รายงานวิจัยในชั้นเรียนเร่ือง
การพัฒนาการให้เหตุผลอยา่ งไม่เป็นทางการของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ในหน่วยการเรียนรู้เร่อื ง
พันธุศาสตร์ ผ่านการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ประเด็นทางสงั คมท่ีเกยี่ วเนอ่ื งกบั วิทยาศาสตรเ์ ป็นฐาน
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ผจู้ ดั ทำวิจัย
นายไกรวชั ร บวั เทศ
ตำแหน่ง ครู
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นปากเกร็ด
สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานนทบรุ ี
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
งานวิจัยเรอื่ ง การพัฒนาการใหเ้ หตผุ ลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ในหนว่ ยการ
เรียนรู้เรอ่ื ง พนั ธุศาสตร์ ผ่านการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมที่เกยี่ วเน่อื งกบั
ผู้วจิ ัย วิทยาศาสตรเ์ ปน็ ฐาน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
รายวิชา นายไกรวชั ร บวั เทศ
รหัสวิชา
ภาคเรียนท่ี วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน
ปกี ารศกึ ษา ว23101
1
2564
บทคัดยอ่
การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนน้ีมีวตั ถุประสงค์เพื่อ เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลอย่างไมเ่ ป็นทางการของ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ผ่านการจดั การเรียนรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสังคมที่เก่ียวเนื่องกบั วิทยาศาสตร์เป็นฐาน
กลมุ่ ท่ศี ึกษาในงานวจิ ยั น้คี อื นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ห้องเรียนพเิ ศษคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จำนวน 1
หอ้ งเรยี น มจี ำนวนนักเรยี นท้ังสน้ิ 36 คน ประกอบไปดว้ ยนักเรยี นชาย 18 คน และนกั เรียนหญงิ 18 คน เครอ่ื งมือ
ที่ใช้ในงานวิจัยนี้ไดแ้ ก่ แบบวัดการให้เหตุผลแบบไม่เปน็ ทางการ อนุทนิ ของนกั เรียน แบบสัมภาษณก์ ึง่ โครงสร้าง
วีดิทัศน์บันทึกการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ และ ใบกิจกรรมของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
การวเิ คราะห์เชงิ คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนอ้ื หา และการวิเคราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณดว้ ยการหาคา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่
ผลการวิจับพบว่านักเรียนมีการพัฒนารูปแบบของการให้เหตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการจากก่อนการจัดการ
เรยี นรู้นักเรียนมีรปู แบบของการให้เหตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการเปน็ การใชอ้ ารมณ์เปลย่ี นไปเปน็ รปู แบบความเป็นเหตุ
เปน็ ผลทางวิทยาศาสตรม์ ากข้นึ เมื่อเสร็จส้ินการจัดการเรยี นรู้ ซ่ึงนกั เรียนสว่ นใหญ่ จำนวน 28 คน (ร้อยละ 77.78)
มคี ุณภาพของการให้เหตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการในระดบั คงท่คี อื ระดับดีมาก
สารบญั
เนื้อหา หนา้
1. บทคัดย่อ ก
2. สารบัญ ข
3. บทที่ 1 บทนำ 1
วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 2
ความสำคญั ของการวิจยั 2
ขอบเขตการวจิ ยั 2
กรอบแนวคิดของการวิจัย 3
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 4
4. บทท่ี 2 เอกสารและงานที่เกยี่ วขอ้ ง 5
ระบบ Pakkred learning cyber 5
ความร้เู ก่ียวกับ คลนื่ และแสง 6
งานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง 6
5. บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั 13
การกำหนดประชาการและกล่มุ ตัวอย่าง 13
การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื วจิ ัย 13
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 14
การวิเคราะหข์ อ้ มลู 14
สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู 15
6. บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 16
ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ระหวา่ งกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 16
ดว้ ยแบบทดสอบทางการเรยี นรดู้ ้วยระบบ Pakkred learning cyber
เร่ือง คลืน่ และแสง
ผลการวิเคราะห์การเข้าเรยี นผา่ นทางการเรยี นรดู้ ้วยระบบ Pakkred learning cyber 16
เร่อื ง คล่ืนและแสง
7. บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 17
สรุปผลการวิจัย 17
อภิปรายผล 17
ขอ้ เสนอแนะ 18
8. บรรณนานุกรม 19
9. ภาคผนวก 20
21
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเร่อื งคล่นื และแสง
บทที่ 1
บทนำ
1. ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา
ประเทศไทยกำลังอยู่ในยุคของการปฏิรูปการศึกษาซึ่งถอื เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของประเทศและ
ประชาชนคนไทย การเปลย่ี นแปลงของยคุ สมยั กอ่ ใหเ้ กดิ แรงกดดนั ในทุก ๆ ด้านของสังคมไทย ทัง้ นี้เพราะปญั หาใน
อดีตที่สั่งสมมาอย่างยาวนานล้วนมีต้นเหตุมาจากความล้าหลังในเรื่องการศึกษา (ถวัลย์ มาศจรัส. 2548: คำนำ)
การปฏิรูปการเรียนรู้ใหม่จะช่วยพัฒนาคนไทยให้เปน็ คนที่มีความรูค้ ู่คุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของตนเอง ผู้อน่ื
และสรรพส่งิ ทง้ั หลาย (คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรยี นร.ู้ 2543: 6)
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญและเกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจำวัน และการทำงานอาชีพต่าง ๆ
ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการ
ทำงานลว้ นเปน็ ผลของการนำความรู้ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อน่ื ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์
ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหา
ความรู้ มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย และมี
ประจกั ษพ์ ยานทตี่ รวจสอบได้ วทิ ยาศาสตร์เปน็ วัฒนธรรมของโลกสมยั ใหมซ่ ่ึงเปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ ดงั นัน้ ทกุ คน
จึงจำเป็นต้องไดร้ บั การพัฒนาให้รู้วทิ ยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยีที่มนุษย์
สร้างสรรค์ขึน้ สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมเี หตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มี
บทบาทตอ่ การเปล่ียนแปลงสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ เห็นได้ว่าประเทศท่ีเจริญแล้วมกี ารพัฒนาความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์อยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมบี ทเรม่ิ ต้นของการพฒั นานี้มาจากการศกึ ษา (กุณฑรี เพช็ รทวีพรเดช. 2550: 20)
ในปจั จบุ นั การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ไมว่ ่าจะเป็นระดับใดก็ตามครูผู้สอนยังคงให้ความสำคัญกับ
เนื้อหามากกว่ากระบวนการให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ ฝึกการคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น เนื่องจากต้อง
เตรียมผูเ้ รยี นให้มีความพร้อมทางด้านเน้ือหาเพ่ือรับรองการประเมินมาตรฐานการเรียนรู้จากหน่วยงานต่าง ๆ ทำ
ให้นักเรียนไม่สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปใช้ในการประยุกต์แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของ
ตนเองไดส้ ง่ ผลให้มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนต่ำ และไมเ่ กิดความคงทนในการเรยี นรู้ (วันดี จูเปี่ยม. 2558: 9)
ดังนั้นเนื่องด้วยสถานการณ์โรคระบาดของเชื้อโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 ในทั่วโลกที่ได้รับผลกระทบ
อย่างรุนแรง ซึ่งประเทศไทยนั้นก็ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายน 2563
ที่ผ่านมาเป็นช่วงที่ระบาดอย่างหนักของโรคโควิด 19 ในประเทศไทย ทางรัฐบาลของไทยจึงได้ประมาตรการ
ควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยมนี โยบาย “อยบู่ ้าน หยดุ เชอื้ เพอ่ื ชาต”ิ และให้เว้น
ระยะห่างทางสังคม(Social Distancing) ขึ้นจึงทำให้ทางกระทรวงศึกษาธิการประกาศปิดโรงเรียนในหลายแห่ง
และเล่อื นการเปดิ เทอมไปเป็นวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563 ซ่งึ ทางโรงเรียนปากเกรด็ ได้ดำเนินตามนโยบายของรัฐบาล
และกระทรวงศึกษาธิการ จึงทำให้เกิด เว็บไซต์ Pakkred learning cyber ขึ้น เพื่อช่วยส่งเสริมและสร้างแหล่ง
เรยี นรูท้ ถ่ี าวรใหก้ บั โรงเรยี นปากเกรด็ เตรียมพรอ้ มรบั มอื ในทุกสถานการณ์ที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคตขา้ งหน้า ทางผู้วิจัย
