PA 1/ส
แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ -
โรงเรยี นปากเกร็ด สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษานนทบรุ ี
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันท่ี 1 เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 30 เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2565
ผจู้ ัดทำข้อตกลง
ชอ่ื นายไกรวชั ร นามสกลุ บวั เทศ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ -
สถานศกึ ษา โรงเรียนปากเกร็ด สังกัด สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบรุ ี
รบั เงนิ เดอื นในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดอื น 26,430 บาท
ประเภทหอ้ งเรยี นท่ีจดั การเรยี นรู้ (สามารถระบไุ ดม้ ากกว่า 1 ประเภทห้องเรยี น ตามสภาพการจัด
การเรียนรจู้ รงิ )
ห้องเรียนวิชาสามญั หรือวิชาพืน้ ฐาน
หอ้ งเรียนปฐมวยั
หอ้ งเรยี นการศึกษาพเิ ศษ
ห้องเรยี นสายวชิ าชพี
ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจดั ทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ตำแหน่งครู (วทิ ยฐานะชำนาญการ)
ซ่ึงเป็นตำแหน่งท่ีดำรงอย่ใู นปัจจุบันกับผ้อู ำนวยการ ไว้ดังตอ่ ไปนี้
สว่ นที่ 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 14 ชวั่ โมง 10 นาที/สปั ดาหด์ งั น้ี
กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ รายวิชา
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 6 จำนวน 10 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์
รายวิชา เคมีเบ้อื งตน้ 2 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
ลูกเสือ เนตรนารี จำนวน - ช่วั โมง 50 นาที/สปั ดาห์
ชุมนมุ จำนวน - ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ช่วั โมง/สัปดาห์
หวั หนา้ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น จำนวน 8 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 (คาดการณ์)
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15 ช่ัวโมง 50 นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ รายวชิ า
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 5 จำนวน 7 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
รายวิชา สะเตม็ 2 จำนวน 6 ชวั่ โมง 40 นาที/สัปดาห์
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ลกู เสอื เนตรนารี จำนวน - ช่วั โมง 50 นาท/ี สัปดาห์
ชุมนมุ จำนวน - ชั่วโมง 50 นาท/ี สัปดาห์
1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 ชัว่ โมง/สัปดาห์
1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชัว่ โมง/สัปดาห์
หวั หนา้ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน จำนวน 8 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานทีจ่ ะปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบรุ ายละเอียดของงานทจ่ี ะปฏบิ ตั ใิ นแต่ละด้าน
วา่ จะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาท่ีใช้ในการดำเนินการดว้ ยก็ได)้
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ัด (Indicators)
ท่จี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจี่ ะเกิดขึ้นกบั ผเู้ รยี น
ลกั ษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่ีคาดหวังใหเ้ กิดขึ้น ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถงึ การ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมนิ กบั ผู้เรียน เปล่ียนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) ทด่ี ขี ้ึนหรือมกี ารพัฒนา
มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ
สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ
1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ 1. การสรา้ งและพฒั นาหลกั สูตร 1.ผเู้ รียนสามารถอธิบาย 1.ผู้เรยี นรอ้ ยละ 60 มี
ลกั ษณะงานที่เสนอใหค้ รอบคลุมถงึ และการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เร่อื งทเ่ี รยี นรู้ได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
การสรา้ งและหรอื พฒั นาหลกั สตู ร - วเิ คราะห์หลกั สูตร มาตรฐานการ 2.ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะ สงู กว่าท่โี รงเรยี นกำหนด
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การ เรยี นรูแ้ ละผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั อนั พงึ ประสงค์ 2.ผู้เรียนรอ้ ยละ 60 มี
