกอบด้วย
4) สร้างต้นแบบการพัฒนา แผนการบรหิ ารจดั การ
โรงเรียนคุณภาพ “สระแก้ว 6) จัดสรรครูภาษาอังกฤษ จีน
โมเดล" เพ่อื เป็นต้นแบบ
ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น คุ ณ ภ า พ เ พ่ิ ม เ ติ ม
ในการดาเนินงานให้กับโรงเรียน สาหรับโรงเรียนที่มีโรงเรียน
ในโครงการ
มาเรียนรวม
5 ) จั ด ส ร ร ค รู ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ 7) จัดสรรงบประมาณปี พ.ศ.
270 คน ให้กับโรงเรียนคุณภาพ 2 5 6 5 - 2 5 6 6 ง บ ล ง ทุ น
จานวน 173 โรงเรยี น
ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง
6) จัดสรรครูภาษาจีน 109 คน เพ่ิมเติม ให้กับสาหรับโรงเรียน
ให้กับโรงเรียนคุณภาพ จานวน คุณภาพที่ยังไม่ได้รับงบประมาณ
109 โรงเรยี น
จานวน 123 โรง และตั้งเป้าหมาย
7) คณะกรรมการข้าราชการครู ว่าจะต้องจัดสรรให้ครบทุกโรง
และบุคลากรทางการศึกษา 349 โรง ภายในปี 2568
เห็นชอบ (ร่าง) หลักเกณฑ์และ 8) วางแผนการขยายกลุ่มเปา้ หมาย
วิธีการบริหารงานบุคคลของ และคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วม
ข้า ร าช ก า รค รู แล ะ บุ คล า ก ร โครงการโรงเรียนคุณภาพ (เฟส 2)
ทางการศึกษา สาหรับโรงเรียน ท่จี ะดาเนินการในปี 2567

๒๖

กลุ่มโรงเรยี น จำนวนโรงเรยี น ผลกำรดำเนนิ กำรท่ผี ่ำนมำ สิ่งทจ่ี ะทำตอ่ ไป
โรงเรยี นขนาดเล็ก 14,958 โรง
พัฒนาคุณภาพ สังกัดสานักงาน
โรงเรียนคอนเนก็ ซ์อดี ี 5,567 โรง
(Connext Ed) คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

1) จัดสรรค่าพาหนะรับ -ส่ง จดั ทาแผนการเรยี นรวม

นั ก เ รี ย น ก ร ณี ร ว ม แ ล ะ เ ลิ ก - โรงเรียนคุณภาพ 349 โรง กับ

สถานศึกษา โรงเรยี นเครอื ขา่ ย 2,312 โรง

>3 กม. 10 บาท/กม. - โรงเรียนขยายโอกาส 173 โรง

3 – 10 กม. 15 บาท/กม. กบั โรงเรยี นรวม 155 โรง

<10 กม. 20 บาท/กม.

2) จัดสรรค่าพาหนะจ้างเหมา

บริการ เบิกจ่ายตามสัญญาจ้าง

เหมาบริการ

3) จัดสรรค่าบริหารจัดการรถ

คันละไม่เกิน 150,000 บาท/

ปีงบประมาณ

จำนวนโรงเรียนขนำดเล็ก (เดมิ )

ลดลงเมอ่ื เทียบกับปีท่ผี ำ่ นมำ

ปี 2561 เลิกสถำนศึกษำได้

229 โรง

ปี 2562 เลิกสถำนศึกษำได้

237 โรง

ปี 2563 เลิกสถำนศึกษำได้

168 โรง

ปี 2564 เลิกสถำนศึกษำได้

70 โรง

1) กิจกรรมคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 1) กิจกรรมคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ค

เพ่ือกำรศึกษำ Notebook for เพื่อกำรศึกษำ Notebook for

Education ภาครัฐ : การพัฒนา Education

หลักสูตรฝึกอบรมรูปแบบการ 1.1) หารือวิธีการจัดจ้างมหา

จัดการเรียนรู้ท่ีบูรณาการกับชีวิต วทิ ยาลัยในการ

จ ริ ง โ ด ย ใ ช้ โ น้ ต บุ๊ ค เ ป็ น ฐ า น พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมรูปแบบ

