The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่ม 6 ปรัชญาของราธกฤษณัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimchanok1311, 2022-03-24 02:10:31

กลุ่ม 6 ปรัชญาของราธกฤษณัน

กลุ่ม 6 ปรัชญาของราธกฤษณัน

รายงาน
เรือ่ ง ปรชั ญาของดร.ราธกฤษณัน

จดั ทำโดย
1.นาย จกั รธร แทน่ นิล 62020727
2.นางสาว นฐั กาญจน์ พริ ารักษ์ 62020744
3.นางสาว พมิ พ์ชนก แกว้ นอก 62020757
4.นางสาว พมิ อัมพร แสวงวงค์ 62020759
5.นางสาว กญั ชพร แก้วคมุ้ ภัย 62020723
6.นางสาว ณิณา เมอื งสมบัติ 62020736
7.นางสาว ภัสรา เกตมุ าโร 62021049

เสนอ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บญุ รอด บุญเกิด

รายงานฉบบั นี้เป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า ปรชั ญาอินเดยี ร่วมสมยั (26533159)
สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
มหาวิยาลัยบูรพา

คำนำ

รายงานเล่มนจ้ี ัดทำขน้ึ เพื่อเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ า ปรัชญาอินเดียรว่ มสมัย (26533159) เพื่อใหไ้ ดศ้ ึกษาหา
ความรู้ในเร่อื งราวปรัชญาของราธกฤษณัน โดยได้ศกึ ษาผา่ นแหลง่ ความรู้ต่างๆ อาทเิ ชน่ ตำรา หนงั สือ
หนงั สือพมิ พ์ วารสาร ห้องสมดุ และแหลง่ ความรู้จากเว็บไซตต์ า่ งๆ โดยรายงานเล่มนี้มเี นอื้ หาเกย่ี วกับ ชีวประวตั ิ
แนวคดิ ทางปรัชญา หลักปรัชญาตา่ งๆของราธกฤษณัน

ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดทำเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษา
เร่ืองราวปรัชญาของราธกฤษณนั

คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั

ชวี ประวตั ิ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1
ประวัติการศึกษา----------------------------------------------------------------------------------------------------------1
ประวตั กิ ารทำงาน --------------------------------------------------------------------------------------------------------1
ผลงานทสี่ ำคญั ------------------------------------------------------------------------------------------------------------2
แนวความคดิ ทางปรัชญา ------------------------------------------------------------------------------------------------3
หลักปรัชญา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------4

1. แนวโนม้ ทางปรชั ญาสมยั ใหมท่ มี่ ตี ่อศาสนา ---------------------------------------------------------------------4
อเทวนยิ มฝา่ ยธรรมชาตินิยม (Naturalistic Atheism) -------------------------------------------------------4
อไญยนิยม (Agnosticism) ----------------------------------------------------------------------------------------6
วมิ ตนิ ิยม (Scepticism) -------------------------------------------------------------------------------------------6
มนษุ ยนิยม (Humanism) -----------------------------------------------------------------------------------------7
ลัทธสิ ิทธิอำนาจ -----------------------------------------------------------------------------------------------------9

2. พุทธปิ ญั ญากับอตั ฌัตตกิ ญาณ ------------------------------------------------------------------------------------9
ลักษณะของพุทธปิ ญั ญา--------------------------------------------------------------------------------------------9
พทุ ธิปญั ญากับอชั ฌตั ตกิ ญาณ-------------------------------------------------------------------------------------9

3. ประสบการณ์ทางศาสนากับการแสดงออกให้ผู้อนื่ รูต้ าม ----------------------------------------------------- 10
4. ปรมตั ถสจั หรอื ความจรงิ ขน้ั อันตมิ ะ ---------------------------------------------------------------------------- 10

ทรรศนะเรอ่ื งพรหมนั ---------------------------------------------------------------------------------------------- 10
ทรรศนะเรอ่ื งพรหมันกับมหาเทพ-------------------------------------------------------------------------------- 11
5. อาตมนั กับโมกษะ------------------------------------------------------------------------------------------------- 11
6. กรรรมกับการเกดิ ใหม่-------------------------------------------------------------------------------------------- 11
7. สสาร ชีวิต จติ และอตั พชิ าน ----------------------------------------------------------------------------------- 12
ทรรศนะเรอื่ งสสาร ------------------------------------------------------------------------------------------------ 12
ทรรศนะเรอื่ งโลก -------------------------------------------------------------------------------------------------- 13
ทรรศนะเรอ่ื งชีวิต ------------------------------------------------------------------------------------------------- 14
ทรรศนะเร่ืองจติ --------------------------------------------------------------------------------------------------- 14

ทรรศนะเรื่องอัตพิชาน-------------------------------------------------------------------------------------------- 15
8.ปรัชญาการศกึ ษา-------------------------------------------------------------------------------------------------- 15

ลกั ษณะของปรชั ญาการศกึ ษาของราธกฤษณนั --------------------------------------------------------------- 16
สรปุ หลักปรชั ญาของราธกฤษณัน ------------------------------------------------------------------------------------ 17

หลกั ปรชั ญาท่ีมตี อ่ ศาสนา ---------------------------------------------------------------------------------------- 17
ลทั ธิสทิ ธิอำนาจนยิ ม ---------------------------------------------------------------------------------------------- 18
พทุ ธิปญั ญา -------------------------------------------------------------------------------------------------------- 18
พทุ ธิปัญญากับอัชฌัตติกญาณ----------------------------------------------------------------------------------- 18
ประสบการณ์ทางศาสนากบั การแสดงออกให้ผูอ้ น่ื รตู้ าม------------------------------------------------------ 18
ปรมัตถสจั หรอื ความจริงขน้ั อนั ตมิ ะ ----------------------------------------------------------------------------- 18
ทรรศนะเรอ่ื งพรหมนั ---------------------------------------------------------------------------------------------- 18
ทรรศนะเร่ืองพรหมนั กบั มหาเทพ-------------------------------------------------------------------------------- 18
อาตมนั กับโมกษะ-------------------------------------------------------------------------------------------------- 18
กรรมกับการเกดิ ใหม่ ---------------------------------------------------------------------------------------------- 19
ทรรศนะเรอ่ื งสสาร ------------------------------------------------------------------------------------------------ 19
ทรรศนะเรื่องโลก -------------------------------------------------------------------------------------------------- 19
ทรรศนะเร่ืองชีวติ ------------------------------------------------------------------------------------------------- 19
ทรรศนะเรอ่ื งจติ --------------------------------------------------------------------------------------------------- 19
ทรรศนะเรอ่ื งอัตพิชาน-------------------------------------------------------------------------------------------- 19
ปรัชญาการศกึ ษา ------------------------------------------------------------------------------------------------- 20
ทัศนะของกลมุ่ นสิ ิตทม่ี ตี อ่ ปรัชญาของราธกฤษณัน----------------------------------------------------------------- 20
อา้ งองิ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 21