เห็นถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้เรียนรู้และใช้สื่อการเรยี นการสอนใน Pakkred learning cyber เพื่อใช้ในการ
แกไ้ ขปญั หาและเพิม่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าวิทยาศาสตร์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2563 กบั นกั เรียนทต่ี อ้ งเรียนท่บี ้านในสถานการณ์นแ้ี ละเพื่อเปน็ แหลง่ เรยี นร้ทู ีถ่ าวรในอนาคตข้างหนา้ อกี ดว้ ย
2. วัตถุประสงคข์ องงานวจิ ัย
1. เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ผ่านการจัดการเรียนรู้
โดยใชป้ ระเด็นทางสงั คมทีเ่ กี่ยวเน่อื งกบั วทิ ยาศาสตร์เปน็ ฐาน
3. ความสำคญั ของงานวจิ ัย
1. ครูผู้สอนในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ไดแ้ นวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ช่วยพฒั นาการให้เหตผุ ลอยา่ งไมเ่ ป็น
ทางการของนักเรียน
2. นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้รับการส่งเสรมิ และพฒั นาการใหเ้ หตผุ ลอย่างไม่เปน็ ทางการ
4. ขอบเขตของการวจิ ัย
4.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
ประชากร (Population) เป็นนักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นปากเกรด็
ท่ีเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 14 ห้องเรียน จำนวนนักเรยี น 582 คน
กลมุ่ ตัวอย่าง (Samples) เป็นนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/1 โรงเรยี นปากเกร็ด
ที่เรียนในภาคเรียนท่ี 1. ปีการศึกษา 2564 ทไี่ ดจ้ ากการสุ่มแบบอยา่ งง่าย จำนวน 1 ห้องเรยี น จำนวนนกั เรยี น 36
คน
4.2 ระยะเวลาท่ใี ช้ในการวิจยั
ดำเนินการวิจยั ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระหวา่ งวนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2564
ถงึ วันท่ี 7 สงิ หาาคม 2564 จำนวน 12 ชัว่ โมง
4.3 เนื้อหาที่ใชใ้ นการวิจัย
เปน็ เนือ้ หาวชิ า วิทยาศาสตร์ 5 รหัสวิชา ว23101 เร่ือง พันธศุ าสตร์ ประกอบด้วย
1) . โครโมโซม ดีเอน็ เอ และยนี
2) . กระบวนการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม
3) . ความผิดปกติทางพนั ธกุ รรม
4) . เทคโนโลยชี วี ภาพ
5. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ประกอบด้วย
5.1 แบบวดั การใหเ้ หตุผลอย่างไม่เป็นทางการ
5.2 แบบสัมภาษณ์แบบไมเ่ ปน็ ทางการ
6. ตวั แปรท่ีศึกษา
6.1 ตัวแปรต้น/ตวั แปรอิสระ (Independent Variable) ไดแ้ ก่
การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ประเด็นทางสังคมทเี่ ก่ียวเนื่องกบั วทิ ยาศาสตร์เปน็ ฐาน
6.2 ตัวแปรตาม (dependent Variable) ไดแ้ ก่
การให้เหตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
7. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ตัวแปรตาม
ตัวแปรตน้
การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมท่ี การใหเ้ หตุผลอย่างไม่เป็นทางการของ
เกีย่ วเนอื่ งกับวทิ ยาศาสตร์เปน็ ฐาน นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
8. นิยามศัพท์เฉาะ
8.1 การให้เหตุผลอย่างไมเ่ ป็นทางการ (Informal reasoning)
การให้เหตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการ (Informal reasoning) หมายถึง ความสามารถเฉพาะ
บุคคลในการอธิบายหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั สาเหตุ ขอ้ ดี-ขอ้ เสีย ทางเลอื กตา่ ง ๆ รวมถึงการสรา้ งและ
ประเมินประเดน็ ที่มีความซบั ซ้อนและยงั ไม่มขี อ้ สรปุ ที่ชดั เจน ซง่ึ การใหเ้ หตุผลแบบน้ีมักจะรวมมมุ มองและทัศนคติ
เขา้ ไปดว้ ย ในงานวิจยั นจี้ ะวัดการใหเ้ หตุผลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการของนักเรียนจากแบบวัดการใหเ้ หตุผลอย่างไม่เปน็
ทางการทีผ่ ู้วจิ ัยสรา้ งขึน้ และจดั กลุ่มรูปแบบของการใหเ้ หตุผลอยา่ งไม่เป็นทางการตามกรอบของ Sadler and
Zeidler (2005) เป็น 3 กลมุ่ คือ กลุ่มที่ 1 การให้เหตผุ ลทีอ่ ยู่บนพืน้ ฐานของความเป็นเหตุเป็นผล โดยลกั ษณะ
คําตอบจะมพี ืน้ ฐานมาจากการคิดเชงิ เหตแุ ละผล ท้งั ในด้านของความคุ้มค่า ประโยชน์ รวมถึงการประเมนิ ที่
เกยี่ วข้องกับผลที่เกิดจากเทคโนโลยี กลุม่ ท่ี 2 การให้เหตุผลทอ่ี ยูบ่ นพื้นฐานของอารมณ์ ลักษณะคําตอบจะแสดง
เหตุผลท่เี กยี่ วข้องกับอารมณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น ความเหน็ อกเห็นใจความชอบ กลุ่มท่ี 3 การใหเ้ หตุผลทอี่ ยบู่ น
พื้นฐานของสญั ชาตญาณ ลกั ษณะคาํ ตอบในกลมุ่ น้ีจะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงปฏิกริ ยิ าของ มนษุ ย์ทีเ่ กดิ ข้ึนทนั ทตี อ่
ประเด็นท่มี คี วามเกย่ี วข้องกบั ประเดน็ ทางสงั คมท่ีเก่ียวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ หลังจากน้ันผู้วิจยั จัดกลุ่มคุณภาพของ
การให้เหตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการตามกรอบแนวคิดของ Topcu (2008) ที่ประกอบด้วย 1) ข้อกล่าวอ้าง 2) เหตผุ ล
สนับสนนุ ข้อกล่าวอา้ ง 3) ขอ้ โต้แยง้ ทต่ี า่ งออกไป และ 4) เหตุผลเสริม
8.2 การจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน (SSI-based
teaching)
การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ระเดน็ ทางสงั คมทเี่ กย่ี วเนือ่ งกบั วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นฐาน (SSI-based teaching) หมายถงึ
การจัดการเรยี นรู้ที่นาํ ประเดน็ ทางสังคมทเี่ ก่ยี วข้องกับวทิ ยาศาสตร์และชวี ิตประจาํ วันของนกั เรียนมาอภิปรายใน
หอ้ งเรียนในขน้ั นําเข้าสบู่ ทเรยี นเพ่ือนาํ ไปสกู่ ารตงั้ คําถาม การอภิปรายและการให้เหตผุ ล โดยมุ่งเน้นใหน้ กั เรยี นมี
การอภปิ รายกลุม่ ใหญท่ ง้ั หอ้ งเรียนและการอภิปรายในกลุม่ ยอ่ ยเพือ่ แลกเปลย่ี นแสดงความคดิ เห็น ใหน้ ักเรยี นแสดง
บทบาทสมมติ โตว้ าที รวมท้ังให้นักเรียนโตแ้ ยง้ ในส่วนท่นี กั เรียนมีความเห็นที่แตกตา่ งกนั เพือ่ นําไปสู่ข้อสรปุ โดยมี
ข้นั ตอนในการจดั การเรียนรตู้ ามกรอบของ กฤตยิ าณี เจริญลอย (2557) ได้แก่
1) ขั้นจุดประเด็น คือการนำขา่ วหรือประเด็นทางสังคมทเ่ี กยี่ วข้องกบั การใช้วทิ ยาศาสตร์ ทก่ี ำลังเป็น
กระแสและกำลงั ไดร้ ับความสนใจ นำมาใชใ้ นการจัดการเรียนรโู้ ดยทำการกระต้นุ ให้นักเรียนเกดิ การต้งั คำถาม
เพ่อื ใหเ้ กดิ การคิดตอ่ ยอดในคำถามนน้ั ๆ
2) ขนั้ ท้าทายความคิด คือการที่นกั เรยี นได้ทำการตั้งคำถามท่ีตนเองมีความสงสัยจากประเด็นที่ครไู ด้
ยกตัวอยา่ งในห้องเรียน โดยคำถามจะต้องเกยี่ วข้องกบั แนวคิดท่ีจะทำการจดั การเรียนรู้ โดยครคู วรช้แี จงให้
นักเรยี นหรือคอยกรอบความคิดนักเรยี นหากนักเรยี นมคี ำถามท่ไี มเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั แนวคดิ ที่จะจดั การเรียนรู้
3) ขั้นวางแผนและค้นหา คอื ขั้นทใี่ ห้นกั เรยี นได้ค้นหาและหาคำตอบจากการสบื ค้นด้วยตนเอง จาก
แหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ หนังสือ วารสาร อนิ เตอรเ์ นต รวมไปถงึ การทดลอง โดยครคู วรควรแนะนำในเรอ่ื ง
ของแหล่งขอ้ มลู ทน่ี า่ เช่ือถือ และคอยส่งเสริมให้นักเรียนมีปฏสิ ัมพันธก์ นั ในการค้นควา้ หาคำตอบ
4) ขน้ั นำเสนอดว้ ยหลักฐาน คอื ขนั้ ทน่ี ักเรียนตา่ งนำเสนอขอ้ มลู ดว้ ยหลกั ฐานทต่ี นหรอื กลมุ่ ของตนได้หา
มา เพื่อนำมาอภปิ รายร่วมกนั ในชัน้ เรยี น เพือ่ อภิปรายหรอื ตอบคำถามท่ไี ด้ต้ังขึน้ ไวอ้ ย่างมเี หตแุ ละผล โดยครูควรมี
บทบาทในการควบคุมช้นั เรียนให้เป็นไปด้วยความสงบและไม่วนุ่ วาย
5) ขัน้ ประเมนิ คือขั้นท่นี ักเรียนได้รว่ มกนั ลงขอ้ สรุปแนวคิดทีไ่ ด้จากการจัดการเรียนรู้ โดยครูควรที่จะ
สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนได้รว่ มกันอภิปรายโดยตอ้ งมีหลักฐานเชงิ ประจักษใ์ นการนำเสนอดว้ ยเพอื่ การลงขอ้ สรุป
บทท่ี 2
เอกสารและงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง
การวจิ ัยเรอ่ื ง การพฒั นาการให้เหตผุ ลอย่างไมเ่ ป็นทางการของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ในหน่วยการ
เรยี นรเู้ รอ่ื ง พนั ธศุ าสตร์ ผ่านการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมท่ีเกย่ี วเนือ่ งกบั วิทยาศาสตร์เปน็ ฐาน ภาค
เรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษาและรวบรวมเอกสารที่เกย่ี วขอ้ งตามลำดบั ดงั นี้
2.1 ความหมายของการใหเ้ หตผุ ลแบบไมเ่ ป็นทางการ
การให้เหตุผลแบบไม่เปน็ ทางการ (Informal Reasoning) เป็นการใหเ้ หตุผลที่เกย่ี วขอ้ งกบั สถานการณท์ ม่ี ี