(Notebook-based Learning การจัดการ

ภาคเอกชน : ดาเนินการระดมทุน เรียนรู้ท่ีบูรณาการกับชีวิตจริง

โครงการ Notebook for Education โดยใช้โน้ตบุ๊คเป็นฐาน Nbtebook-

(Crowdfunding) based Learning

2) กิจกรรม ICT Talent ภำครัฐ 1 . 2 ) ร ะ ด ม ทุ น บ น ร ะ บ บ

รุ่น 2 อบรมออนไลน์หลักสูตร Crowdfunding ถึงเดอื น

ผู้นาดา้ นเทคโนโลยี ธนั วาคม 2565

๒๗

กล่มุ โรงเรยี น จำนวนโรงเรยี น ผลกำรดำเนนิ กำรทผ่ี ่ำนมำ ส่งิ ทจ่ี ะทำต่อไป

เพ่ือการศึกษา ICT Talent ภาครัฐ 1.3) โรงเรียนจัดซ้ือโน้ตบุ๊คและ

รุ่นท่ี 2 และมีผู้ผ่านการอบรม อปุ กรณ์ พรอ้ มติดตั้ง ในไตรมาส 2

จานวน 643 คน ปงี บประมาณ 2566

3) กิจกรรมกำรวิจัยถอดบทเรียน 2) กิจกรรม ICT Talent ภำครฐั

รูปแบบกำรพัฒนำของบริษัท รนุ่ 2

ถอดบทเรียน ต่อเน่ืองปงี บ 2564 2.1) ประกาศ ICT Taent ภาครฐั

เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เก็บข้อมูล รุ่นท่ี 2 (ครัง้ ที่ 1)

เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ จั ด ป ร ะ ชุ ม 2.2) ป ร ะ ก า ศ รั บ ส มั ค ร ICT

บรรณาธิการกิจเล่มถอบทเรียนฯ Talent ภาครัฐ รุ่นท่ี 2 เพิ่มเติม

ปี 2564 ครง้ั ที่ 1 (บทที่ 1 - 4) จานวน 160 คน

4) กิจกรรมระบบ sms สพฐ. 2.3) อบรมผู้ผ่านการคัดเลือก

การประชุมเพ่ือหารือแนวทาง ตามกระบวนการหลักสูตรผู้นา

ร่วมกัน ระหว่าง Connext ED ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ICT

และ สพฐ. การนาเสนอ Demo Talent ภาครฐั รนุ่ ท่ี 2

ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล School 3) กิจกรรมกำรวิจัยถอดบทเรียน

Management System (SMS) รปู แบบกำรพฒั นำของบรษิ ทั

การหารือถึงแนวทางปฏบิ ัติ ซง่ึ ยัง 3.1) จัดประชุมบรรณาธิการกิจ

ต้องทาการวิเคราะห์ในส่วนของ เล่มถอดบทเรียนฯ ปี 64 คร้ังท่ี

ข้อมลู ต่อ 2 บทที่ 5 ผู้เชี่ยวชาญ และ

ภาคเอกชน ร่วมสรุป อภิปราย

และใหข้ ้อเสนอแนะ

3.2) ปรับแผนการวิจัย เป็นราย

เรื่องต่อกรณีศึกษาของบริษัท

17 โมเดล

3.3) ประสานผู้สนจและจัด

ประชมุ ขแี้ จงกาหนดงานวิจัย

4) กจิ กรรมระบบ sms สพฐ.