จดั กิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและ นำไปจดั ทำรายวชิ าวิทยาศาสตร์ 5 3.ผเู้ รียนสามารถอ่าน คณุ ลักษณะอนั พงึ
หรือพฒั นาสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร์ 6 ออกแบบ คดิ วิเคราะห์ เขียนสอ่ื ประสงค์สงู กว่าท่ี
และแหลง่ เรยี นรู้ การวัดและ หน่วยการเรยี นร้ใู หส้ อดคลอ้ งกับ ความจากเรอื่ งท่ีเรียนรู้ โรงเรยี นกำหนด
ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ หลกั สตู รสถานศึกษาและหลักสูตร ได้ 3.ผเู้ รียนร้อยละ 60
การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือ แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 4.ผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจ สามารถอา่ น คดิ
แกป้ ัญหาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ การ พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง ต่อการจดั บรรยากาศ วเิ คราะห์ เขยี นสือ่ ความ
จดั บรรยากาศท่สี ง่ เสรมิ และพัฒนา 2560) ในรูปแบบแผนการจัดการ การเรยี นรู้ จากเรือ่ งทีเ่ รียนรสู้ งู กว่า
ผเู้ รยี น และการอบรมและพัฒนา เรียนรู้ และเผยแพรใ่ น Google ท่โี รงเรยี นกำหนด
คณุ ลกั ษณะท่ดี ขี องผูเ้ รียน site และ Pakkred Learning 4.ผเู้ รียนร้อยละ 80 มี
Cyber ความพึงพอใจต่อการจัด
2. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ บรรยากาศการเรียนรู้ใน
- จัดกจิ กรรมการเรียนตามแนวทาง ระดบั มาก ข้ึนไป
active learning อย่างหลากหลาย
โดยเนน้ การมสี ่วนรว่ มของผเู้ รยี น
ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ทีส่ ร้าง
ขึ้น และเผยแพร่ใน Google site
และ Pakkred Learning Cyber
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดข้ึนกบั ผู้เรียน
ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ให้เกิดขึ้น ท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงการ
ตามมาตรฐานตำแหนง่
การประเมนิ กบั ผเู้ รียน เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) ทีด่ ีขนึ้ หรอื มีการพฒั นา
มากข้ึนหรอื ผลสัมฤทธ์ิ
สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ
3. การสรา้ งและหรือพฒั นาสอ่ื
นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหล่ง
เรียนรู้
- พฒั นาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี
เพื่อการเรียนรู้ในรูปแบบที่
หลากหลาย เชน่ ชดุ กิจกรรม ชุด
การทดลอง เกมส่งเสรมิ การเรียนรู้
PowerPoint เพ่ือการเรียนรู้ เป็น
ต้น โดยนำเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นรู้
มาใช้สร้างแหลง่ เรียนรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี น
ในรปู แบบ google classroom
และเผยแพรใ่ น Google site และ
Pakkred Learning Cyber
4.การวัดและประเมินผลการจัดการ
เรยี นรู้
- พัฒนาเคร่อื งมือวัดและ
ประเมินผลอย่างหลากหลาย
ประกอบด้วย แบบทดสอบ แบบ
ประเมิน แบบสังเกต จัดทำเปน็
แบบอยา่ งให้ครูในกล่มุ สาระการ
เรยี นรู้ เชน่ Socrative และ
Quizizz ใหแ้ ก่ครใู นกล่มุ สาระการ
เรยี นรู้ และเผยแพรใ่ น Google
site และ Pakkred Learning
Cyber
งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ช้ีวัด (Indicators)
ท่ีจะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขนึ้ กบั ผูเ้ รยี น
ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมนิ กับผู้เรียน เปลีย่ นแปลงไปในทาง
2. ด้านการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ
ลักษณะงานท่เี สนอใหค้ รอบคลมุ ถึง (โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ท่ดี ีขนึ้ หรือมกี ารพัฒนา
การจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศของ
ผูเ้ รยี นและรายวชิ า การดำเนินการ มากข้นึ หรอื ผลสัมฤทธ์ิ
สูงขึน้ (โปรดระบุ)
5. การศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์
เพ่ือแกป้ ัญหาหรอื พัฒนาการเรยี นรู้
- นำผลการจัดการเรยี นรู้มาศกึ ษา
วิเคราะห์ เพอ่ื แก้ปัญหาท่เี กิดข้ึน
จากการจัดการเรยี นรู้ ในรปู แบบ
วิจยั ในชน้ั เรยี น และเผยแพร่ใน
Google site และ Pakkred
Learning Cyber
6. การจดั บรรยากาศทส่ี ง่ เสรมิ และ
พัฒนาผู้เรียน และการอบรมและ
พัฒนาคณุ ลักษณะท่ดี ีของผู้เรียน
- จดั กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรก
เทคนคิ เกมโชว์ กิจกรรมกลุม่
สง่ เสริมการทำงานรว่ มกัน กิจกรรม
เพอ่ื นช่วยเพ่อื น ความรบั ผดิ ชอบใน
การส่งภาระงาน และมคี วาม