1

ชวี ประวัติ

ราธกฤษณนั มีชอ่ื เต็มว่า สรเฺ วปัลลิ ราธกฤษณัน เกดิ เม่ือวนั ท่ี 5 กันยายน พ.ศ.2431 ในตระกูลพราหมณเ์ ตลูกุ ที่ยากไร้
ตระกูลหนึง่ ณ ตำบลตริ ตุ ตานี (ปจั จบุ ันอยู่ในรัฐอันธรประเทศ)

ประวตั กิ ารศึกษา

ท่านได้รับการศึกษาจากมัทราสคริสเตียนวิทยาลัย (Madras Christian College) พวกมิชชันนารี ชาวเยอรมันใน
เมอื งมัทราสอนิ เดียตอนใต้ ขณะศึกษาอยทู่ ่ีนี้ ครูชาวคริสต์ได้วิจารณห์ ลักความเช่อื ในศาสนาฮินดูอย่างเสียๆหายๆ จนทา่ นทนฟัง
ไม่ได้ จนมมุ านะศกึ ษาคน้ ควา้ หลักคำสอนในศาสนาฮินดูจนมคี วามรู้กวา้ งขวางและได้โตต้ อบกับครูผวู้ จิ ารณค์ นนัน้ อยา่ งกล้าหาญ
ชาญฉลาด เหตุการณ์นี้เองเป็นมูลเหตุให้ท่านสนใจศึกษาค้นคว้าหลักศาสนาและปรัชญาทั้งของตะวันออกและตะวันตก จน
กลายเปน็ นกั ปรชั ญาผ้ยู งิ่ ใหญ่ ได้รับเชิญไปสอนในมหาวิทยาลยั ตา่ งๆ ท้ังในอนิ เดียและตา่ งประเทศ เช่น องั กฤษและอเมริกา

ประวัติการทำงาน

- พ.ศ. 2452-2460 สอนวิชาปรชั ญาในมหาวิทยาลัยมัทราส ขณะสอนอยูใ่ นปี 2456 รพินทรนาถ ฐากุร ได้รับรางวัล
โนเบลซึง่ เป็นข่าวทคี่ นอนิ เดียภาคภูมใิ จมาก ดร.ราธกฤษณนั ก็ไดแ้ สดงความชน่ื ชมโดยเรียบเรียงและตพี มิ พ์หนังสือ
เป็นเกียรติแก่รพินทรนาถ ฐากุร เล่มหนึ่งให้ชื่อว่า ปรัชญาของรพินทรนาถ ฐากุร (The Philosophy of
Rabindranath Tagore) ปรากฏว่าเปน็ หนังสอื ที่นิยมอา่ นกนั แพรห่ ลายมาก

- พ.ศ. 2461-2464 ย้ายไปสอนวิชาปรชั ญาทม่ี หาวิทยาลัยไมเซอร์ ซง่ึ อยู่ไมห่ ่างไกลกันนกั
- พ.ศ. 2464-2474 ย้ายไปสอนวชิ าปรัชญาที่มหาวิทยาลัยกัลกัตตา รัฐเบงกอล ซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออกของอินเดยี

ขณะสอนอยู่ที่นี้ท่านได้เขียนหนังสือปรัชญาอินเดียสำเร็จ และตีพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นหนังสือ 2 เล่มจบ ว่าด้วย
ประวัติและสาระของปรัชญาอินเดีย นับเป็นหนังสือที่ไดร้ ับความสนใจมากและใช้สอนกันในมหาวิทยาลยั ต่างๆทวั่
อนิ เดียตลอดมาจนถึงปจั จุบัน
- พ.ศ. 2474-2479 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองอธิการบดี (Vice Chancellor) ของมหาวิทยาลัยอันธระ ของรัฐอันธร
ประเทศ และในปี 2474 น้นั เอง พระเจา้ จอร์จ ท่ี 5 แหง่ อังกฤษ ไดพ้ ระราชทานบรรดาศกั ดเิ์ ป็น Sir
- พ.ศ. 2479-2482 ได้รับเชิญไปสอนวิชาศาสนาและจริยศาสตร์ตะวันออกที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ประเทศ
อังกฤษ
- พ.ศ. 2482-2490 ได้รบั แตง่ ตง้ั เปน็ รองอธิการบดีของมหาวิทยาลัยพาราณสี รัฐอดุ รประเทศ และเปน็ ผบู้ รรยายวิชา
ปรัชญาด้วย
- ในพ.ศ. 2490 นนั่ เอง ประเทศอนิ เดียไดร้ บั เอกราช ทา่ นไดร้ ับเลอื กเป็นสมาชกิ สภารา่ งรัฐธรรมนูญด้วย
- พ.ศ. 2490-2495 ท่านได้รับแต่งต้ังเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนอินเดียประจำองค์การศึกษาวทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรม
แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) และได้รบั เลอื กเป็นประธานกรรมการบริหารองค์การนั้นในปี 2492 และ 2495
- พ.ศ. 2492-2495 ไดร้ บั แต่งตัง้ เป็นเอกอคั รราชทตู ประจำสหภาพโซเวยี ต
- ในพ.ศ. 2495 หลงั จากพน้ ตำแหนง่ เอกอัครราชทูตประจำสหภาพโซเวยี ตแลว้ ทา่ นดีรับเลอื กเป็นรองประธานาธิบดี
จนถงึ วนั ท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 กไ็ ดร้ บั เลือกเป็นประธานาธิบดีสบื แทน ดร.ราเชนทรประสาท ประธานาธิบดี
คนแรกของอนิ เดยี
- พ.ศ. 2496-2505 ไดร้ ับแตง่ ตง้ั เปน็ อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เดลี
- พ.ศ. 2510 ทา่ นลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีและถึงแก่อสัญกรรมเม่ือวนั ท่ี 16 เมษายน พ.ศ. 2518 รวมอายุ
ได้ 85 ปี 7 เดือน 9 วัน

