The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kamthorn Saeiew, 2022-07-11 14:21:57

Active Learning

Active Learning

Active Learning

Active Learning จึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ การสรา้ งสรรค์ทางปญั ญา Constructivism) ท่ี
เน้นกระบวนการเรยี นรู้มากกวา่ เนอ้ื หาวชิ า เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถเชอ่ื มโยงความรู้ หรือร้างความรู้ใหเ้ กดิ ขึ้นใน
ตนเอง ดว้ ยการลงมือปฏบิ ัติจริงผา่ นสื่อหรือกจิ กรรมการเรียนรู้ ทีม่ ีครูผสู้ อนเป็นผู้นะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความ
สะดวก ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ข้นึ โดยกระบวนการคิดข้ันสงู กล่าวคือ ผเู้ รียนมาี รวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการ
ประเมินค่าจากสิง่ ที่ได้รบั จากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรเู้ ปน็ ไปอย่างมีวามหมายและนำไปใชใ้ น
สถานการณ์อืน่ ๆไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)

ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning เปน็ ดังนี้ (ไชยยศ เรอื งสุวรรณ, 2553)
1. เปน็ การเรยี นการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแกป้ ัญหา และการนำความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้
2. เป็นการเรยี นการสอนที่เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรู้สงู สุด
3. ผูเ้ รียนสรา้ งองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
4. ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในดา้ นการสรา้ งองค์ความรู้ การสร้างปฏสิ มั พันธร์ ว่ มกัน รว่ มมอื กนั
มากกวา่ การแข่งขนั
5. ผ้เู รียนเรยี นรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกัน การมีวินยั ในการทํางาน และการแบง่ หน้าท่ีความรับผิดชอบ
6. เปน็ กระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผเู้ รียนอา่ น พูด ฟัง คิดอยา่ งลมุ่ ลึก ผู้เรยี นจะเป็นผู้จัดระบบการเรยี นร้ดู ้วย
ตนเอง
7. เปน็ กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่เน้นทักษะการคิดขนั้ สูง
8. เป็นกิจกรรมท่ีเปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นบรู ณาการข้อมลู ข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคดิ รวบยอด
9. ผู้สอนจะเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพื่อใหผ้ ู้เรียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง
10. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผเู้ รียน

บทบาทของอาจารยผ์ ู้สอน
ในการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ตู ามแนวทางของ Active Learning ดงั น้ี (ณชั นัน แก้วชัยเจรญิ กจิ , 2550) จดั ให้
ผ้เู รียนเปน็ ศูนยก์ ลางของการเรยี นการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความตอ้ งการในการพัฒนาผูเ้ รียนและเนน้ การ
นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จริงของผู้เรียน
1. สรา้ งบรรยากาศของการมีสว่ นรว่ ม และการเจรจาโต้ตอบท่สี ง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมปี ฏิสัมพันธท์ ี่ดี
กับผู้สอนและเพื่อนในช้นั เรยี น
2. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหเ้ ป็นพลวตั สง่ เสริมให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในทุกกจิ กรรมรวมท้งั
กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
3. จัดสภาพการเรียนรู้แบบรว่ มมอื สง่ เสรมิ ให้เกิดการรว่ มมือในกลุ่มผู้เรยี น
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผเู้ รยี นได้รับวธิ กี ารสอนที่หลากหลาย
5. วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ท้งั ในสว่ นของเน้ือหา และกิจกรรม
6. ครูผสู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของท่ีผู้เรียน

ตัวอย่างเทคนิคการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning
การจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning สามารถสร้างให้เกดิ ข้ึนได้ท้งั ในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น รวมทัง้
สามารถใช้ได้กับนกั เรยี นทุกระดับ ท้ังการเรยี นรู้เป็นรายบุคคล การเรยี นรแู้ บบกลุ่มเล็ก และการเรียนรู้แบบกลมุ่
ใหญ่ McKinney (2008) ไดเ้ สนอตัวอย่างรปู แบบหรือเทคนิค การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ จี่ ะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ
การเรยี นรู้แบบ Active Learning ได้ดี ไดแ้ ก่
1. การเรยี นรู้แบบแลกเปล่ยี นความคดิ (Think-Pair-Share) คือการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ใ่ี ห้
ผูเ้ รียนคดิ เก่ียวกับประเด็นที่กำหนดแตล่ ะคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนน้ั ให้แลกเปลย่ี นความคดิ กบั เพ่ือน
อกี คน 3-5 นาที (Pair) และนำเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ ผูเ้ รียนท้ังหมด (Share)
2. การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ (Collaborative learning group) คือการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ให้
ผเู้ รียนได้ทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น โดยจดั เปน็ กลมุ่ ๆ ละ 3-6 คน
3. การเรียนรแู้ บบทบทวนโดยผูเ้ รียน (Student-led review sessions) คอื การจัดกิจกรรมการ
เรียนร้ทู ี่เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้ทบทวนความรแู้ ละพิจารณาข้อสงสยั ตา่ ง ๆ ในการปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยครู
จะคอยชว่ ยเหลือกรณที ี่มปี ัญหา
4. การเรยี นร้แู บบใชเ้ กม (Games) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ีผ่ สู้ อนนำเกมเข้าบูรณาการใน
การเรยี นการสอน ซึง่ ใช้ได้ทัง้ ในขน้ั การนำเข้าสู่บทเรยี น การสอน การมอบหมายงาน และหรอื ขน้ั การประเมินผล
5. การเรยี นรู้แบบวิเคราะห์วดี ีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจดั กจิ กรรมการ