ความซบั ซอ้ น และเปน็ ประเด็นทางสังคมทเี่ กยี่ วข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ (Socioscientific Issue) เนอื่ งจากประเดน็
ดังกลา่ วเปน็ ประเดน็ ทีเ่ ป็นลักษณะของคำถามปลายเปดิ ไม่มีคำตอบที่ชัดเจน และมีมุมมองในการแก้ไขปญั หา
มากมาย การใหเ้ หตุผลแบบไม่เป็นทางการจึงเป็นการให้เหตุผลเพอ่ื ประกอบการตัดสินใจในสถานการณน์ น้ั
(Sadler and Zeidler, 2005) ซึง่ ไดม้ นี กั การศกึ ษาให้ความหมายไวด้ งั นี้
Zohar and Namet, (2002) เป็นการใช้เหตุผลในการอธิบายเกี่ยวกับสาเหตแุ ละผลที่เกดิ ขึน้ รวมไปถึง
ข้อดีและขอ้ เสยี ของสถานการณ์ท่ตี อ้ งมกี ารสร้างการตดั สนิ ใจ โดยมกี ารรวมทัศนคติและความคดิ เหน็ ของผู้ให้
เหตผุ ลเขา้ ไป ในสถานการณ์ที่มีความซับซ้อนและไม่มคี ำตอบท่ีชดั เจน
Sadler (2004) เปน็ การสรา้ งและประเมินประเดน็ และเรื่องราวทมี่ คี วามซบั ซอ้ นและไม่มคี ำตอบท่ีชดั เจน
ทเี่ กดิ ข้นึ ในสังคมโดยเกี่ยวขอ้ งกับสถานการณ์ท่ีตอ้ งตัดสินใจ ซึง่ เป็นสถานการณ์ทเ่ี กดิ ข้นึ จริงในสังคมโดยทไี่ ม่เคยมี
การแกไ้ ขปญั หามาก่อน
Sadler and Zeidler (2005) เป็นกระบวนการทางความคดิ และจิตใจในการเจรจาและหาทางแก้ปัญหา
ในสถานการณห์ รอื ประเด็นท่มี คี วามซบั ซ้อนเป็นการเลือกท่จี ะยอมรับหรอื ไมย่ อมรับในทางเลอื กต่าง ๆ ทม่ี ใี ห้
นอกจากนีศ้ ศเิ ทพ ปิตพิ รเทพนิ (2558) ได้สรปุ ความแตกตา่ งของการใหเ้ หตุผลแบบไม่เปน็ ทางการและการให้
เหตุผลแบบเป็นทางการไว้ดังตารางท่ี 1
ตารางท่ี 1 ความแตกตา่ งของการใหเ้ หตุผลแบบไมเ่ ปน็ ทางการและการใหเ้ หตผุ ลแบบเปน็ ทางการ
การให้เหตผุ ลแบบเป็นทางการ การใหเ้ หตุผลแบบไม่เปน็ ทางการ
การใหเ้ หตุผลแบบเป็นทางการมกั มกี ารใหข้ ้อ การให้เหตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการการให้ขอ้
สัณนิษฐานหรือเง่อื นไขเบื้องต้นไว้อยา่ งแนน่ อน สัณนิษฐานของบุคคลหนงึ่ อาจจะเปลย่ี นแปลงไดโ้ ดย
การเพมิ่ หรอื ลดข้อสัณนิษฐานได้และมกี ารใช้
ความคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ
การให้เหตุผลแบบเป็นทางการมกี ารใชร้ ปู แบบท่ี การให้เหตุผลแบบไมเ่ ปน็ ทางการนน้ั สามารถเกิดข้ึน
ถูกต้อง (Well-Formed Arguments) ของการ ได้ทัง้ สองด้านของสง่ิ ทเี่ ปน็ ประเดน็ ในการโตแ้ ยง้ และ
โต้แย้งและหารโตแ้ ยง้ มีลักษณะพื้นฐานเปน็ นิรนยั มีลักษณะพืน้ ฐานเปน็ อุปนยั (Inductive)
(Deductive)
การให้เหตุผลแบบเปน็ ทางการมลี ักษณะเปน็ ข้ันตอน การใหเ้ หตุผลแบบไมเ่ ปน็ ทางการ มลี กั ษณะคลา้ ย
ของนริ นัยที่เกย่ี วเนื่องกันยาว ดงั ทพี่ บในการพิสูจน์ พ่มุ ไม้ ที่แตกกิ่งกา้ นสาขาสัน้ ๆ ไมไ่ ดเ้ ปน็ กา้ นเดย่ี วท่ี
ทางคณติ ศาสตร์ ยาวแบบการให้เหตผุ ลแบบเปน็ ทางการ
จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรปุ ได้ว่า การใหเ้ หตุผลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ หมายถึง ความสามารถเฉพาะ
บคุ คลในการอธบิ ายหรือแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับสาเหตุ ขอ้ ดี-ขอ้ เสยี ทางเลอื กตา่ งๆ รวมถงึ การสร้างและ
ประเมินประเด็นทม่ี ีความซบั ซ้อนและยังไมม่ ขี ้อสรปุ ที่ชัดเจน โดยอาศัยหลักฐานหรือสง่ิ ท่ีไดร้ บั การยอมรบั แลว้ วา่
ถกู ตอ้ งมาสนับสนุน ซง่ึ การให้เหตผุ ลแบบนี้มักจะรวมมมุ มองและทศั นคติเข้าไปด้วย
2.2 ความหมายของประเด็นทางสงั คมท่เี กยี่ วข้องกับวทิ ยาศาสตร์
นักการศึกษาหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายประเด็นทางสงั คมที่เก่ยี วข้องกับวทิ ยาศาสตร์ใน หลายมติ ิ โดย
พิจารณาว่าประเดน็ ทางสังคมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ประเด็นซ่ึงกาํ ลังเป็นที่ถกเถยี งกันในสังคมทม่ี า
จากความแตกตา่ งทางความคดิ ท่ีเกี่ยวกับความถูกตอ้ งความเหมาะสม ของแนวคิดกระบวนการและเทคโนโลยีทาง
วทิ ยาศาสตร์ (Sadler, 2004) หรอื หมายถงึ ประเด็นท่ีมีขอ้ โตแ้ ย้งทมี่ ีความซับซอ้ น มีคําตอบไดห้ ลายแนวทาง หาข้อ
ยุติไม่ได้ เป็นปญั หาท่ตี อ้ งโตแ้ ยง้ กนั เน่ืองจากไมม่ คี าํ ตอบท่ีถกู ตอ้ ง (Kolsto, 2000; Patonis, Potari, and
Spiliotopoulou, 1999; Tyler, Duggan, and Gott, 2001; Sadler, 2004)
สาํ หรับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมทเ่ี กี่ยวข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ Zeidler and Nichols
(2009) ให้ความหมายว่า การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมท่ีเกยี่ วขอ้ งกับวิทยาศาสตรเ์ ป็นการจัดการ
เรียนร้ทู ีส่ ่งเสรมิ ให้นักเรียนไดม้ ีการอภปิ ราย และการโต้แยง้ ซง่ึ การโต้แยง้ จะมีการให้เหตผุ ลเชงิ จรยิ ธรรมหรือมกี าร
ประเมนิ ความคดิ เห็นเก่ียวกบั จริยธรรมในกระบวนการตดั สินใจแกป้ ญั หาในประเด็นนน้ั ๆ นอกจากน้ี Driver et
al., (2000) และ Kolsto (2001) กล่าววา่ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้ประเด็นทางสงั คมที่เก่ียวข้องกบั วทิ ยาศาสตร์
คือ การคน้ คว้า การอภปิ รายให้เหตุผลและการตัดสนิ ใจเกย่ี วกับประเดน็ ท่นี าํ มาศกึ ษา ผลทไ่ี ดร้ ับตามมา คือ การ
สง่ เสริมและพัฒนานกั เรียนใหส้ ามารถรบั มอื และจัดการกับประเดน็ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ซ่ึงมีผลตอ่ นักเรียน
เองทั้งในปจั จบุ ันและอนาคตเป็นพลเมอื งทม่ี ีคณุ ภาพ มคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม และสามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้
ทางวิทยาศาสตรใ์ นชวี ิตจรงิ ได้ อีกทั้ง Sadler and Zeidler (2004) เสนอแนวคิดวา่ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรด์ ว้ ย
ประเด็นปัญหาทางสงั คมทีเ่ กี่ยวข้องกบั วิทยาศาสตร์ มักเกี่ยวข้องกบั การอภิปราย การโต้แยง้ เพื่อนําไปสู่การแสดง
ความคดิ เห็น และการตดั สนิ ลงความเหน็ ดงั น้ันการจัดการเรยี นรูด้ ้วยวธิ ีน้ี จึงเปน็ การกระตนุ้ ให้นักเรียนค้นควา้ หา
ความรู้ เพอ่ื ใช้เปน็ ข้อมูลในการอภปิ รายให้เหตุผลเพือ่ สรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เชน่ ช่วย
ใหน้ กั เรยี นเหน็ ความสัมพนั ธท์ ี่ซบั ซ้อนระหวา่ งวทิ ยาศาสตร์ สงั คมและมนุษย์
จากความหมายของประเดน็ ทางสงั คมท่ีเก่ียวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ข้างต้นสามารถสรุปไดว้ า่ การจัดการ
เรยี นรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมทีเ่ ก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตรเ์ ป็นการจดั การเรยี นรูท้ ีส่ ง่ เสริมให้นักเรียนได้มีการ
อภิปราย และการโต้แยง้ ซง่ึ การโต้แย้งจะมีการใหเ้ หตุผลเชิงจรยิ ธรรมหรือมีการประเมินความคิดเห็นเก่ียวกับ
จรยิ ธรรมในกระบวนการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาในประเดน็ น้นั
2.3 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง
มีผูว้ ิจัยหลายท่านได้ทำการศึกษาการพัฒนาการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการของนักเรยี นผา่ นการจดั การ
เรยี นรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสังคมทเี่ กย่ี วเนอ่ื งกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน ดังน้ี
รศั มี เทียมแสง (2555) ศึกษาการเปรยี บเทียบผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ
วทิ ยาศาสตรร์ ปู แบบการเรียนผสมผสานกับรูปแบบการเรียนปกติท่มี ีตอ่ ความสามารถในการ โต้แย้งและการคดิ เชงิ
เหตผุ ลของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ทีม่ ีผลการเรียนวิชาชีววิทยาต่างกนั โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นกั เรยี นชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ 6 จาํ นวน 60 คนจาก 2 หอ้ งเรียน ผลการศกึ ษาพบวา่ นกั เรยี นโดยส่วนรวมและนกั เรียนทม่ี ีผลการ
เรยี นชีววิทยาแตกตา่ งกัน หลังการจัดการเรยี นร้โู ดยใชป้ ระเดน็ ทางสังคมทเี่ กีย่ วขอ้ งกับวิทยาศาสตร์โดยใชร้ ปู แบบ
การเรยี นผสมผสานนักเรียนมคี วามสามารถในการโต้แย้งและการคดิ เชงิ เหตผุ ลเพมิ่ ข้นึ จากก่อนการจัดการเรียนรู้
อย่างมีนัยสาํ คัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 แตน่ กั เรียนทมี่ ผี ลการเรียนวชิ าชีววิทยาสงู มีการคดิ เชงิ เหตุผลมากกวา่
นกั เรียนทมี่ ีผลการเรียนวชิ าชีววิทยาต่ำ (p<.025) และนักเรียน กลมุ่ ที่จดั การเรยี นรู้ โดยใช้ประเด็นทางสังคมท่ี
เกีย่ วเนื่องกบั วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนผสมผสาน มีความสามารถในการโต้แย้งและการคดิ เชงิ เหตุผล
มากกวา่ นกั เรยี นกลุ่มทจี่ ดั การเรยี นรู้โดยใช้ รปู แบบการเรยี นปกติ อยา่ งมนี ยั สาํ คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05