ซ่อื สตั ย์ตอ่ ตนเอง และเป็น
แบบอยา่ งให้กบั คุณครูทเ่ี ข้ามา
นเิ ทศการจัดการเรยี นการสอน
เกีย่ วกบั การจัดบรรยากาศทส่ี ง่ เสรมิ
การเรียนรู้ของผเู้ รียน
1.การจดั ทำข้อมูลสารสนเทศของ 1.ผูเ้ รยี นไดร้ บั การดูแล 1.ผ้เู รียนรอ้ ยละ 100
ผเู้ รยี นและรายวิชา ชว่ ยเหลือตามข้อมูล ได้รบั การดูแลช่วยเหลอื
- จดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรยี น สารสนเทศไดอ้ ยา่ ง ตามข้อมลู สารสนเทศท่ี
ที่ไดร้ ับมอบหมายเปน็ ปรกึ ษา ใน รวดเรว็ ครจู ดั ทำข้นึ
ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดข้ึนกับผูเ้ รยี น
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ
ตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น การ การประเมิน กับผู้เรียน เปล่ียนแปลงไปในทาง
ปฏิบตั งิ านวชิ าการ และงานอื่น ๆ (โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ที่ดีข้นึ หรอื มกี ารพัฒนา
ของสถานศึกษา และการประสาน มากข้นึ หรอื ผลสัมฤทธิ์
ความร่วมมือกบั ผู้ปกครองภาคี รปู แบบการวเิ คราะหผ์ ู้เรียนผ่าน 2.ผเู้ รยี นมแี หล่ง สงู ขนึ้ (โปรดระบุ)
เครอื ข่าย และหรือสถาน 2.ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100
ประกอบการ การประเมนิ SDQ การเยย่ี มบา้ น สารสนเทศรายวิชา เขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศ
รายวชิ า
ผลการเรยี นแตล่ ะภาคเรียน 3.ผเู้ รยี นได้รบั การ 3.ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100
ได้รบั การจัดการเรียน
- จัดทำขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรียน จัดการเรียนการสอน การสอนแบบเนน้ ผเู้ รยี น
เปน็ สำคัญ
ที่รบั ผดิ ชอบการจัดการเรียนรู้ในผล แบบเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ 4. ผู้เรียนร้อยละ 80
สามารถเข้าถึงแหลง่
การเรยี นตลอดภาคเรียนและมีการ สำคัญ เรยี นรูท้ เ่ี กิดจากการ
ประสานความรว่ มมือ
แจง้ เตอื นเพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ สี ่วนรว่ ม 4. ผ้เู รยี นมแี หลง่ การ
ในการตรวจสอบขอ้ มูลอย่าง เรียนรู้ที่เกิดจากการ
สมำ่ เสมอ โดยดำเนินการเผยแพร่ ประสานความร่วมมอื
เปน็ แบบอยา่ งใหค้ รูในกลมุ่ สาระ เพมิ่ ขน้ึ
การเรยี นรู้ และครูในระดบั ช้นั
เดยี วกนั
2.การดำเนินการตามระบบดูแล
ชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียน
- จดั ทำขอ้ มูลการดำเนินงานดแู ล
ชว่ ยเหลอื ผู้เรียนดา้ นการเรยี น ด้าน
ความประพฤติ ดา้ นทุนการศกึ ษา
และดา้ นอ่ืนๆ ตามที่สถานศึกษา
มอบหมาย
3.การปฏบิ ตั ิงานวชิ าการ และงาน
อ่ืน ๆ ของสถานศึกษา
- ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีหวั หนา้ งานสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น โดยมกี าร
ดำเนินขบั เคล่อื นกจิ กรรมตา่ ง ๆ
รวมท้งั วางแนวทางการจัดการ
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ช้ีวัด (Indicators)
ทีจ่ ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กับผเู้ รียน
ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ขนึ้ ทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ การ
ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมนิ กับผ้เู รยี น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) ทีด่ ีข้ึนหรอื มกี ารพัฒนา
มากข้นึ หรอื ผลสมั ฤทธิ์
สูงขน้ึ (โปรดระบุ)
เรยี นรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดย
บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี นรว่ มกบั ครูในกลมุ่ สาระและ
ครใู นโรงเรียนปากเกร็ด
- ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีงานวัดและประเมนิ
โดยมีการจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศ
ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของครู
ในกล่มุ สาระ เพ่ือนำมาวิเคราะห์
ตรวจสอบ และประเมนิ ถึงแนวโนม้
ในการจดั การเรียนการสอนของแต่
ละรายวิชา
- ปฏบิ ัติหน้าท่ีงานโอลมิ ปิกวิชาการ
อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และ
เพชรยอดมงกุฎ โดยมกี ารส่งเสริม
ผเู้ รียนท่ีมีความสามารถในด้าน
วทิ ยาศาสตร์เข้าร่วมการแข่งขันใน
รายการต่างๆ โดยมีการสอนเสริม
เพ่อื เพิ่มศกั ยภาพของผเู้ รียนให้
พร้อมต่อการแขง่ ขนั ในเวทตี ่างๆ
3. ด้านการพัฒนาตนเองและ 1.การพฒั นาตนเองอย่างเป็นระบบ 1.ผเู้ รียนมีความพงึ พอใจ ผู้เรียนมคี วามพึงพอใจใน
วชิ าชีพ และต่อเนื่อง ในการได้รับการบรกิ าร การจดั การเรียนการรู้