4.1) จัดประชมุ หารือ เพ่อื วเิ คราะห์

ความเช่ือมโยง ของระบบฐานข้อมูล

สพฐ. ท้งั หมด

4.2) สรุปผลการเช่ือมโยง SMS

ส่รู ะบบฐานขอ้ มลู ของ สพฐ

4.3) เปิดตัวระบบ SMS ของ

สพฐ (อยู่ระหว่างการดาเนินการ

และผลักดันในการพัฒนาระบบ

ฐานขอ้ มลู )

๒๘

กลมุ่ โรงเรียน จำนวนโรงเรียน ผลกำรดำเนินกำรทผี่ ำ่ นมำ ส่งิ ทจ่ี ะทำตอ่ ไป
204 โรง
โรงเรยี นรว่ มพฒั นา 1. ประกาศรายชื่อโรงเรียนร่วม 1. ประชุมคณะกรรมการชดุ ตา่ งๆ
(Partnership School
พฒั นารุ่นที่ 3 จานวน 70 โรงเรยี น 2. คณะนิเทศติดตามลงพ้ืนท่ี
Project)
เพอ่ื เตรียมรบั การทา MOU ประเมินโรงเรยี นเชิงประจกั ษ์

2.ประชุมออนไลน์เพื่อสร้างความ 3. คัดเลือกและนาเสนอโรงเรียน

เข้าใจ เร่ืองการขับเคล่ือนโครงการ Best Practice ของภาคเอกชน

กบั ผูส้ นับสนุน 4. สรุปผลการดาเนินโครงการ

3. ประชุมออนไลน์กับคณะทางาน และถอดบทเรียนของภาคเอกชน

เพ่ือวางแผนการลงพื้นท่ีติดตาม

โรงเรยี นในโครงการรุ่น 1 และ 2

๔ กำรแกป้ ัญหำโรงเรียนที่ขำดแคลนครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สามารถดาเนินการบริหารอัตราโดยการตัดโอนตาแหน่ง
ผู้อานวยการโรงเรียน ไปกาหนดตามหลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (กคศ.) ว 26 เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการกาหนดตาแหน่งเพื่อบริหารอัตรากาลังข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

2. บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน ด้วยการแต่งต้ังผู้อานวยการโรงเรียนท่ีอยู่ใกล้เคียง
ให้ปฏิบตั หิ น้าที่ในโรงเรียนทีไ่ ม่มีผู้อานวยการโรงเรยี น

3. พัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาให้ครู เพื่อให้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน
กรณีที่มีความจาเปน็

4. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (กคศ.) กาหนดเกณฑ์
อัตรากาลังข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา สังกัด สพฐ. ใหโ้ รงเรียนขนาดเล็กท่ีมีนักเรียน
จานวน 1- 40 คน มีครูผู้สอนจานวน 1- 4 คน นักเรียนจานวน 41 - 80 คน มีครูผู้สอนจานวน 6 คน และ
นักเรยี นจานวน 81-119 คน มีครูผู้สอนจานวน 8 คน (เดิมกาหนดครผู ู้สอนขั้นต่าสุดจานวน 1 คน และสูงสุด
จานวน 6 คน) ซ่ึงการกาหนดครูผู้สอนขั้นต่าจานวน 1 - 4 คนนี้ เพ่ือให้โรงเรียนขนาดเล็กสามารถจัดการเรียน
การสอนตามสาขาวิชาเอกที่จาเป็น ได้แก่ ครูประดมศึกษา ครูกาษาไทย ครูคณิตศาสตร์ และครูปฐมวัยหรือ
ครูภาษาอังกฤษ สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนขั้นพ้ืนฐาน ท่ีเน้นให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้
หนังสือ (Literacy) สามารถอ่านออกเขียนได้ มีทักษะในการคิดคานวณ (Numeracy) ซ่ึงจะส่งผลให้คุณภาพ
การศกึ ษาและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรียนขนาดเล็กสูงขึน้

5. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (กคศ.) กาหนดให้
โรงเรียนทุกแห่งมีบุคลากรสนับสนุนการศึกษา ซ่ึงจะเป็นการลดภาระงานธุรการของครู และคืนครูสู่ห้องเรียน
เพื่อให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะนาไปสู่คุณภาพของผู้เรียนอย่างแท้จริง
รวมท้ังกาหนดให้มีบุคลากรสนับสนุนการศึกษาในโรงเรียนท่ีมีเด็กพิการมาเรียนรวม เพื่อช่วยสนับสนุนการสอน
และสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษได้รับการจัดการเรียนการสอนเช่นเดียว
กบั เด็กปกติ เป็นการลดความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษา

๒๙


Click to View FlipBook Version