2

ผลงานทสี่ ำคัญ

1. The Philosophy of Rabindranath Tagore (1913)
2. The Vedanta According to Shankara and Ramanuja (1924)
3. Indian Philosophy, 2 vols. (1923-1927)
4. The Philosophy of the Upanishads (1924)
5. The Hindu View of Life (1927)
6. An Idealist View of Life (1932)
7. East and West in Religion (1933)
8. Freedom and Culture (1936)
9. Goutama the Buddha (1939)
10. Indian Culture (1948)
11. Eastern Religions and Western Thought (1939)
12. Contemporary Indian Philosophy (1950)
13. Recovery of Faith (1955)
14. Eastern and Wastern : Some Reflections (1955)
15. Education, Politics, and War (1944)
16. Great Indians (1949)
17. The Dhammapada (1950)
18. The Heart of Hindustan (1932)
19. The Reign of Religion in Contemporary Philosophy (1920)
20. The Religion We Need (1928)
21. The Essentials of Psychology (1912)
22. The Ethics of the Vedanta and Its Metaphysical Presuppositions (1908)
23. Introduction to Mahatma Gandhi (1939)

3

แนวความคดิ ทางปรชั ญา

จากชีวประวัติข้างต้น ทำให้เราพอมองเห็นได้ว่า ดร.ราธกฤษณัน มีความรู้ทางศาสนาและปรัชญาอย่างแตกฉาน
โดยเฉพาะศาสนาและปรัชญาฮินดู ท่านสนใจมากเป็นพิเศษ ผลงานต่าง ๆ ของท่านแสดงออกอย่างชัดแจ้งว่า ท่านต้องการ
อธิบายขยายความเชิงเปรียบเทียบกับศาสนาและปรัชญาตะวันตก เพื่อให้ชาวตะวันตกเข้าใจแนวความคิดของท่าน แม้จะเดิน
ตามนกั ปราชญ์ชาวอินเดยี รุน่ ก่อนๆ เช่น ทา่ นศงั กราจารย์ แตก่ ็มีหลายแบบหลายอย่างที่ทา่ นเสนอข้นึ ใหม่ และ เป็นของท่านเอง
แนวความคดิ ทางปรัชญาของดร.ราธกฤษณัน ที่โดดเด่นพอสรปุ ได้ดงั น้ี

1. มที รรศนะมองโลกในแนวกวา้ ง

2. มีทรรศนะแนวสังเคราะห์ คอื รวมศาสนาและปรชั ญาของตะวันออกให้เข้ากบั ตะวันตก รวมเจตนยิ มและมนุษยนิยม
ของตะวนั ออกใหเ้ ข้ากบั ของตะวนั ตก

3. มีใจกว้างยอมรับอิทธิพลของวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และค่านิยมของโลกตะวันตก โดยถือเอามาเป็นแนวอธิบายหลัก
ปรัชญาของท่าน

4. แนวโน้มทางปรัชญาทสี่ ำคัญทสี่ ุด คือ พัฒนาแนวจิตนิยมสมั บรู ณ์ของอไทวตะ เวทานตะ ซึ่งถอื หลกั เอกนิยม เป็นจิต
นิยมสมั บูรณ์แบบพลวตั คือ ยอมรบั ความจรงิ และความหมายของประสบการณ์หลายระดบั หลายแง่

แนวความคดิ ทางปรชั ญาของ ดร.ราธกฤษณนั ไดร้ ับอิทธพิ ลอย่างมากจากวรรณกรรมชน้ั สูงของศาสนาฮินดู เชน่ คัมภีร์
พระเวท คัมภีร์อุปนษิ ัท คัมภีร์ภควัทคีตา ตลอดจนอรรถกถาของพรหมสูตรของทา่ นศังกราจารย์ ท่านรามานชุ ท่านมัธวะ ท่าน
นิพารกะ เป็นต้น นอกจากนี้ คัมภีร์ของพุทธศาสนา เช่น ธรรมบท และคัมภีร์ศาสนาเชนก็มีอิทธิพลต่อท่านไม่น้อย คือ เป็น
คัมภีร์ที่ทำให้ท่านมีทรรศนะกว้างไกลขึ้นกว่าทรรศนะทางศาสนาฮินดู ส่วนความรู้ทางตะวันตก ท่านได้รับอิทธิพลจากแนวคิด
ทางปรัชญาของเพลโต โพลตินุส คา้ นต์ บรัดเลย์ แบรก์ ซอง และไวต์เฮด ในบรรดานกั ปรัชญาอินเดยี รว่ มสมัย ผ้ทู ีท่ ่านประทับใจ
มากทีส่ ดุ ได้แก่ รพินทรนาถ ฐากรุ และคานธี ดงั ท่ีท่านสารภาพออกมาวา่

“ในบรรดานักคิดชาวตะวันตก ข้อเขียนของเพลโต โพลตินุส คานต์ บรัดเลย์ และแบร์กซอง มีอิทธิพลต่อข้าพเจ้ามาก
ที่สุด ข้าพเจ้ามีความสัมพันธ์ฉันมิตรกับท่านรพินทรนาถ ฐากุล และท่านคานธี ซึ่งเป็นนักคิดร่วมสมัยชาวอินเดียผู้ยิ่งใหญ่ของ
ขา้ พเจา้ นานเกอื บ 30 ปี และข้าพเจ้าตระหนกั ถึงความสำคญั ใหญ่หลวงท่ที ่านใหแ้ กข่ ้าพเจา้ ”

นอกจากได้รับอิทธิพลภายนอกดังกล่าวแล้ว แนวความคิดทางปรัชญาของ ดร.ราธกฤษณัน ยังออกมาจากอิทธิพล
ภายในตวั ทา่ นอกี และเป็นอทิ ธิพลท่สี ำคัญทสี่ ุด นนั่ คือ ประสบการณ์ทางศาสนาของท่าน เพราะทา่ นใชป้ ระสบการณ์ทางศาสนา
นี้เป็นข้อมูลทางปรัชญาของท่านมากที่สุด ผู้ศึกษาปรัชญาของท่านโดยรอบคอบ จะพบความจริงข้อนี้ได้เอง เพราะฉะนั้น
ปรัชญาของทา่ นจึงเรยี กกันวา่ ปรัชญารหัสยะ (a mystic philosophy)