ลฎาภา สทุ ธกลู และลอื ชา ลดาชาติ (2556) ได้ศึกษาการให้เหตุผลทางวทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นชนั้
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 จํานวน 9 คน โดยใช้แบบสัมภาษณถ์ ึงโครงสร้างแล้ววเิ คราะห์ข้อมลู ด้วยการตีความและระบุ
องคป์ ระกอบทสี่ าํ คญั ท่ีสุดของการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ ข้อสรปุ หลกั ฐานและการชี้แจงความสัมพันธ์
ระหวา่ งขอ้ สรุปและหลักฐาน พบวา่ นกั เรียนส่วนใหญ่ลงขอ้ สรุปไม่ถกู ต้องหรอื ให้เหตผุ ลท่มี ีองค์ประกอบไมค่ รบถว้ น
ไมน่ ําหลกั ฐานมาใช้ในการลงขอ้ สรปุ และให้เหตุผล แมจ้ ะมนี ักเรยี นท่ีลงขอ้ สรุปและให้เหตุผลตามหลักฐานทีม่ ี แต่ก็
ยังไม่สามารถชแ้ี จงได้วา่ ข้อสรุปและหลกั ฐานสัมพนั ธก์ ันอยา่ งไร ซงึ่ ผลการวิจยั น้ี แสดงให้เห็นวา่ การจดั การเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ควรสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นพัฒนาการให้เหตุผลทางวทิ ยาศาสตร์
ประภา สมสขุ และคณะ (2558) ไดศ้ กึ ษาการพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นรูว้ ชิ าฟสิ กิ ส์ทใ่ี ชก้ ารโต้แยง้ เชิง
วิทยาศาสตรเ์ พ่อื ส่งเสรมิ ความเข้าใจมโนทัศน์และความสามารถในการให้เหตผุ ลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ โดยมขี ั้นตอน
การดําเนินการจัดการเรยี นรู้ 5 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1) ข้นั นาํ เขา้ สู่ ประเด็น 2) ข้ันกําหนดหัวข้อในการ โต้แยง้ 3) ขน้ั เก็บ
รวบรวมหลกั ฐาน 4) ขั้นสรา้ งการโตแ้ ยง้ และ 5) ข้ันสอ่ื สารคําอธิบายไปยงั ผู้อ่นื ผลการวจิ ัยข้อหนงึ่ พบว่าการฝกึ ให้
นักเรยี นสรา้ งคาํ อธิบายท่ตี ้ังอยูบ่ นพน้ื ฐานของเหตแุ ละผล และการแสดงความสมั พันธ์ที่สอดคลอ้ งกันของเหตุและ
ผลด้วยหลกั ฐาน สามารถพัฒนาทกั ษะในการส่ือสารและการใหเ้ หตุผลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการของนกั เรยี นได้ อย่างไรก็
ตามครูจําเป็นต้องเตรียมความพรอ้ มของนกั เรียนในดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรก์ อ่ นการจัดการเรียนรู้
เพอื่ ใหน้ ักเรียนสามารถหาคําตอบทห่ี ลากหลาย และให้เหตุผลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการไดด้ ขี นึ้
Yenilmez, et al. (2006) ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเรียนรูไ้ ด้ดีของนักเรยี นกบั
ความสามารถในการให้เหตุผลของนกั เรียน โดยศกึ ษาในนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 จาํ นวนทั้งส้ิน 117 คน ใน
หนว่ ยการเรยี นรูเ้ รอื่ ง การสังเคราะหด์ ้วยแสง การหายใจของพืช พบวา่ นักเรียนที่มกี ารให้เหตุผลที่ดจี ะสามารถ
เรียนรแู้ ละเข้าใจเนือ้ หาได้ดีกว่านกั เรยี นทไี่ มม่ ที ักษะดังกลา่ ว ในเร่อื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง อย่างไรก็ตามเขา
พบว่าเนือ้ หานี้ค่อนขา้ งซบั ซอ้ น จงึ ไมต่ ้องการใหน้ กั เรียนจําขอ้ เทจ็ จรงิ แตอ่ ยากให้นกั เรียนไดส้ าระสาํ คญั และสรา้ ง
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ เขายังพบอกี วา่ นกั เรยี นทีส่ ามารถใหเ้ หตุผลไดจ้ ะสามารถเปรียบเทยี บ ทํานาย
ตัง้ สมมติฐาน สามารถเผชญิ กับความรู้ทค่ี ลาดเคลื่อนไปจากความจริงและพัฒนาความเขา้ ใจใหถ้ กู ต้องไดส้ ามารถ
พฒั นาและเกิดการเรยี นรอู้ ยา่ งมีความหมายได้ ในขณะท่ีนักเรียนท่ไี มม่ ที กั ษะการให้เหตุผลจะยงั คงใช้ความรูท้ ี่
คลาดเคล่ือนในการอธบิ ายสง่ิ ต่าง ๆ นอกจากนเ้ี ขายังได้เสนอว่า การชว่ ยใหน้ กั เรยี นมีการเรียนรูอ้ ยา่ งมคี วามหมาย
ได้ ครูตอ้ งชว่ ยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจสาระสําคญั ของแต่ละเนื้อหาเข้าใจความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของเนื้อหา การ
ถา่ ยโอนความรู้ รวมถึงการนาํ ส่ิงทีไ่ ดเ้ รยี นรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาํ วัน โดยครูควรคาํ นึงถงึ ความสามารถในการให้เหตุผล
ของนกั เรียนและออกแบบกิจกรรมหรอื จดั การเรยี นรใู้ ห้เหมาะสม
Sadler et al. (2007) ศกึ ษาผลการจัดการเรยี นรู้โดยใชป้ ระเด็นทางสังคมท่ีเกยี่ วเน่ืองกับ วิทยาศาสตร์
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ในโรงเรยี นขนาดกลาง จํานวน 24 โรงเรียน โดยใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์เก่ียวกบั การ
ใหเ้ หตุผลในเร่อื งประเดน็ ทางสังคมที่เกย่ี วเนือ่ งกบั วิทยาศาสตรแ์ ละประเมนิ ผลจากเกณฑ์ท่กี าํ หนด ผลการศึกษา
พบว่านักเรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ งทไี่ ด้รบั การจัดการเรียนรโู้ ดยใชป้ ระเด็นทางสังคมท่ีเกย่ี วเนื่องกับวิทยาศาสตร์มี
ความสามารถในการใหค้ วามหมายและการประเมินค่าไดด้ ีข้ึน นอกจากน้ีนักเรียนยังสามารถเช่อื มโยงเรือ่ งราวทาง
วทิ ยาศาสตรก์ บั สงั คมไดม้ ีความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตรม์ ากขน้ึ ผลการวิจยั ยงั พบวา่ การจดั การเรียนรูแ้ บบน้ีเป็น
แนวทางในการจัดการปญั หาด้านการอยู่รว่ มกันในสงั คมอีกด้วย
Topcu (2008) ไดศ้ ึกษาการใหเ้ หตุผลอย่างไม่เป็นทางการของนิสิตฝึกประสบการณ์ ในประเด็น ทาง
สังคมท่ีเกีย่ วเนือ่ งกบั วทิ ยาศาสตร์ โดยศกึ ษารปู แบบการใหเ้ หตผุ ล คุณภาพของการใหเ้ หตุผล ความถใี่ นการให้
เหตุผลอยา่ งไม่เป็นทางการ รวมท้งั ปจั จัยท่มี ีผลต่อการใหเ้ หตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการของนสิ ิตในประเด็นทางสงั คม
ทเ่ี ก่ยี วเนอ่ื งกบั วิทยาศาสตร์โดยใช้ประเดน็ ทางสงั คมท่เี กี่ยวเนือ่ งกับวทิ ยาศาสตรท์ ง้ั หมด 7 ประเด็น ซึง่ เกี่ยวข้องกับ
ยืนบําบัด 3 ประเด็น การโคลนนิ่ง 3 ประเด็น และภาวะโลกรอ้ น 1 ประเด็น จากนัน้ เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้
แบบสอบถามแบบสมั ภาษณ์ รวมท้งั ใบกิจกรรมและวีดทิ ัศน์บันทึกการจัดการเรยี นรู้ โดยแบง่ รปู แบบการให้เหตุผล
อยา่ งไมเ่ ป็นทางการเป็น 1) การให้เหตุผลที่อย่บู นพนื้ ฐานของ ความเป็นเหตุเป็นผลทางวทิ ยาศาสตร์ 2) การให้
เหตุผลทีอ่ ยบู่ นพ้ืนฐานของอารมณ์ 3) การให้เหตุผลทอ่ี ยู่บนพ้ืนฐานของสัญชาตญาณ ในด้านคุณภาพของการให้
เหตผุ ลพบว่า นสิ ติ สามารถสร้างข้อกลา่ วอ้างและให้เหตผุ ลได้ แตพ่ วกเขาแทบจะไมไ่ ดพ้ ัฒนาการใหเ้ หตผุ ลที่คัดค้าน
ขอ้ กล่าวอา้ งน้ันไดเ้ ลย และแมว้ า่ บรบิ ทของประเดน็ ท่ยี กข้ึนมาจะมคี วามแตกต่างกนั แต่ความถ่ขี องการให้เหตุผล
นนั้ ไม่ตา่ งกนั นอกจากน้ีคุณภาพของการให้เหตผุ ลกไ็ มไ่ ด้ข้ึนอยู่กบั บริบททเ่ี ป็นประเดน็ ทางสังคมท่ีเกีย่ วเน่ืองกับ
วิทยาศาสตร์ทัง้ หมด แต่ปัจจยั ทม่ี ีผลมากคือประสบการณ์การพิจารณาด้านสงั คม การพจิ ารณาด้านคณุ ธรรม
จริยธรรม และความกังวลเกยี่ วกับเทคโนโลยี
บทท่ี 3
วิธกี ารดำเนนิ การวิจยั
การวจิ ัยเรอ่ื ง การพัฒนาการใหเ้ หตผุ ลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในหน่วยการ
เรยี นร้เู ร่อื ง พนั ธุศาสตร์ ผ่านการจัดการเรียนร้โู ดยใชป้ ระเด็นทางสังคมท่ีเกีย่ วเนอ่ื งกับวิทยาศาสตร์เปน็ ฐาน ภาค
เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ผูว้ ิจยั ดำเนินการดังนี้
1. การกำหนดประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวจิ ยั
3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
5. สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล
รายละเอยี ดในแต่ละขั้นตอนดังน้ี
การกำหนดประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
ประชากร (Population) เปน็ นักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนปากเกรด็
ท่ีเรยี นในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 14 หอ้ งเรียน จำนวนนกั เรยี น 582 คน
กลมุ่ ตวั อย่าง (Samples) เป็นนักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนปากเกร็ด
ทเี่ รยี นในภาคเรยี นที่ 1. ปีการศกึ ษา 2564 ท่ไี ดจ้ ากการสุ่มแบบอย่างงา่ ย จำนวน 1 หอ้ งเรียน จำนวนนักเรยี น 36
คน
การสรา้ งและหาคุณภาพเครื่องมอื วิจัย
1. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่
1.1 แบบวดั การให้เหตุผลอยา่ งไมเ่ ป็นทางทางการ
แบบวัดการใหเ้ หตุผลแบบไม่เปน็ ทางการของนักเรียนผวู้ ิจัยไดใ้ ช้ประเดน็ ทางสังคมที่เก่ียวข้องกับ
วิทยาศาสตร์เป็นสถานการณ์คำถามเพื่อให้นักเรียนแสดงถึงการให้เหตุผลแบบไม่เป็นทางการ โดยนักเรยี นจะตอ้ ง
สร้างการตัดสินใจในทางเลือกของประเด็นดังกล่าว โดยให้เหตุผลสนับสนุนการตัดสินใจนั้น โดยรูปแบบของข้อ