ลักษณะงานทเ่ี สนอให้ครอบคลมุ ถึง - เข้าร่วมการประชุม/อบรม/ ดา้ นความรู้และด้านอ่นื ๆ ของครโู ดยรวม ผา่ น
การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ สัมมนา ในสว่ นทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ในรูปแบบที่ทันสมัยข้นึ กิจกรรม “การประเมนิ
และต่อเน่ือง การมีสว่ นร่วมในการ ภาระหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบ 2.ผู้เรยี นมคี วามพึงพอใจ คณุ ภาพการจดั การเรยี น
แลกเปล่ยี นเรียนร้ทู างวิชาชีพเพ่ือ และรายงานผลการประชมุ /อบรม/ ในการไดร้ บั บรรยากาศ การสอนของครูตาม
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ัด (Indicators)
ทีจ่ ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่จี ะเกดิ ขึ้นกับผเู้ รียน
ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ ที่แสดงให้เห็นถึงการ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมนิ กับผ้เู รียน เปลยี่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ทีด่ ขี ึน้ หรือมกี ารพฒั นา
มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์
สงู ขึ้น (โปรดระบ)ุ
พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ และการนำ สมั มนา อยา่ งเป็นระบบไม่นอ้ ยกวา่ และประสบการณ์ใหม่ๆ ความคดิ เห็นของ
ความรู้ความสามารถ ทกั ษะทไี่ ด้จาก 20 ชั่วโมง และเผยแพรค่ วามรู้ทไ่ี ด้ ท่เี กดิ ข้ึนจากกิจกรรม นักเรยี น” อยใู่ นระดบั
การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใชใ้ น จากการประชมุ /อบรม/สมั มนา ไป นิเทศการสอน มาก ข้ึนไป
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ ยังครทู ่มี สี ว่ นเกี่ยวข้อง 3.ผู้เรยี นมีความพึงพอใจ
พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน และการ 2. การมสี ่วนรว่ มในการแลกเปล่ยี น ในการได้รับการจัด
พฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ เรียนรู้ทางวิชาชพี เพ่อื พัฒนาการ ประสบการณก์ ารเรียนรู้
จดั การเรยี นรู้ ใหม่ๆ ดว้ ยนวตั กรรมท่ี
- เขา้ รว่ มกิจกรรมนิเทศการสอนใน ครสู รา้ งข้ึน
บทบาทของผู้รับการนิเทศและผู้
นิเทศรวมกัน ไม่นอ้ ยกวา่ 3 คร้ัง
3. การนำความรู้ความสามารถ
ทกั ษะทไ่ี ด้จากการพฒั นาตนเอง
และวิชาชพี มาใชใ้ นการพัฒนาการ
จดั การเรียนรู้ การพัฒนาคณุ ภาพ
ผู้เรยี น และการพัฒนานวตั กรรม
การจัดการเรียนรู้
- จัดทำนวัตกรรมเพอ่ื การเรยี นรู้
จากการเขา้ รว่ มประชมุ /อบรม/
สัมมนา อยา่ งน้อย 2 รายการ และ
เผยแพร่ตัวอย่างผลงานทไ่ี ดจ้ ากการ
พัฒนาให้ครูในกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ได้นำไปเป็นแนวทาง
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ.PA.1.ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้
ของแตล่ ะสถานศึกษา โดยความเห็นชอบรว่ มกนั ระหว่างผู้อำนวยการสถานศกึ ษาและข้าราชการครผู ู้จดั ทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักท่ีส่งผลโดยตรง
ตอ่ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักท่ีทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักท่ีทำการ
สอนทุกระดบั ชน้ั ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวชิ าหนง่ึ ได้ โดยจะตอ้ งแสดงให้เห็นถงึ การปฏบิ ัติงาน
ตามมาตรฐานตำแหนง่ และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางานตามข้อตกลงสามารถประเมินไดต้ ามแบบการประเมิน
PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น (Outcomes)และ
ตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้
คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละ
สถานศกึ ษา และผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของผเู้ รียนที่เกิดจากการพฒั นางานตามข้อตกลงเปน็ สำคญั โดยไมเ่ น้นการประเมินจาก
เอกสาร
สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทเ่ี ป็นประเด็นทา้ ทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรียนรูข้ องผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ- ต้องแสดงให้เหน็ ถึงระดับการปฏิบตั ิที่คาดหวงั ของวิทยฐานะ คือ ปรับประยกุ ต์ การจัดการเรียนรู้
และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้น (ทั้งนี้
ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถึงระดบั การปฏิบตั ิทีค่ าดหวงั ทสี่ งู กวา่ ได้)
ประเดน็ ท้าทาย เร่อื ง การพัฒนาทักษะทางการเรยี นรเู้ ร่อื ง การคำนวณหากระแสไฟฟ้า ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า