4

หลกั ปรชั ญา
1. แนวโน้มทางปรัชญาสมยั ใหมท่ ม่ี ีต่อศาสนา

ดังกล่าวไว้แล้วว่า ปรัชญาของดร.ราธกฤษณัน ตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งประสบการณ์ทางศาสนา ท่านจึงต้องการปกป้อง
ศรัทธาทางศาสนาให้คงอยู่ โดยพิจารณาข้อโต้แย้งต่างๆ ที่ได้คัดค้านศาสนา แล้วให้ข้อวินิจฉัยวา่ ข้อโต้แย้งเหล่านัน้ มีเหตุผลฟัง
ได้หรือไม่ เนื่องจากสมัยน้ี เป็นสมัยแหง่ เหตุผล ซึ่งแน่นอนจะตอ้ งมีข้อขัดแยง้ กับศาสนาท่ีนับถอื กันสืบมาเป็นประเพณี และเคย
เจริญร่งุ เรืองอยใู่ นสมัยกลาง แนวโน้มทางปรชั ญาทโ่ี ต้แย้งกบั ศาสนา อาจจำแนกออกเป็นประเภทดงั นี้

อเทวนิยมฝา่ ยธรรมชาตนิ ยิ ม (Naturalistic Atheism)
เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ คือผู้ให้ทรรศนะเกี่ยวกับอเทวนิยมฝ่ายธรรมชาติไว้ และพยายามจะล้มล้างความเชื่อหรือศรัทธา
ทางศาสนาทั้งปวงให้หมดส้ินไป ในปรชั ญาของเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ กลา่ วถึงโลกไวว้ า่ โลกประกอบด้วยอะตอมหรือพลังงาน ซ่ึง
ไม่แตกต่างกับสว่ นประกอบของมนุษย์พลังงานอันไม่มีชีวิตจิตใจเหล่านี้แหละประกอบกันเข้าเป็นโลกหรือเอกภพ มนุษย์เป็นผล
พลอยไดข้ องพลงั งานเหล่านี้ โลกอาจสลายตวั ลงไดเ้ พราะธาตธุ รรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรนุ แรงและแตกสลายออกจาก
กนั มนุษยชาตเิ ปน็ สัตว์ที่โง่เขลาเบาปัญญา เกรงกลวั ไม่กล้าเผชญิ หน้ากับความจริง คอื ความเจ็บ ความตาย และความพินาศฉิบ
ฉาย พวกเขาจึงสร้างศาสนาขึ้นเพื่อปลุกปลอบใจให้หลบหนีความจริงของโลก คือ ความทุกข์และความพินาศฉิบหายดังกล่าว
ความน่ากลัวของโลกก่อให้เกิดความกลัวขึ้นในมนุษย์ เบอร์ทรันด์ รัซเซลล์ กล่าวว่า “ทรรศนะของข้าพเจ้าในเรื่องศาสนา ก็คือ
ทรรศนะของลูครีติอุส ข้าพเจ้าถือว่า ศาสนาเป็นเชื้อโรคอย่างหนึ่งเกิดความกลัว และเป็นบ่อเกิดแห่งความทุกข์ของมนุษย์”
มนษุ ยไ์ มส่ ามารถเผชญิ หน้ากับความจรงิ เขาจงึ คิดฝันสร้างพลงั ทพิ ย์ พระจิต และพระเปน็ เจา้ ขึน้ มา

ดร.ราธกฤษณนั ได้วจิ ารณ์ทรรศนะของอเทวนิยมดังกลา่ วไว้ในหนังสือของท่านช่อื An Idealist View of Life ตอนหน่ึง
วา่ “อเทวนิยมฝา่ ยธรรมชาตนิ ิยมน้ี ถือวา่ ศาสนามี 2 สว่ น คือ ส่วนท่ี 1 ได้แก่ การนบั ถืออุดมคติ วา่ เปน็ เพียงอดุ มคติ และส่วน
ที่ 2 ไดแ้ ก่ การนับถือสิ่งทป่ี รากฏจริงว่าเป็นเพยี งส่งิ ทีป่ รากฏจรงิ หรือสง่ิ ทม่ี ีอยู่ ส่วนที่ 1 วา่ ด้วยความดี แต่ไม่เก่ยี วขอ้ งกับความมี
อยู่ของวัตถุแห่งความดีนั้น และส่วนที่ 2 ว่าด้วยความมีอยู่ของวัตถุแห่งความดี แต่ไม่เกี่ยวข้องกับความดี” อุดมคติและคุณค่า
ทางศาสนาทงั้ หลายล้วนเป็นเท็จโดยสิ้นเชิง คอื เป็นเพียงอุดมคตไิ มใ่ ช้ความจรงิ

ท่านกลา่ วต่อไปว่านกั ธรรมชาตนิ ยิ มนั้นไมม่ ีศรทั ธาในชีวติ เขาเป็นทุทรรศนนิยมทหี่ าความสุขในโลกไม่พบ ตามทรรศนะ
ของเขาโลกน้ีเติมไปดว้ ยความทรมาน ความตาย โรคภยั และความเจ็บปว่ ยแต่พวกอเทวนิยมเหล่าน้มี ีความอดทน เขารู้สึกเฉยๆ
ต่อความทุกข์และความทรมานทางกาย เขาสอนให้ทุกคนไม่ปรารถนาสิ่งใด ไม่กลัวอะไร ไม่ให้มีสมบัติอะไร และให้อดทนต่อ
ความทกุ ข์ยากทั้งหลาย

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เห็นว่าศิลปะก็เป็นอีกหนึ่งที่มนุษย์คิดสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อหลบหลีกจากความน่ากลัวของความจริง
ศิลปะอาจทำหน้าที่แทนศาสนาได้ เราจะต้องทิ้งศาสนา แล้วสร้างแหล่งหลบภัยหรอื ที่พึ่งอย่างอื่นขึ้นแทน เช่นศิลปะ ซึ่งอาจทำ
ให้เราสงบระงับได้และอาจดึงใจเราให้ไปสนใจจดจ่ออยู่ศิลปะนั้นได้ ศิลปะอาจทำให้คนนึกฝันเห็นเทวสถานเล็กๆ แล้วสร้างขนึ้
ณ ทท่ี เ่ี ขาสามารถไปบชุ าอุดมคตขิ องเขาไดต้ ามต้องการ

ดร.ราธกฤษณันกล่าวถึงนักคิดพวกนี้ไว้หนังสือเล่มเดียวกันนั้นว่า “พวกอภิชนาธิปไตยทางพุทธิปัญญาของสมัยเรานับ
ถือลัทธิอย่างหน่ึงเป็นลัทธิที่ผสมกันระหว่างทรรศนะต่างๆ ทางธรรมชาตินิยมลัทธิสโตอิก ลัทธิเปกัน (ลัทธิที่ไม่เชื่อถือศาสนา)
และทุทรรศนนยิ ม”