เรยี นรูท้ ่ใี ห้ผเู้ รียนไดด้ ูวีดีโอ 5-20 นาที แลว้ ให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเห็น หรอื สะทอ้ นความคิดเกีย่ วกับสงิ่ ทไ่ี ดด้ ู อาจ
โดยวิธีการพดู โตต้ อบกัน การเขยี น หรอื การร่วมกันสรปุ เป็นรายกลมุ่
6. การเรยี นรู้แบบโตว้ าที (Student debates) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่จี ดั ใหผ้ เู้ รียนได้
นำเสนอข้อมูลที่ไดจ้ ากประสบการณแ์ ละการเรียนรู้ เพ่ือยืนยันแนวคิดของตนเองหรอื กลุ่ม
7. การเรยี นรแู้ บบผูเ้ รียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจดั
กิจกรรมการเรยี นรทู้ ใี่ ห้ผูเ้ รียนสรา้ งแบบทดสอบจากสิ่งท่ีได้เรียนรู้มาแล้ว
8. การเรยี นรู้แบบกระบวนการวจิ ยั (Mini-research proposals or project) คือการจัดกิจกรรม
การเรยี นร้ทู ีอ่ ิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผ้เู รยี นกำหนดหวั ขอ้ ทตี่ ้องการเรยี นรู้ วางแผนการเรยี น เรยี นรู้ตามแผน
สรุปความรู้หรอื สรา้ งผลงาน และสะท้อนความคิดในสิง่ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ หรืออาจเรยี กว่าการสอนแบบโครงงาน
(project-based learning) หรือ การสอนแบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน(problem-based learning)
9. การเรยี นรูแ้ บบกรณศี ึกษา (Analyze case studies) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีใ่ หผ้ เู้ รยี น
ได้อา่ นกรณีตวั อยา่ งท่ีต้องการศึกษา จากน้นั ใหผ้ เู้ รยี นวิเคราะหแ์ ละแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นหรือแนวทางแกป้ ญั หา
ภายในกลมุ่ แลว้ นำเสนอความคดิ เห็นต่อผเู้ รยี นทงั้ หมด
10. การเรียนรู้แบบการเขียนบันทึก (Keeping journals or logs) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ี
ผูเ้ รียนจดบนั ทกึ เรื่องราวตา่ งๆ ทีไ่ ด้พบเห็น หรอื เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแตล่ ะวนั รวมทงั้ เสนอความคิดเพิ่มเติม
เกย่ี วกับบนั ทึกทเี่ ขียน
11. การเรียนรแู้ บบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คือการจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้ทีใ่ หผ้ ู้เรียนรว่ มกนั ผลิตจดหมายขา่ ว อันประกอบด้วย บทความ ขอ้ มลู สารสนเทศ ข่าวสาร และ
เหตุการณ์ทเี่ กิดข้ึน แลว้ แจกจ่ายไปยังบุคคลอน่ื ๆ
12. การเรียนรแู้ บบแผนผงั ความคดิ (Concept mapping) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้
ผเู้ รียนออกแบบแผนผังความคิด เพ่ือนำเสนอความคดิ รวบยอด และความเช่อื มโยงกันของกรอบความคิด โดยการ
ใช้เส้นเป็นตัวเช่ือมโยง อาจจัดทำเป็นรายบุคคลหรอื งานกลมุ่ แลว้ นำเสนอผลงานตอ่ ผูเ้ รียนอนื่ ๆ จากนน้ั เปดิ โอกาส
ใหผ้ ู้เรยี นคนอน่ื ได้ซักถามและแสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม


Click to View FlipBook Version