และความต้านทานในวงจรไฟฟา้ วิชาวิทยาศาสตร์ 6 ทไ่ี ดร้ บั การจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้แบบฝึกการ
คำนวณ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นปากเกร็ด
1. สภาพปญั หาการจดั การเรยี นรู้และคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รียน
เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผ่านมานักเรียนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจเนื้อหาไม่ สามารถ
คำนวณหากระแสไฟฟา้ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ และความต้านทานในวงจรไฟฟา้ เพอ่ื ทำให้นักเรยี นมีความเขา้ ใจในเนื้อหามาก
ยิ่งข้ึน ครผู ู้สอนจึงจัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางานประเด็นทา้ ทายโดยใช้แบบฝกึ การคำนวณ เรื่อง ไฟฟ้า รว่ มกบั คลิปวีดีโอ
การสอน วิชาวิทยาศาสตร์ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
ปากเกร็ด
2. วธิ ีการดำเนนิ การให้บรรลุผล
2.1 วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรยี นปากเกร็ด
2.2 จัดทำแผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรูแ้ ละแบบฝึกการคำนวณ เรื่อง ไฟฟ้า ประกอบด้วย
กจิ กรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม และแบบฝึกการคำนวณ ดังน้ี 1) ความสมั พนั ธ์ของกระแสไฟฟ้า ความตา่ งศักย์ไฟฟ้า และ
ความตา้ นทานไฟฟา้ 2) การคำนวณหากระแสไฟฟา้ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ และความต้านทานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
2.3 นำแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกการคำนวณ เรื่อง ไฟฟ้า ให้คุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิจารณาตรวจสอบรายละเอียดความถูกต้องของแผนการจัดการเรียนรู้ และแบบฝึกการ
คำนวณ เรื่อง ไฟฟา้ และแบบประเมนิ วัดผลด้านต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนะเพ่ือปรบั ปรงุ แกไ้ ข
2.4 ครูผู้สอนนำแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกการคำนวณ เรื่อง ไฟฟ้า มาปรับปรุง แก้ไข ตาม
คำแนะนำของคณะครใู นกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นปากเกรด็
2.5 นำแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกการคำนวณ เร่ือง เรื่อง ไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ 6 ไปจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้กับนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ ในรูปแบบข้อมูลสารสนเทศ
หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้จัดกิจกรรมเรียนซ่อมเสริมช่วงหลังเลิกเรียน และทำการทดสอบใหม่จน
นกั เรยี นมผี ลการเรียนรูผ้ า่ นเกณฑ์ท่ีกำหนด
3. ผลลพั ธก์ ารพฒั นาทคี่ าดหวัง
3.1 เชิงปรมิ าณ
นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 หอ้ ง ท้ังหมด 150 คน ของภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
ไดร้ บั การพัฒนาทักษะการคำนวณ เร่อื ง ไฟฟ้า วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 ท่ีไดร้ ับการจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ โดยใช้
แบบฝึกการคำนวณ ร่วมกับคลิปวีดีโอการสอน โดยมีคะแนนทดสอบหลังเรียนผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวน
นกั เรยี นทั้งหมด
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
นักเรยี นมีแบบฝกึ ทักษะการคำนวณเรื่องไฟฟา้ สามารถคำนวณหากระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟา้
และความตา้ นทานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้
.
ลงชื่อ........................................................................
(นายไกรวัชร บัวเทศ)
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ -
ผู้จัดทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
1 / ตลุ าคม / 2564
ความเห็นของผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
( ) เหน็ ชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพอ่ื นำไปแก้ไข และเสนอเพอื่ พจิ ารณาอีกคร้ัง
ดงั น้ี
....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ........................................................................
นางสาววณิ ัฐธพชั ร์ โพธเิ์ พชร
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด
................/.............../..................