5

ดร. ราธกฤษณันตั้งข้อสังเกตว่า อเทวนิยมฝ่ายธรรมชาตินั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานทางอภิปรัชญาที่ผิดๆ คือมุ่งแสดงเหตุผล
มากกว่ามุง่ แสวงหาทางบรรลุความจริง เหตุผลท่ยี กมาคัดคา้ นศาสนาเกิดจากความเลื่อมใสในศรทั ธาและหลักการของศาสนาน้ัน
ปัญญาข้นั เหตผุ ลไมส่ ามารถเขา้ ถึงได้ พวกนี้จงึ ไม่รูซ้ งึ้ ดร. ราธกฤษณันจงึ วจิ ารณท์ รรศนะของอเทวนิยมฝา่ ยธรรมชาตินิยมไวด้ ังน้ี

1) ลัทธินิยมแบบสโตอิกและเปกัน (the stoic-pagan creed) ของอเทวนิยมฝ่ายธรรมชาตินิยมนั้นยังอ่อนมาก (ฟังไม่
ขึ้น) เพราะศรัทธาในชีวิตและโลกเป็นสารัตถะหรือเนื้อแท้ของมนุษย์ คนที่ถือว่าโลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์โศกโรคภัย จะไม่มี
ความหวังใดๆในโลกหน้าหรือกาลข้างหน้า เพราะเขาแจ้งจุดหมายปลายทางและอุดมคติของชีวิตดีแล้ว พวกอ เทวนิยมฝ่าย
ธรรมชาตนิ ิยมอยใู่ นโลกนโ้ี ดยปราศจากความหวงั และประณธิ าน มนุษย์เราย่อมจะหวังและตัง้ ประณิธานไว้เพื่อพฒั นาให้บรรลุถึง
ชีวิตที่สูงขึ้น เขาตระหนักดีว่าอะไรคือจุดหมายของเขาแล้วสร้างสรรค์โครงสร้างสังคมให้ดีขึ้น แต่พวกอเทวนิยมฝ่ายธรรมชาติ
นิยมนี้ขาดศรัทธาในเรื่องดังกล่าว ดร.ราธกฤษณัน ให้ข้อสังเกตวา่ ในโลกนี้มกี ฎเกณฑ์และหลกั เกณฑ์แต่ละหน่วยของธรรมชาติ
รวมกันได้ด้วยกฎเกณฑ์และหลักเกณฑ์ขั้นสูงของจักรวาล หน่วยของธรรมชาติหน่วยหนึ่งๆ สะท้อนให้เห็นถึงหลักเกณฑ์ของ
เอกภาพ เอกภพนี้คือจุลจักวาล ซึ่งสะท้อนให้เห็นมหาจักวาลหรือสากลจักรวาลได้ โลกทั้งโลกเป็นเอกภาพอย่างหนึ่ง เอกภพ
ชีวิต และจิต ไม่ใช่สมบัติจรของระบบโลก แต่เป็นส่วนต่างๆของระบบโลกนั้น ดังที่ดร.ราธกฤษณัน กล่าวไว้ว่า “ถ้ามีกฎ มี
ระเบียบในเอกภพ ชีวิตจิตใจของเราก็ไม่ใช่เพียงสมบัติจรของเอกภพนั้น แต่ เราสัมพันธ์แนบแน่นอยู่ กับเอกภพนั้นและมีถ่ิน
กำเนิดอย่ใู นน้นั ดว้ ย”

2) ที่พวกอเทวนิยมเห็นว่า โลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์โศก คนเราต้องการหลบหลีกหรือเอาศาสนาเป็นท่ีพึ่ง ศาสนาจึง
เปน็ ท่พี ่งึ ของผไู้ มก่ ลา้ สู้คนจริง และอยู่อยา่ งคนเพ้อฝัน ดร.ราธกฤษณัน เหน็ ว่า พวกนีใ้ หภ้ าพของโลกอย่างผิดๆ อันทจี่ รงิ โลกมีท้ัง
ความสุขสำราญ ความดี ความทุกข์โศก มนุษย์หาได้ต้องการศาสนาเพื่อหนีหน้าความจริงไม่ ข้อเสนอของพวกอเทวนิยมที่ว่า
ความสุขเป็นจุดหมายปลายทางของชีวิตนั้น นักปรัชญาทั้งหลายไม่อาจยอมรับแน่นอน คนเราอยู่เพื่อจุดหมาย เป้าหมาย
จดุ ประสงค์ เราไม่ไดถ้ ือว่าความสุขเป็นเป้าหมายของชวี ิต เพราะในการดำเนินชวี ิตเพ่อื ใหบ้ รรลจุ ุดหมายน้นั เราก็ยินดีท่ีจะเผชิญ
กับความทุกข์ความลำบากนานาชนิดคนใดทำงานตามคำบงการของความสุขทางเนื้อหนังและเพื่อหลบหลีกทุกข์เท่านั้น คนนั้น
ชอ่ื ว่ายงั อย่ใู นระดบั ตำ่

3) ทเ่ี บอร์ทรนั ด์ รสั เซลลก์ ล่าวว่า ความกลัวเป็นบ่อเกิดของศาสนานัน้ เป็นญัตติท่ีผดิ อย่างรา้ ยกาจ เราถามว่า อะไรเป็น
ของความกลัว คำตอบคือ สติปัญญาเป็นเหตุของความกลัว หมายความว่า มนุษย์เกรงกลัวธรรมชาติจะให้โทษ ก็เพราะเขา
คิดเห็นด้วยสติปัญญาว่า ธรรมชาติเป็นศัตรูกับเขา ธรรมชาติแตกต่างไปจากเขาความคิดที่เป็นทวินิยมในเรื่องนี้แหละเป็นเหตุ
หรือบ่อเกิดของความกลัวนี้แสดงวา่ สตปิ ัญญาที่ไม่สมบูรณ์ที่มีความจำกัดน้ีเองเปน็ เหตุให้สร้างทวิภาพระหวา่ งตัวเรากับวัตถุหรื
อมนุษย์กับธรรมชาติ ศาสนาช่วยขจัดความกลัวโดยสอนให้รู้แจ้งตนว่า มีความผูกผันเป็นเอกภาพหนึ่งเดียวระหว่ างตัวเรากับ
ธรรมชาติและสิ่งทั้งหลาย ศาสนาสอนให้เราเข้าใจธรรมชาติให้ลึกซึ้งกว่าสติปัญญาหรือพุทธิปัญญา เราจึงรู้ซึ้งถึงสัมพันธภาพ
ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ เมื่อใดมนุษย์ไดป้ ระสบการณ์ทางศาสนา เมื่อนั้นเขาจะรวมเข้ากับเอกภพอย่างแนบแน่น ความเห็น
แบง่ แยกระหว่างตวั เขากบั โลกจะสญู หายไปทนั ที