คำถามเป็นรูปแบบคำถามปลายเปิด (open-ended) ที่ให้นักเรียนได้เขียนอธิบายในคำตอบอย่างอิสระภายใต้
กรอบของประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกีย่ วข้องกับวทิ ยาศาสตร์ โดยให้นักเรยี นทำแบบวัดนี้ก่อนและหลังจากเสรจ็
ส้นิ การจัดการเรยี นรดู้ ้วยประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์โดยมีขัน้ ตอนการสร้างแบบวัดการให้เหตุผล
แบบไม่เป็นทางการดงั นี้
1.1.1 ศึกษางานวิจยั และเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกับการใหเ้ หตุผลแบบไมเ่ ปน็ ทางการ ซึง่ ยงั เป็นงานวิจยั ท่ีพบ
น้อยมากโดยเพาะในประเทศไทย โดยจากการศึกษาพบว่าการให้เหตผุ ลแบบไม่เปน็ ทางการของนักเรียนมักจะ
เกยี่ วขอ้ งกบั ประเด็นทางสังคมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ หรอื เร่ืองราวท่มี ีความซับซอ้ น เนือ่ งจากการใหเ้ หตุผล
แบบไมเ่ ปน็ ทางการเปน็ การใหเ้ หตุผลเพ่ือสนบั สนุนการตัดสินใจของนักเรยี นในการสรา้ งทางเลือกในประเดน็ ทม่ี ี
ความซบั ซอ้ นเหลา่ นั้น โดยผ้วู ิจยั พบวา่ หากนำปญั หาทอ่ี ยู่ใกลต้ ัวนกั เรยี น และมีความสอดคลอ้ งกบั บริบทของ
นักเรียนจะทำใหเ้ พม่ิ ศักยภาพและคุณภาพของการใหเ้ หตุผลแบบไม่เป็นทางการของนักเรียนได้ยง่ิ ข้นึ
1.2.2 ทำการสร้างแบบวดั การใหเ้ หตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการโดยรปู แบบของแบบวดั เปน็ คำถามปลายเปิด
ทั้งหมดจำนวน 5 ข้อคำถามโดยใชป้ ระเดน็ ทางสังคมที่เกี่ยวขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ท่ีใหน้ ักเรยี นเขียนอธบิ ายคำตอบ
ไดอ้ ย่างอสิ ระ ซึง่ คำถามแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น สว่ นท่ี 1 เปน็ บทความส้นั ๆ เก่ียวกับประเดน็ ทางสงั คมที่เก่ียวข้อง
กบั วทิ ยาศาสตร์ ส่วนที่ 2 เปน็ คำถามท่ีเกยี่ วข้องกับการให้เหตุผลในประเด็น
1.1.3 นำแบบวัดการใหเ้ หตุผลแบบไม่เป็นทางการที่ไดส้ รา้ งขึ้นให้ผเู้ ช่ียวชาญทงั้ 3 ทา่ นตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งและความเหมาะสมของแบบวดั โดยผเู้ ช่ียวชาญประกอบดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการสอนในระดบั ชนั้
มธั ยมศึกษาตอนต้น
1.1.4 ปรบั แกแ้ บบวัดการให้เหตุผลแบบไมเ่ ป็นทางการตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญก่อนการนำไป
ทดลองใช้ในกลมุ่ นกั เรียนตวั อยา่ ง
1.1.5 นำแบบวดั การใหเ้ หตผุ ลแบบไมเ่ ป็นทางการท่ี นำไปทดลองใชก้ บั กลมุ่ นักเรียนตวั อย่างที่ไมใ่ ช่
นักเรียนในกล่มุ ท่ศี ึกษาเพ่ือตรวจสอบความสามารถของนักเรียนในการทำแบบวัด การตีความขอ้ คำถามของ
นกั เรยี น และเวลาท่นี กั เรยี นใช้ในการทำแบบวดั เพอ่ื ตรวจดูว่าเปน็ ไปตามแนวทางที่กำหนดไวห้ รือไมอ่ ย่างไร โดยให้
นกั เรยี นทำแบบวัดการให้เหตุผลแบบไมเ่ ปน็ ทางการกอ่ นและภายหลงั จากการจัดการเรยี นรูเ้ สร็จสนิ้
1.1.6 ปรับแกแ้ บบวัดดงั กล่าวตามคำแนะนำและขอ้ มลู ที่ได้จากการทดลองใช้ในนักเรยี นกลุ่มตวั อยา่ ง
จากนัน้ จึงนำแบบวัดการให้เหตุผลแบบไม่เปน็ ทางการทีท่ ำการปรับแก้สมบรู ณแ์ ลว้ นำไปใชก้ ับนักเรียนในกลมุ่ ท่ี
ศกึ ษาเพือ่ ตรวจดกู ารใหเ้ หตุผลแบบไม่เป็นทางการของนกั เรียนภายหลังจากการจัดการเรียนรดู้ ว้ ยประเดน็ ทาง
สังคมท่ีเกี่ยวข้องกับวทิ ยาศาสตร์ในแต่ละคาบเรยี น
1.2 แบบสัมภาษณแ์ บบไม่เปน็ ทางการ
แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างนี้ผู้วิจัยได้จดั ทำขึน้ เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของนกั เรยี นในด้านการให้
เหตผุ ลแบบไม่เป็นทางการของนักเรียน ในกรณที ่ีนักเรยี นได้มกี ารใหค้ ำตอบทแี่ สดงในแบบวัดการให้เหตุผลแบบไม่
เป็นทางการทไ่ี ม่ชัดเจน เพือ่ ใหผ้ ลการวจิ ยั มคี วามถูกต้องและตรงตามความรู้สึกและทกั ษะกระบวนการท่ีนักเรียนมี
อยมู่ ากท่ีสดุ จงึ ไดท้ ำการใช้การสมั ภาษณแ์ บบกงึ่ โครงสร้างเพื่อตรวจสอบความถูกตอ้ งของผลการวิจยั ในคร้ังน้ี โดย
มขี นั้ ตอนในการสร้างแบบสัมภาษณแ์ บบก่งึ โครงสรา้ งดงั นี้
1.2.1 ทำการตรวจดูคำตอบของนักเรียนจากการให้คำตอบในการทำแบบวัดการให้เหตุผลแบบไม่เป็น
ทางการของนักเรยี นและทำการวเิ คราะหค์ ำตอบของนกั เรยี นเพอ่ื จดั ประเภทของคำตอบตามเกณฑ์การวเิ คราะห์ผล
ที่ผวู้ จิ ัยไดส้ ร้างขึน้ อยา่ งรอบคอบ
1.2.2 ผู้วิจัยเลือกคำถามท่ีนกั เรยี นได้ให้คำตอบไวไ้ มช่ ัดเจนเพื่อนำมาสรา้ งเป็นข้อคำถามในแบบสัมภาษณ์
ดังกล่าวเพ่ือตรวจสอบคำตอบของนกั เรยี นด้วยการสัมภาษณ์และเพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลในเชิงลึกในบางประเด็นท่ียังขาด
หายไปเพื่อความครบถว้ นสมบรู ณ์ของผลการวจิ ยั
1.2.3 นำแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่ได้สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่านตรวจสอบความถูกต้องและ
ความเหมาะสมของแบบวดั
1.2.4 ทำการปรบั แก้ขอ้ คำถามตามทีไ่ ด้รับคำแนะนำจากผูเ้ ชี่ยวชาญ กอ่ นนำไปใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลเพ่ิมเติม
จากนกั เรยี น
1.2.5 นำแบบสัมภาษณ์กึง่ โครงสรา้ งไปใช้ในการสมั ภาษณ์นักเรียน โดยทำการเลอื กนักเรยี นท่มี ีผลคำตอบ
ท่ีไมช่ ัดเจนในเร่อื งการให้เหตผุ ลแบบไมเ่ ปน็ ทางการ โดยทำการสุ่มนักเรยี นท่มี ผี ลคำตอบไมช่ ัดเจนจำนวน 10% มา
ทำการสมั ภาษณ์เพ่ือเก็บข้อมูลในเชงิ ลึกและในรายละเอียดที่ขาดหายไป โดยในจะทำการสัมภาษณ์ผู้วิจัยจะได้ทำ
การบันทกึ เสยี งการสนทนาเพ่ือนำเสยี งสนทนาดังกลา่ วมาทำการถอดความเพื่อวิเคราะห์ผลต่อไป
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
1. แบบแผนการทดลอง
แบบแผนการทดลองใชร้ ูปแบบการทดลองกลมุ่ เดียว และมีการวดั หลังการทดลอง 1 ครง้ั (Posttest-
Only Control Group Design) เขียนเปน็ รปู แบบ
การทดลองดังน้ี
รปู แบบการทดลอง
O1 X O2
O1 หมายถึง การวดั ตวั แปรตามก่อนการทดลอง
X หมายถึง การทดลองจดั การเรียนรู้
o2 หมายถึง การวดั ตวั แปรตามหลงั การทดลอง
2. ข้ันตอนดำเนนิ การทดลอง
ผวู้ ิจัยจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนกับกลุ่มตวั อย่างโดยดำเนนิ การ ดงั น้ี
1. ก่อนการทดลอง ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลและทำแบบวัดการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการ
ฉบับนี้เป็นแบบวัดชนิดปลายเปิด ทั้งหมด 2 หน้า จำนวน 4 ข้อ แบ่งออกเป็น2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นบทความ
สำหรบั ใหน้ กั เรียนอ่านประกอบ และตอนท่ี 2 เปน็ คำถามสำหรบั การวัดการให้เหตผุ ลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ
2. ดำเนินการทำการจัดการเรยี นรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ได้วางไว้ และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมอื ท่ีกลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้
3. เมอ่ื สนิ้ สุดการจัดการเรียนรผู้ วู้ จิ ัยจะใหน้ ักเรยี นทำแบบวดั การใหเ้ หตผุ ลแบบไม่เปน็ ทางการ เพ่ือตดิ ตาม
พัฒนาการการให้เหตุผลแบบไม่เป็นทางการของนักเรียน และให้นักเรียนทำอนุทินเพ่ือเก็บรวมรวมข้อมูลในด้าน
ความรู้สึกต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ผ่านการจัดการเรียนรู้ด้วยประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ของ
นักเรยี นในแตล่ ะคาบ และผู้วิจยั ทำการบันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้เพ่ือสะทอ้ นผลของการจดั การเรียนรู้ของผู้วิจัย
ในคร้ังนั้น ๆ เพือ่ การปรับปรงุ แกไ้ ขในครัง้ ถดั ไป
3. การวิเคราะหข์ ้อมูล
ผวู้ จิ ัยดำเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี
1. แบบวัดการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการ
1.1 ผู้วิจยั รวบรวมแบบวดั ของนกั เรยี น แล้วนาํ มาอา่ นเพ่ือหารูปแบบของการใหเ้ หตุผลของนักเรียน
จากนนั้ ผวู้ ิจยั จดั กลุ่มคาํ ตอบของนกั เรียนเปน็ 3 กลมุ่ ตามรูปแบบของการใหเ้ หตผุ ลภายใตก้ รอบของ Sadler and
Zeidler (2005) โดยกลมุ่ ที่ 1 การให้เหตุผลท่อี ยู่บนพ้นื ฐานของความเปน็ เหตเุ ป็นผล กล่มุ ท่ี 2 การให้เหตุผลทอ่ี ยู่
บนพ้นื ฐานของอารมณ์ และกล่มุ ที่ 3 การให้เหตุผลทีอ่ ยูบ่ นพน้ื ฐานของสญั ชาตญาณ โดยแต่ละกลุ่มมรี ายละเอียด
ดงั น้ี
กลุ่มที่ 1 การให้เหตุผลทอี่ ยูบ่ นพื้นฐานของความเป็นเหตเุ ปน็ ผล มพี ื้นฐานจากการคิดเชิงเหตุและผล ท้งั ใน
ด้านของความคมุ้ ค่า ประโยชน์ รวมถึงการประเมนิ ท่เี กย่ี วข้องกบั ผลท่เี กิดจากเทคโนโลยี
กลมุ่ ท่ี 2 การใหเ้ หตุผล ท่อี ยบู่ นพ้ืนฐานของอารมณ์ เปน็ การให้เหตุผลที่ตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของอารมณ์ เช่น
ความเห็นอกเหน็ ใจ ซึ่งการให้เหตุผลในกลุ่มน้ีจะเน้นไปที่ความเก่ยี วข้องกบั อารมณต์ า่ ง ๆ ของมนุษย์
กลุ่มท่ี 3 การให้เหตุผลทอ่ี ยบู่ นพน้ื ฐานของสัญชาตญาณ เปน็ การให้เหตผุ ลท่ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปฏิกิริยาของ
มนุษย์ทีเ่ กดิ ขนึ้ ทันทีตอ่ ประเด็นทม่ี ีความเก่ยี วขอ้ งกบั ประเด็นทางสังคมท่ีเกีย่ วข้องกบั วทิ ยาศาสตร์
1.2 ผวู้ จิ ัยวเิ คราะห์คําตอบของนกั เรยี นในเชงิ คณุ ภาพ โดยใชอ้ งค์ประกอบของการให้เหตผุ ลอย่างไม่เปน็
ทางการตามกรอบของ Topcu (2008) โดยพิจารณาความสมบูรณ์ของแต่ละองคป์ ระกอบของการให้เหตผุ ลอยา่ ง
ไมเ่ ป็นทางการ ท้งั 4 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่
1.2.1 ขอ้ กลา่ วอา้ ง (Claim) หมายถึง สิ่งทเ่ี ป็นความคิดหรือข้อคิดเห็น เปน็ ความรสู้ กึ สว่ น
บุคคลซึง่ มคี วามแตกตา่ งกนั โดยจะข้ึนอยูก่ บั ความเชอื่ ค่านิยม และวัฒนธรรมในสังคมนั้น ๆ
1.2.2 เหตุผลสนับสนนุ ขอ้ กล่าวอ้าง (Justification) สง่ิ ทใ่ี ชใ้ นการสนบั สนนุ ข้ออา้ งที่
ประกอบด้วยข้อมูลจากแหล่งตา่ งๆ ทําให้ข้ออ้างนั้นมีความนา่ เชอื่ ถือมากย่งิ ขนึ้
1.2.3 ขอ้ โตแ้ ยง้ ที่ต่างออกไป (Counter position) หมายถึง ข้ออ้างท่ีต่างออกไปและเหตผุ ล
ทีน่ า่ เชอ่ื ถอื มาสนับสนุนข้ออ้างที่ต่างออกไปน้นั
1.2.4 เหตผุ ลคัดคา้ น (Rebutal) หมายถงึ สถานการณ์หรอื หลักฐานท่ที าํ ใหเ้ หตุผลของผอู้ นื่ ท่ี
มคี วามแตกต่างจากของตนไดร้ ับความน่าเชือ่ ถือน้อยลงและตกไป
1.3 ผูว้ ิจยั วิเคราะห์ข้อมูล จากนั้นจงึ นําผลที่ได้มาสรุปเพื่อจดั กลมุ่ รูปแบบและคุณภาพการให้เหตุผลอย่าง
ไม่เป็นทางการของนกั เรยี น
2. แบบสมั ภาษณก์ ารให้เหตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการ
2.1 ผ้วู ิจยั ถอดเทปการสัมภาษณ์ของนักเรียนแล้วนําขอ้ ความท่ีไดม้ าอ่านอยา่ งละเอียด เพ่อื หารปู แบบของ
การให้เหตุผลของนกั เรียน
2.2 ผวู้ จิ ัยจัดกลุม่ คําตอบของนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม ตามรปู แบบของการให้เหตุผลภายใตก้ รอบของ Sadler
and Zeiler (2005) โดยกล่มุ ท่ี 1 การให้เหตุผลที่อยบู่ นพน้ื ฐานของความเปน็ เหตเุ ป็นผล กลุ่มท่ี 2 การใหเ้ หตุผลท่ี
อย่บู นพ้ืนฐานของอารมณ์ และกลุ่มที่ 3 การใหเ้ หตุผลทอี่ ยู่บนพนื้ ฐานของสัญชาตญาณ
2.3 ผวู้ ิจัยวเิ คราะหค์ ําตอบของนักเรียนในเชิงคณุ ภาพ โดยใชอ้ งค์ประกอบของการให้เหตุผลอยา่ งไมเ่ ป็น
ทางการตามกรอบของ Topcu (2008) ที่ประกอบด้วย ข้อกล่าวอา้ งเหตผุ ล สนับสนุนขอ้ กล่าวอา้ ง ขอ้ โต้แย้งตา่ ง
ออกไป และเหตุผลเสรมิ
4. สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
4.1 แบบแผนการวิจัยและสถติ ิทใ่ี ชท้ ดสอบสมมุตฐิ าน
-
4.2 สถติ ิพ้นื ฐาน
4.2.1 คา่ เฉลี่ยเลขคณติ ( X )= fi x i , ( X )= xi
N N
ใช้หา ค่าเฉลี่ยคะแนนกอ่ นเรียน และหลงั เรียน
4.2.2 คา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D. )= fixi2 −(x)2 , (S.D. )= n(xi2 )−(xi )2
n(n −1) n(n −1)
ใชห้ า ค่าการกระจายท่ีสำคญั ทางสถิติ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนาการใหเ้ หตผุ ลอย่างไม่เปน็ ทางการของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ในหน่วยการเรยี นรูเ้ ร่ือง
พนั ธุศาสตร์ ผา่ นการจัดการเรียนร้โู ดยใช้ประเด็นทางสงั คมท่เี ก่ยี วเนื่องกับวิทยาศาสตร์เปน็ ฐาน ภาคเรยี นที่ 1 ปี
การศึกษา 2564 ผู้วิจยั นำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ดังนี้
การนาํ เสนอผลการวจิ ัยจากการเกบ็ รวบรวม และวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยแบบวัดการใหเ้ หตุผลอยา่ งไม่ เป็น
ทางการ เรือ่ ง โรคทางพนั ธกุ รรมกับการทำแทง้ ผู้วิจยั แบ่งเป็น 2 สว่ นดงั น้ี
1. รปู แบบของการให้เหตผุ ลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จากการศกึ ษา ผู้วจิ ัย
พบว่า รูปแบบการให้เหตุผลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการของนักเรยี นส่วนใหญจ่ าํ นวน 19 คน (รอ้ ยละ 55.88) มีพฒั นาการ
คงท่ี โดยจํานวน 8 คน (ร้อยละ 19.77) ให้เหตุผลบนพ้นื ฐานของความเป็นเหตเุ ป็นผลทง้ั ก่อนเรียนและหลงั เรยี น
โดยใชข้ อ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์มาสนับสนนุ เช่น “ดาวนซ์ ินโดรม ไม่สามารถรกั ษาให้หายขาดได้ เพราะเกิดจากความ
ผิดปกตขิ องโครโมโซม เกิดจากโครโมโซมคู่ท่ี 21 เกินมา 1 โครโมโซม”(เหตผุ ลสนบั สนนุ ข้อกล่าวอ้าง) (นร18) และ
นกั เรียนจาํ นวน 11 คน (รอ้ ยละ 27.78) ใหเ้ หตุผลโดยใช้ขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์มาสนับสนุนเหตุผลทางด้าน
อารมณ์ เช่น “เห็นด้วย (ข้อกลา่ วอา้ ง) เพราะเกดิ จากความผดิ ปกตขิ องโครโมโซม โดยแม่ของเด็กอาจจะมอี ายมุ าก
สง่ ผลให้ร่างกายไมแ่ ข็งแรง ลกู ในครรภ์จึงมโี อกาสเกิดโรคทางพนั ธกุ รรมได้ง่ายขึน้ (เหตุผลสนบั สนุนข้อกล่าวอา้ ง)
แตก่ ็สงสารเด็กทไ่ี ม่มโี อกาสเกดิ มาดโู ลกภายนอก (ข้อโต้แย้งท่ีต่างออกไป) เพระหลายครอบครัวกส็ ามารถเลี้ยงลูกที่
เป็นดาวนซ์ นิ โดรมให้มชี วี ิตอยูใ่ นสงั คมได้ (เหตผุ ลเสริม) (นร03) มนี กั เรยี น 12 คน (รอ้ ยละ 33.33) ท่ีมีพัฒนาการดี
ขึ้น เช่น “เห็นดว้ ย (ข้อกล่าวอา้ ง) เพราะเปน็ โรคทีเ่ กิดจากความผิดปกตขิ องโครโมโซม โดยเกิดจากโครโมโซมคทู่ ่ี
21 ซึง่ เปน็ โครโมโซมร่างกายเกนิ มา 1 โครโมโซม โดยอายแุ ละสุขภาพของร่างกายกอ็ าจส่งผลต่อการเกดิ โรคทาง
พันธกุ รรม (เหตผุ ลสนับสนนุ ขอ้ กลา่ วอ้าง) แต่ไมไ่ ด้เหน็ ด้วยทงั้ หมดท่ีทางครอบครัวจะยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์ (ข้อโต้แย้งท่ี
ตา่ งออกไป) เน่อื งจากเดก็ เป็นสิง่ มีชวี ติ ควรคำนงึ ถึงจริยธรรม ถ้าครอบครวั ใดมีกำลงั ที่จะเลี้ยงดูได้ก็ควรที่จะเล้ียงดู
แตถ่ า้ ครอบครัวใดไม่มีกำลังมากพอก็สามารถทจ่ี ะยตุ กิ ารตั้งครรภ์ได้ ต้องดเู ปน็ รายกรณีไป (เหตุผลเสรมิ )” (นร30)
ซงึ่ นักเรยี นสามารถให้เหตผุ ลไดโ้ ดยไมอ่ าศัยอารมณ์ มเี พียง 3 คน (รอ้ ยละ 8.82) เท่านน้ั ที่มีพัฒนาการลดลงโดยใช้
อารมณใ์ นการแสดงเหตุผลมากขึ้น เชน่ “เหน็ ดว้ ย (ข้อกล่าวอ้าง) เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนทารถอยูใ่ น
ครรภ์ ไม่สามารถรกั ษาใหห้ ายได้ (เหตผุ ลสนับสนุนข้อกล่าวอา้ ง) แต่เหน็ เพื่อนบา้ นท่มี ลี ูกตอนอายมุ าก ลูกทเ่ี กิดมา
บางคนก็เปน็ บางคนก็ไมเ่ ป็น (ข้อโตแ้ ยง้ ทีต่ า่ งออกไป) ถ้าเป็นก็น่าจะทำแทง้ เพราะเกดิ มาก็ลำบาก แตอ่ กี ใจก็สงสาร
เดก็ ที่ไม่มโี อกาสเกิดมา (เหตผุ ลเสรมิ )” (นร01)
ตาราง รูปแบบการให้เหตุผลอย่างไมเ่ ปน็ ทางการของนกั เรียน ( n = 34 )
รปู แบบของการใหเ้ หตุผลอยา่ งไม่เปน็ ทางการ ผลการ จำนวน
พัฒนา (รอ้ ยละ)
ก่อนเรียน หลังเรียน คงท่ี 8 (19.77)
การให้เหตุผลบนพืน้ ฐานของความเป็นเหตุ การใหเ้ หตผุ ลบนพื้นฐานของความเป็นเหตุ ลดลง 3 (8.82)
เปน็ ผล เป็นผล ดีขนึ้ 9 (26.47)
การใหเ้ หตุผลบนพนื้ ฐานของความเป็นเหตุ การให้เหตผุ ลบนพน้ื ฐานของความเป็นเหตุ คงท่ี 11 (27.78)
เป็นผล เปน็ ผลและอารมณ์ ดีขึน้ 2 (5.88)
การใหเ้ หตผุ ลบนพ้ืนฐานของความเป็นเหตุ การให้เหตุผลบนพนื้ ฐานของความเป็นเหตุ ดขี น้ึ 1 (2.94)
เปน็ ผลและอารมณ์ เป็นผล
การใหเ้ หตุผลบนพน้ื ฐานของความเป็นเหตุ การใหเ้ หตุผลบนพน้ื ฐานของความเป็นเหตุ
เปน็ ผลและอารมณ์ เป็นผลและอารมณ์
การใหเ้ หตผุ ลบนพน้ื ฐานของอารมณ์ การใหเ้ หตุผลบนพ้ืนฐานของความเป็นเหตุ
เปน็ ผลและอารมณ์
การใหเ้ หตุผลบนพ้ืนฐานของความเป็นเหตุ การให้เหตผุ ลบนพนื้ ฐานของความเป็นเหตุ
เปน็ ผล อารมณแ์ ละสญั ชาตญาณ เปน็ ผลและอารมณ์
2. คณุ ภาพของการให้เหตุผลอย่างไมเ่ ป็น ทางการของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ผ้วู ิจัยพบว่าการให้
เหตผุ ลอย่างไมเ่ ป็นทางการของนักเรียนส่วนใหญอ่ ยูใ่ นระดบั ดมี าก โดยนักเรยี นจํานวน 21 คน (ร้อยละ 61.76)
สามารถแสดงขอ้ กลา่ วอ้างเหตุผลสนับสนุนขอ้ กล่าวอ้าง ขอ้ โตแ้ ย้งที่ต่างออกไปและเหตุผลเสริมเก่ียวกับประเด็น
ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วเน่ืองกับวิทยาศาสตร์ได้ เชน่ “เห็นด้วย (ข้อกล่าวอ้าง) เพราะเปน็ โรคท่ีเกดิ จากความผดิ ปกติของ
โครโมโซม โดยเกดิ จากโครโมโซมคูท่ ่ี 21 ซึง่ เป็นโครโมโซมรา่ งกายเกนิ มา 1 โครโมโซม จากงานวจิ ัยพบว่าอายแุ ละ
สขุ ภาพรา่ งกายของแม่ก็อาจสง่ ผลต่อการเกดิ โรคทางพันธุกรรม (เหตุผลสนับสนนุ ข้อกลา่ วอา้ ง) แต่การทำแทง้ หรอื
ยุตกิ ารต้งั ครรภ์จะสามารถทำไดโ้ ดยต้องดเู ป็นรายกรณ๊ (ขอ้ โต้แยง้ ทต่ี ่างออกไป) ถ้าครอบครวั ทม่ี คี วามลำบากไม่