4) อเทวนิยม หาใช่ลัทธิท่ลี ึกซง้ึ ไม่ เปน็ เพยี งระดับสติปัญญาเท่าน้นั คนทมี่ ีความรขู้ ั้นสตปิ ัญญาหรือพุทธิปัญญาน้ีไม่อาจ
เข้าถงึ สัจธรรมช้ันสูงได้เลย สจั ธรรมชน้ั สูงน้นั ต้องใช้ประสบการณช์ นั้ สูง เชน่ โพธญิ าณจึงจะเขา้ ถึงได้ ปรชั ญาของเบอร์ทรันด์ รัส
เซลล์หาได้พิสูจน์ถึงความล้นเหลวของมนุษย์ไม่ แต่พิสูจน์ถึงความไม่เพียงพอของพุทธิปัญญาที่จะเข้าถึงได้ ปรัชญาของเบอร์ท
รันด์ รสั เซลลห์ าได้พสิ จู นถ์ งึ ความลม้ เหลวของมนษุ ยไ์ ม่ แตพ่ สิ จู นถ์ ึงความไมเ่ พยี งพอของพุทธปิ ัญญาที่จะเข้าถึงศาสนาน้ันเอง

6

5) อเทวนิยมฝ่ายธรรมชาติคัดค้านความเชื่อเรื่องสวรรค์ในศาสนาซึ่งเป็นโลกที่อยู่เหนือและเลยธรรมชาติไป ในเรื่องนี้
ดร.ราธกฤษณันให้ความเห็นไว้ว่า ไม่มีการตัดแบ่งระหว่างธรรมชาติกับเหนือธรรมชาติ เพราะเหนือธรรมชาติไม่มีอะไรแตกต่าง
กับธรรมชาติ พระเป็นเจ้าหรือพรหมันหาได้ขัดแย้งกบั ธรรมชาติและหาใช่เป็นสัจธรรมท่ีแตกต่างกบั ธรรมชาตไิ ม่ เพราะพรหมัน
สำแดงองค์ออกมาในธรรมชาติ ธรรมชาติจึงเป็นกายของพรหมัน ผู้เข้าถึงณานสมาบัติแล้ว จะขจัดเครื่องกีดขวางหรืออุปสรรค
ระหว่างอันติมสัจกับปรากฏการณ์และธรรมชาติกับจิต พรหมันหรืออันติสัจนี้สำแดงองค์ออกมาในรูปแบบต่างๆ ของธรรมชาติ
และจิต

อไญยนิยม (Agnosticism)
อไญยนยิ ม ถือวา่ มนุษย์เราไม่สามารถเข้าถึงความลึกลบั ของศาสนาได้ ความจรงิ แทศ้ าสนาจึงเป็นส่ิงที่ยงั ไม่มีใครรู้และรู้
ไม่ได้แม้อไญยนิยมจะไม่ปฏิเสธว่า ความจริงไม่มีอยู่ก็ตาม แต่เขาก็เห็นว่าความรู้ที่จะเข้าถึงความจริงนั้นเป็นไปไม่ได้ มนุษย์ไม่
รจู้ ักบ่อเกิดของชวี ิตและเป้าหมายของชีวิต การเร่มิ และการส้ินสดุ ของชีวติ ยงั ไม่มีใครร้แู ละรู้ไม่ได้ เรารจู้ กั โลกเพยี งบางส่วน คือรู้
สว่ นกลาง (สว่ นทป่ี รากฏในปัจจุบนั ส่วนที่เปน็ มาไม่ไดป้ ฏเิ สธความจริงแทห้ รอื อนั ตมิ สจั นน้ั มีสภาพเป็นอย่างไร

ดร. ราธกฤษณัน ถามว่า อไญยนิยมแน่ใจได้อย่างไรว่า ความจริงที่ยังรู้ไม่ได้ปัจจุบันจะยังคงเป็นสิ่งที่ใครๆ ไม่รู้และรู้
ไม่ได้ไปตลอดกาล อาจมีผู้รู้ในอนาคตก็ได้ มนุษย์รู้ว่าเขาเป็นคนโง่แต่ก็มีเอกสิทธิ์พิเศษ อไญยนิยมกำหน ดขอบเขตจำกัดของ
ความรู้และความไม่รู้ของมนุษย์ขึ้นเอง ถ้าอไญยนิยมเชื่อว่าความรู้ที่เป็นอุดคติสามารถกลายเป็นจริงได้ ก็ไม่ควรห้อมมิให้คน
มงุ่ ม่นั แสวงหาความรู้ในเรือ่ งความจรงิ

วิมตนิ ิยม (Scepticism)
วิมตินิยม ตั้งข้อสงสัยในระบบปรัชญาต่างๆ ไม่ยอมรับว่า ระบบปรัชญาใดบา้ งถูกตอ้ งนา่ เช่ือ เขาได้รับการอบรมใหเ้ ชอ่ื
ระบบความคิดระบบใดระบบหนึ่งเหมือนกนั แตเ่ ขายงั ไม่พบวา่ ระบบใดน่าเช่ือไมว่ า่ ปรัชญา ศาสนา ศลิ ปะ หรือรัฐศาสตร์ รบบ
ความคิดที่เขาสนใจเปน็ พิเศษ คือศาสนา แต่เนื่องจากเขาเห็นว่า ในขณะนี้ยังไม่มีศาสนาใดที่นา่ เชื่อ เพราะยังมีที่สงสัยอยู่หลาย
ประเด็น เขาจงึ ไม่เช่ือศาสนาใดเลย