สามารถเลยี้ งดูเมอื่ เดก็ เกิดมาได้ควรให้มีการทำแท้งเพื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อทัง้ ครอบครวั และตวั เด็กทจี่ ะเกดิ มา แต่
ทง้ั หมดควรขึน้ อยกู่ ับการตดั สินใจของครอบครัว (เหตผุ ลเสริม)” (นร07) มนี กั เรียน 10 คน (ร้อยละ 29.41) ทมี่ ี
พัฒนาการดีข้นึ โดยนักเรยี น 7 คน (ร้อยละ 20.59) สามารถพัฒนาการให้เหตผุ ลเสริมได้ เชน่ “ปจั จุบนั วิวัฒนาการ
ทางการแพทยส์ ามารถตรวจสอบความผิดปกตขิ องทารกในครรภไ์ ด้ ดังนน้ั ผู้ที่ตง้ั ครรภค์ วรไปฝากครรภก์ บั แพทย์
เพ่ือปอ้ งกันปญั หาที่จะเกดิ ขนึ้ ตามมา (เหตผุ ลเสริม)” (นร08) ส่วนนักเรียนอีก 1 คน (ร้อยละ 2.94) สามารถสร้าง
ขอ้ โตแ้ ย้งท่ีต่างออกไปได้แต่ยังไม่สามารถใหเ้ หตผุ ลเสริมได้ ตัวอยา่ งเชน่ การทำแท้งถอื เปน็ การฆ่าส่ิงมีชีวติ ซง่ึ
สงิ่ มชี วี ติ นั้นไม่มสี ทิ ธเิ ลือกว่าจะมชี ีวิตอยตู่ อ่ ได้หรือไม่ (ขอ้ โต้แยง้ ทตี่ า่ งออกไป) เป็นสง่ิ ทไี่ มด่ ี (เหตุผลเสริม)” (นร13)
มีนักเรียนเพยี ง 1 คน (รอ้ ยละ 2.94) เท่าน้ันทพ่ี ฒั นาการลดลง โดยไมส่ ามารถให้เหตผุ ลเสริมได้ในการวดั หลงั เรยี น
เชน่ “ไมโ่ ต้แยง้ ความคดิ ของเพื่อนก็ถูก (เหตุผลเสริม)” (นร04) (ตาราง 5)
ตาราง 5 คุณภาพของการให้เหตุผลอย่างไม่เปน็ ทางการของนกั เรยี น ( n = 34 )
คุณภาพของการใหเ้ หตผุ ลอยา่ งไม่เป็นทางการ ผลการพฒั นา จำนวน
(ร้อยละ)
กอ่ นเรียน หลังเรียน คงที่ 21 (61.76)
ลดลง 1 (2.94)
ดมี าก ดมี าก ดีขน้ึ 7 (20.59)
คงที่ 2 (5.88)
ดีมาก ดี ดขี ้นึ 2 (5.88)
ดขี ้นึ 1 (2.94)
ดี ดีมาก
ดี ดี
พอใช้ ดี
ปรบั ปรงุ ดี
บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ยั อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
การพัฒนาการใหเ้ หตุผลอย่างไมเ่ ป็นทางการของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในหน่วยการเรยี นรเู้ รื่อง
พันธศุ าสตร์ ผา่ นการจัดการเรียนรู้โดยใชป้ ระเดน็ ทางสงั คมทีเ่ กย่ี วเนอื่ งกับวิทยาศาสตรเ์ ปน็ ฐาน ภาคเรยี นที่ 1 ปี
การศึกษา 2564 ผู้วิจัยขอนำเสนอสรปุ อภิปราย และข้อเสนอแนะ ดังน้ี
สรุปผลการวจิ ยั
จากท่ีผู้วิจัยไดด้ ำเนนิ การวจิ ยั ไปแล้วนั้น ผูว้ จิ ยั ขอสรปุ ผลการวิจัยดังนี้
1. การเปรียบเทยี บคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่
กอ่ นเรียน โดยทางการเรยี นรู้ด้วยระบบ Pakkred learning cyber เรอื่ ง คล่นื และแสง
2. การสรา้ งสอื่ การเรยี นร้แู บบคลิปวดี ีโอชว่ ยสอน ในระบบ Pakkred learning cyber ให้นกั เรยี นสามารถ
เข้าไปศกึ ษาและทบทวนบทเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 80
ของจำนวนคาบเรยี นท้งั หมด
อภิปรายผล
การวิจยั การยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ด้วยระบบ Pakkred learning cyber เรื่อง คลน่ื และแสง
สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวดั นนทบุรี มีผลการวิจยั ดงั นี้
1. นกั เรียนกล่มุ ตัวอย่างทผี่ ่านการเรียนโดยการเรียนรู้ด้วยระบบ Pakkred learning cyber เรอื่ ง ระบบ
นิเวศ สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนปากเกร็ด มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นค่อนขา้ งสูง มีคา่ เฉล่ีย
เท่ากับ 16.74 คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.70 สูงกว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 70 โดยการเรยี นร้ดู ้วยระบบ Pakkred learning cyber
เรือ่ ง ระบบนิเวศ สำหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นปากเกร็ด ท่ีผวู้ ิจยั สร้างข้ึนมสี ว่ นช่วยทำใหน้ กั เรยี น
เกดิ การเรียนรใู้ นรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง คล่นื และแสง ซึ่งสอดคล้องกับสมมตฐิ านการวิจยั และสอดคลอ้ งกับ
รายงานการวจิ ยั ของ พจนา ศรกี ระจ่าง และ ลัดดา ศุขปรดี ี (2556) คนติ า สร้อยแสง (2554) ราตรี สมความคิด
(2557) ทองสขุ คำแกว้ (2553) วารุณี คงวิมล (2559) และ จรสั สม ปานบุตร (2556) ตามลำดบั กลา่ วคือ
นักเรยี นท่ีผา่ นการเรียนหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-book) จะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้ึน ท้งั นอ้ี าจเปน็ เพราะวา่
หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-book) เป็นนวัตกรรมท่เี หมาะสมสำหรับนกั เรียนในยคุ สังคมโลกาภวิ ัตน์ ซ่ึงเปน็ สงั คมทีม่ ี
อปุ กรณอ์ เิ ล็กโทรนกิ สแ์ ละสอ่ื เทคโนโลยีเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกับชวี ติ ประจำวันมากขนึ้ ทำใหน้ กั เรียนมีทัศนคตทิ ีด่ ี มีความ
สนใจและตัง้ ใจเรยี นหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-book) ไดม้ ากยิ่งขน้ึ หรือ หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์กระตุน้ ให้นกั เรียน
เข้าศกึ ษาบทเรียนได้มากข้นึ จงึ สง่ ผลทำใหน้ ักเรียนเกดิ การเรยี นรไู้ ดเ้ ต็มศกั ยภาพและมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
สงู ขน้ึ
2. ผลการใช้ระบบ Pakkred learning cyber เร่ือง ระบบนิเวศ สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
โรงเรยี นปากเกรด็ จากการวิจัยคร้งั น้ี นกั เรยี นสนใจในคลปิ วดี โี อการสอน และนักเรยี นทม่ี ีความพึงพอใจตอ่ การ
เรยี นดว้ ย ระบบ Pakkred learning cyber ที่ผวู้ ิจยั สร้างข้นั อาจเป็นเพราะวา่ การเรียนดว้ ยระบบ Pakkred
learning cyber เร่อื ง ระบบนเิ วศ สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นปากเกร็ด ที่ผวู้ ิจยั ไดส้ รา้ งข้ึนนน้ั มี
ความเหมาะสมตอ่ การเรยี นการสอนในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ในตอนนี้ นอกจากนนยี้ งั มีเสยี งสะท้อนของนกั เรยี นจาก
การที่ได้เรียนด้วยระบบ Pakkred learning cyber เรื่อง ระบบนเิ วศ สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 สรปุ ได้
ว่า ระบบ Pakkred learning นี้ มีขอ้ ดี ทำให้เข้าใจบทเรยี นงา่ ยขึ้น มีแบบฝกึ หดั หรือแบบทดสอบท้ายบทเรียน
สำหรบั ฝกึ ทบทวนการเรียน ภาพประกอบบทเรียนมีความสวยงามและชดั เจน เนอ่ื งดว้ ยเหตผุ ลทก่ี ลา่ วมาขา้ งต้นน้ี
ทำให้นกั เรียนมคี วามตง้ั ใจและเป็นแรงจูงใจอยา่ งหนึ่งท่นี ักเรยี นจะไดเ้ ข้ามาสัมผัสกบั คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถอื
ในการเรียนดว้ ยระบบ Pakkred learning cyber คร้งั นี้ ซึง่ จะทำใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขึ้น และมีทักษะ
ครบรอบด้าน
ข้อเสนอแนะ
จากผลการวจิ ัยเรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นร้ดู ้วยระบบ Pakkred learning cyber เรอ่ื ง
สารบรสิ ุทธ์ิ สำหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นปากเกร็ด ผ้วู จิ ยั มขี ้อเสนอแนะดังนี้
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1.1 การเรียนรูด้ ้วยระบบ Pakkred learning cyber ที่ผู้วิจัยพัฒนาขนึ้ ในครั้งนี้ ผ้สู อนวชิ า
วิทยาศาสตร์ สามารถที่จะนำไปปรับใชใ้ นกรณอี ่นื เช่น จดั บรกิ ารให้นกั เรยี นท่ีมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ยมื ไปศกึ ษา
ทบทวนที่บ้านหรอื จัดใหน้ ักเรียนเขา้ ศกึ ษาทบทวนบทเรยี นในหอ้ งสมดุ กลุ่มสาระวิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ีมีเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์บริการหรือจดั ให้นกั เรียนเข้าศกึ ษาตามระบบอนิ เตอรเ์ น็ตของทางโรงเรยี นและนกั เรียนทมี่ ี
โทรศัพท์มือถือทม่ี ีอนิ เตอร์เนต็ ก็ได้
1.2 ครูผสู้ อนอาจนำผลวิจยั ในครง้ั นี้ไปใช้สอนรายวิชาวิทยาศาสตรไ์ ด้โดยตรง หรือ อาจใชใ้ นกรณี
สอนแทนก็ได้ ในกรณีเนอื่ งจากการขาดครูผู้สอนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้งั ต่อไป
2.1 ควรทำการศึกษาวิจัยในการเปรยี บเทยี บการใชร้ ะบบ Pakkred learning cyber สำหรบั
นักเรียนกลุม่ ตัวอย่างท่ีสามารถเขา้ ศึกษาเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ทางระบบอนิ เตอรเ์ นต็ หรอื ระบบการเรียนการสอน
ทางเวป็ ไซต์ทางโรงเรียน
2.2 ควรจัดทำ การพัฒนาหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ในหวั ขอ้ อื่นๆ เชน่
โครงสร้างของเซลล์ และการเจรญิ เติบโตของพืช โดยนำเรอ่ื งดังกลา่ วมาจัดทำเปน็ การเรียนการสอนผา่ นระบบ
Pakkred learning cyber และนำไปทดลองใชก้ ับนกั เรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง เพ่อื หาประสทิ ธภิ าพและปรบั ปรุงก่อน
นำไปใช้จริงตอ่ ไป
บรรณนานุกรม
กมลทนิ พรมประไพ. โรงเรียนอตุ รดิตถด์ รณุ ี. “สารบริสทุ ธ์.ิ ” [ระบบออนไลน์]. www.nectec.or.th (8
กนั ยายน 2563).