สมัยของวิมตินิยมโดยทั่วไปเป็นสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อแห่งการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ เมื่อวัฒนธรรมเฮเลนเสื่อมสลายลง
วัฒนธรรมซอปิสต์อุบัติขึ้น ระหว่างนั้นเอง วิมตินิยมก็เกิดขึ้นต่อต้านคัดค้านความเชื่อทางศาสนาที่สืบทอดกันมาเป็นปรัมปรา
ประเพณี โดยมุ่งขจัดความเชื่ออันไม่มีเหตุผลเหล่านี้ แต่ดร.ราธกฤษณันให้ทรรศนะว่า ไม่มีวิมตินิยมใดคงความสงสัยไปตลอด
กาล กล่าวคือ เมื่อเขาไม่ยอมรับความเชื่อเก่าๆ เขาก็คิดสร้างความเชื่อใหม่ขึ้นแทน หรือไม่ก็ยอมรับความเชื่อใหม่ๆ อื่นที่มี
เหตผุ ลควรเชื่อ เพราะพวกวิมตนิ ิยมทัว่ ไปก็มีใจรักความจริงและม่งุ แสวงหาความจรงิ ถ้าพบความจรงิ ท่ีตรงใจ ความสงสยั กม็ ลาย
ไป วมิ ตนิ ิยมของเขาก็ย่อมสุดสนิ้ ลง เชน่ พวกโปรเตสแตนต์ทต่ี ่อต้านศาสนาครสิ ต์นิกายคาทอลิก ในที่สดุ เขากต็ ้ังนิกายข้ึนมาใหม่
คือนิกายโปรเตสแตนต์ ข้อนี้แสดงให้เห็นชัดว่า การปฏิเสธไม่ใช่เป็นเพียงการปฏิเสธ แต่มีการบอกเล่าหรือการเสนอข่อคิดเห็น
ใหม่ข้ึนแทนที่ด้วยฉะน้ัน วิมตนิ ยิ มทใ่ี ชเ้ ป็นเครอื่ งมือสำหรบั ดำเนินการเพอื่ พิสูจน์หาความจริง เป็นสงิ่ ท่ดี ีมปี ระโยชน์ ดงั เช่นที่เดส์
กาตส์ใชไ้ ด้ผลมาแลว้

7

มนุษยนิยม (Humanism)
สมัยใหม่เป็นสมัยแห่งเหตุผลและสมัยวิทยาศาสตร์ เป็นสมัยที่ผู้คนขจัดความเชื่อต่างๆ ทั้งที่เป็นความเชื่อทางไสย
ศาสตรแ์ ละความเชื่อทางศาสนา ตลอดจนความเช่ือตามตำรา โดยเฉพาะนักวทิ ยาศาสตร์จะไม่ยอมเชื่อรากฐานหรือภูมิหลังของ
ศาสนาใดๆเลย และไม่คิดสร้างศาสนาใหม่ที่ตรงกับใจของตนขึ้นมาแทนที่ด้วย ต่างกับพวกอไญยนิยมและพวกวิมตินิยม ซึ่ง
ปฏเิ สธศาสนาตามประเพณนี ิยม แต่สร้างท่พี ่งึ ทางใจขนึ้ มาเอง นั่นคือ มนุษยนิยมแบบโลกียวสิ ยั (secular humanism) พวกนี้มี
ทรรศนะว่า โบสถ์ก็ดี จารีตประเพณีก็ดี พิธีกรรมก็ดี ความเชื่อต่างๆ ก็ดี ล้วนเป็นเท็จหรือไม่มีความหมาย มนุษย์เป็นผู้เจริญ
สูงสดุ ในโลก การยกระดับของมนุษยใ์ ห้สูงข้ึน จำต้องอาศยั ชีวิตแบบโลกๆ ทสี่ มบูรณ์ มีทรัพยส์ มบตั ิมากพอและมีความเสมอภาค
กัน โดยนัยนี้ พวกมนุษยนิยม จึงก้าวเลยวิมตินิยมไป กลายเป็นผู้มีแบบแผน ของชีวิตความเป็นอยู่ คือ ต้องการบ ริการมนุษย์
ตอ้ งการสมภาพ ภราดรภาพ และเสรีภาพ มนษุ ยนิยมจงึ เข้ามาแทนที่ศาสนาสำหรับผไู้ ม่นบั ถือศาสนา ผู้เป็นนกั เหตผุ ลนิยม และ
นักสงั คมนิยมในสมยั ปัจจบุ ัน

พวกมนุษยนยิ มถือว่า ทฤษฎที างศาสนาน้ันเป็นเพยี งการเกง็ หรือการคาดคะเนความจริง หรอื เปน็ เครื่องมือมอมเมา คน
ยากไร้และคนชั้นต่ำ ความจริงของศาสนา เราไม่เชื่อว่ามีจริง แต่ชีวิตเรา เราเชื่อแน่ว่ามีจริง เราจึงต้องเคารพนับถือชีวิต ไม่
เคารพศาสนา ไมเ่ คารพธรรมชาติ

พวกมนุษยนิยมถือว่า พระพุทธเจ้า ขงจื๊อ คานต์ พระเยซูคริสต์ และศาสดาของศาสนาอื่นๆ ตลอดจนผู้ก่อตั้งปรัชญา
ลว้ นเป็นนักมนุษยนยิ มผยู้ ่งิ ใหญ่ท้ังน้ัน

ดร.ราธกฤษณันได้วิจารณ์มนุษยนยิ มไว้ดังนี้

(1) มนุษย์มีความปรารถนาจะเขา้ ถึงพระเป็นเจา้ เนื่องจากการไดม้ าซึง่ ทรัพย์สมบัตทิ ี่เป็นวัตถนุ ั้นไมอ่ าจทำให้มนุษย์พงึ
พอใจ เขาจึงมีประณิธานที่จะเข้าถึงพระเป็นเจ้า คือติดต่อทางใจกับพระเป็นเจ้า และเปลี่ยนสภาพของจิต ชีวิต และร่างกายที่
เป็นโลกีย์ให้กลายเป็นเทพมนุษยนิยมมุ่งสร้างมนุษย์แบบโลกียะคือ ให้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ และมีบุคลิกภาพสูงขึ้น แต่
มนุษย์ต้องการเพียงเท่านี้หรือก็เปล่า เขายังต้องการมากกว่านั้น คือต้องการพัฒนาบุคลิกภาพให้เป็นเทพและเ ป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกบั พระเปน็ เจา้ เพลโต และอรสิ โตเตลิ ผู้กำเนดิ มนษุ ยนยิ มตะวันตก กต็ ระหนักดวี า่ ความปรารถนาแหง่ จิตนนั้ ไม่ อาจระงับ
ไดด้ ้วยทรัพยส์ มบตั ทิ างวตั ถุ