คนิตา สร้อยแสง (2554) ได้ทำการหาประสิทธิภาพของผลการใช้หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เร่อื ง แรงลัพธแ์ ละแรงเสียดทานสำหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
ทองสุข คำแกว้ (2553) ได้ทำการหาประสิทธภิ าพของการพฒั นาหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสว์ ิชาสงั คม ศาสนา
และวฒั นธรรม สำหรับนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
นภาภรณ์ อจั ฉริยะกลุ และพิไลพรรณ ปุกหุต. เอกสารการสอนชุดวชิ า ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกบั ภาพนิ่ง
และภาพยนตร์ หนว่ ยท่ี 14. มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, 2542 : น.1059-1060
นิพนธ์ ศขุ ปรดี ี. “ความหมายของภาพทัศน์” เอกสารการสอนชุดวิชา ความรูเ้ บ้อื งต้น เก่ยี วกับภาพนง่ิ และ
ภาพยนตร์ หนว่ ยที่ 1. มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, 2542 : น. 41-42
พจนา ศรกี ระจ่าง (2556) ไดท้ ำการพฒั นาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง
ระบบสรุ ยิ ะช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4
ราตรี สมความคิด (2557) ได้ทำผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใชส้ ือ่ การสอน (E-book) รายวิชาการขาย 1
เร่อื งเทคนคิ การขายสำหรบั นักเรยี นระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั ปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2556 วิทยาลยั เทคโนโลยี
วิมลศรีย่าน
วารุณี คงวมิ ล (2559) ไดท้ ำการพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) เรอ่ื ง การใช้โปรแกรม
Photoshop เพอื่ ผลิตส่อื การสอนสำหรับครรู ะดบั ประถมศกึ ษา
ภาคผนวก
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
เรื่อง ระบบนเิ วศ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบนิเวศ
ช่อื – สกุล ชนั้ เลขที่
คำชแี้ จง จงเลือกคำตอบท่ถี ูกท่สี ุดเพยี งขอ้ เดียว แล้วทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ
1. ระบบนิเวศประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบใด
ก. สิ่งมีชวี ติ ส่งิ ไม่มีชีวิต สิ่งแวดล้อม ข. สิง่ มชี ีวติ , ส่งิ แวดลอ้ ม
ค. ส่งิ ไมม่ ชี ีวิต, สิง่ แวดลอ้ ม ง. สงิ่ มีชีวิต, สงิ่ ไม่มีชีวติ
2. ปจั จยั ที่เก่ยี วขอ้ งกับระบบนเิ วศไดแ้ ก่ปัจจัยใดบา้ ง
ก. ปัจจัยทางชีวภาพ, ปัจจัยทางเคมี ข. ปัจจยั ทางชวี ภาพ, ปัจจยั ทางกายภาพ
ค. ปจั จัยทางกายภาพ, ปัจจัยทางเคมี ง. ปจั จยั ทางเคมี, ปจั จยั อน่ื ๆ
3. ระบบนเิ วศหมายถึงข้อใด
ก. ความสัมพันธข์ องส่งิ มีชวี ติ กบั สิง่ ไม่มชี ีวิต ข. ความสัมพนั ธข์ องส่งิ มชี ีวติ กับสง่ิ มีชวี ติ
ค. ความสัมพนั ธข์ องสิง่ มชี วี ติ กบั สงิ่ แวดล้อม ง. ความสมั พนั ธ์ของส่ิงแวดล้อมกบั ส่ิงไมม่ ีชีวิต
4. ปจั จัยทางกายภาพในระบบนิเวศ หมายถงึ ข้อใด
ก. ส่ิงแวดล้อม ข. สง่ิ มีชีวิต
ค. สง่ิ ไมม่ ชี ีวิต ง. ผู้ผลิต
5. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นความสัมพนั ธ์ของส่ิงมชี วี ติ ชนดิ เดยี วกันในระบบนิเวศ
ก. นกเอีย้ งกบั ควาย ข. การแบง่ หนา้ ทีข่ องผงึ้
ค. กาฝากกบั ตน้ ไม้ใหญ่ ง. ดอกไม้กบั แมลง
6. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้เป็นความสมั พันธข์ องสงิ่ มีชวี ิตในระบบนิเวศแบบภาวะพึง่ พา
ก. นกเอยี้ งกับควาย ข. ดอกไม้กบั แมลง
ค. ไลเคน ง. กาฝากกับต้นไม้ใหญ่
7. ขอ้ ใดต่อไปนเี้ ป็นความสมั พันธ์ของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศแบบภาวะเกื้อกูล
ก. กลว้ ยไม้กับต้นไม้ใหญ่ ข. กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่
ค. นกเอยี้ งกบั ควาย ง. จระเขก้ บั นกกระสา
8. ขอ้ ใดตอ่ ไปนส้ี อดคล้องกบั ภาวการณไ์ ดป้ ระโยชน์ร่วมกันของส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ
ก. กาฝากกบั ต้นไมใ้ หญ่ ข. กลว้ ยไมก้ บั ตน้ ไมใ้ หญ่
ค. ปลาฉลามกบั เหาฉลาม ง. ชาวนากบั งเู หา่
9. ความสัมพนั ธ์ของสิง่ มีชวี ิตสองชนิดท่ีต่างฝ่ายต่างได้ประโยชนร์ ว่ มกนั และแยกออกจากกนั ไมไ่ ด้
หมายถงึ ข้อใดต่อไปนี้
ก. ภาวะเกอ้ื กูล ข. ภาวะปรสิต
ค. ภาวะพง่ึ พา ง. ภาวะย่อยสลาย
10. ในการสรา้ งอาหารของกลุ่มผู้ผลิตในระบบนเิ วศจะมกี ารเปล่ียนพลังงานแสงเป็นพลงั งานชนดิ ใด
ก. พลังงานเคมี ข. พลงั งานศกั ย์
ค. พลงั งานจลน์ ง. พลงั งานกล
11..องคป์ ระกอบท่ีสำคัญที่เกย่ี วข้องกบั การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศคือข้อใด
ก. ผผู้ ลิต, ผูบ้ ริโภค, ผูย้ อ่ ยสลาย ข. ผผู้ ลิต, ผบู้ รโิ ภค
ค. ผู้บริโภค, ผู้ย่อยสลาย ง. ผู้ผลิต, ผู้ย่อยสลาย
12. การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศโดยการกนิ ตอ่ กนั เปน็ ทอดๆเรียกวา่
ก. การดำรงชวี ิต ข. ห่วงโซอ่ าหาร
ค. การสร้างอาหาร ง. การกนิ อาหาร
13. ผู้ผลติ ในหว่ งโซ่อาหารไดแ้ กข่ ้อใดตอ่ ไปน้ี
ก. สตั ว์ ข. แบคทีเรีย
ค. พชื ง. จลุ นิ ทรีย์
14. ก๊าซท่ีใช้กระบวนสงั เคราะห์แสงของพชื คือข้อใด
ก. O2 ข. CO2
ค. SO4 ง. CO3
15. แสงมผี ลต่อการดำรงชวี ิตของส่งิ มชี วี ิตสตั วใ์ ดมากที่สุด
ก. การสร้างอาหารของพืช ข. การเผาผลาญอาหารของพชื
ค. การปรบั ตวั ของพชื ง. การปรบั ตวั ของสภาพแวดล้อม
16. อณุ หภูมมิ ีผลตอ่ การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวติ ในขอ้ ใดมากทีส่ ุด
ก. การสร้างอาหารของพืช ข. การคายน้ำของพืช
ค. การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม ง. ไมม่ ีข้อใดผิด
17. การทตี่ น้ กระบองเพชรเปลย่ี นโครงสร้างใบให้เป็นหนามเนอื่ งจากปจั จยั ในขอ้ ใดต่อไปน้ี
ก. อุณภูมิ ข. แสงสวา่ ง
ค. แรธ่ าตุ ง. นำ้
18. ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ป็นผู้บรโิ ภคลำดับสูงสดุ ข. กวาง
ก. พชื ง. มนษุ ย์
ค. นกอนิ ทรีย์
ข. ผบู้ รโิ ภคลำดบั ทหี่ น่ึง
19. ในพรี ะมิดจำนวน ข้อใดมจี ำนวนมากท่ีสุด ง. ผบู้ รโิ ภคลำดับสุดท้าย
ก. ผู้ผลติ
ค. ผูบ้ ริโภคลำดบั ที่สอง ข. นำ้ , อากาศ
ง. ถูกทกุ ขอ้
20. ข้อใดต่อไปน้ี เป็นสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
ก. สตั ว์, แสงสวา่ ง
ค. แรธ่ าตุ, ดนิ