จิต (อาตมัน) ของมนุษย์เป็นภาวะนริ ันดรเป็นอมตะ จุดหมายปลายทางของจติ จึงไม่ใช่ชีวิตนี้ ชีวิตเดียว มนุษย์เพิกเฉย
ตอ่ ข้อเท็จจรงิ ทวี่ า่ ผ้ทู ไ่ี มส่ มบรู ณน์ นั้ ตอ้ งการบรรลุถงึ ความสมบรู ณ์ คอื ภาวะทจี่ ิตกา้ วข้ึนสงู เหนอื ร่างกาย และพบความสงบสุขใน
การเขา้ รว่ มกับพระเปน็ เจ้า จงึ ประสงคจ์ ะพฒั นาจิตให้หลดุ พ้นจากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ในสังสารวัฎ ท่ีเรยี กวา่ เข้าถึงโมกษะ แต่
มนุษยนิยมถือวา่ มนษุ ย์ไมส่ นใจกับกำเนิดทิพย์ของมนุษย์ ดงั ท่ี ดร.ราธกฤษณนั กล่าวว่า “กำเนดิ ของมนุษยภาวะอยู่ในโลกที่เรา
มองไม่เห็น (โลกทพิ ย)์ และเปน็ โลกเทยี่ งแทถ้ าวร จดุ หมายของมนุษยห์ าได้จำกัดอยู่แต่ชว่ งเวลา ทเ่ี ขามีชวี ติ อยู่ในโลกน้ีเท่าน้ันไม่
มนษุ นยิ มกค็ อื เหตผุ ลนยิ มน่ันเอง และเพิกเฉยหลักการสำคญั ในชีวิต ซ่ึงไมส่ ามารถรับร้ไู ดด้ ้วยพุทธปิ ญั ญา

มนษุ ยจ์ ะเขา้ ถงึ โมกษะหรือความหลุดพน้ จากสงั สารวฎั ได้กโ็ ดยปฎบิ ัตติ ามหลักการศาสนา มีปญั หาวา่ มนษุ ย์ตอ้ งการจะ
พ้นทุกข์ ต้องการมีชวี ิตร่างกายละจิตใจเปน็ เทพหรือไม่ ถา้ ต้องการ ศาสนาเท่าน้ันทจ่ี ะชว่ ยได้ ไม่ใช่มนษุ ยนิยม

(2) มนุษยนยิ มเหน็ ว่า ส่ิงทีจ่ ำเปน็ ต่อมนุษย์ คอื ระเบียบวนิ ยั ความสมบรู ณ์ และความประสานสอดคลอ้ งกันในชีวิต แต่
ดร.ราธกฤษณนั เหน็ ว่า ส่งิ ท้ังสามนจ้ี ะเกดิ ข้นึ ได้ก็ต่อเมอ่ื มนุษยเ์ ข้าถงึ พระเป็นเจ้าหรือเปน็ อนั หน่ึงอันเดียวกบั พระเป็นเจ้าเท่าน้ัน
มนุษยนิยมถือว่าแรงดลใจตามธรรมชาติ กับเจตจำนงทางศีลธรรมของมนุษย์ขัดกัน เข้ากันไม่ได้ คือ แรงบันดลใจตามธรรมชาติ

8

เป็นภาวะพื้นฐานของจิตมนุษย์ ซึ่งจะถูกเจตจำนงทางศีลธรรมเข้าแย่งหรือปราบให้หลบหายไป ถ้า ไม่มีเจตจำนงทางศีลธรรม
เหนี่ยวรั้งไว้ แรงดลใจธรรมชาติจะชักนำบุคคลให้หนีห่างไปจากศีลธรรม แต่ ดร. ราธกฤษณันถือว่า ทรรศนะเช่นนี้ไม่ถูกต้อง
เพราะถ้าแรงดลใจทางธรรมชาติกับเจตจำนงทางศีลธรรม ขัดกันและต่างก็เป็นภาวะอิสระ จะไม่มีความสมบูรณ์ และความ
ประสานสอดคล้องในชีวิต ดังที่มนุษยนิยมสอนให้มนุษย์พัฒนาให้มีขึ้นในชีวิต ดร.ราธกฤษนัน กลับเห็นว่า ไม่มีทวิภาพระหว่าง
ภาวะทั้ง 2 ชนิดนี้จริงๆท่านเน้นว่า เจตจำนงทางศีลธรรมเท่านั้นเป็นภาวะที่มีและเป็นอย่างเดียวกับพระเป็นเจ้าในคน ฉะน้ัน
เจตจำนงทางศลี ธรรมเท่าน้ันเป็นภาวะท่ีมแี ละเป็นอย่างเดยี วกบั พระเป็นเจ้าในคน ฉะนนั้ เจตจำนงทางศีลธรรมจึงเปน็ ตัวการทำ
ใหจ้ ิต (อาตมัน) ชวี ิต และร่างกาย รวมกันอย่างสอดคล้อง

(3) พวกมนุษยนิยมถือว่า ทางสายกลางเป็นวิถีชีวิตตามหลักจริยธรรม ถ้าจะให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างการ
ประพฤติพรตอย่างเคร่งครดั กับการปล่อยตัวปล่อยใจไปตามความใคร่ ความปรารถนา นักมนุษยนิยมจะไม่เลือกทัง้ 2 อย่าง แต่
จะเลือกเอาทางสายกลางระหว่าง 2 อย่างนั้น ซึ่งเขาถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุด และเป็นการปฎิบัติตามหลักศีลธรรมโดยแท้ แต่ ดร.
ราธกฤษณัน เหน็ วา่ ทางสายกลางนัน้ ไมใ่ ชก่ ำหนดโดยง่าย สว่ นมากจะเขา้ ใจสลับสบั สนกัน คือแยกไมไ่ ดว้ า่ ตรงไหนเป็นทางสาย
กลางจริงๆ เช่น ระหว่าง ความดี กับ ความชั่ว ความถูก กับ ความผิด การฆ่าสัตว์ กับ ไม่ฆ่าสัตว์ ตรงไหนล่ะที่เป็นกลาง หรือ
เช่นระหว่าง มากเกินไป กับ น้อยเกินไป ตรงไหนเป็นกลาง ดร.ราธกฤษณัน เห็นว่า ทางสายกลางบางทีมิใช่ทางที่ถูกต้องตาม
หลักศีลธรรมเสมอไป เช่น บางพวกถือว่า กฎแห่งการล้างแค้น เป็นทางสายกลางระหว่าง ความไม่รุนแรง กับ ความรุนแรง ซ่ึง
ไม่ใช่กลางจริงๆ อนึ่ง ทางสายกลางของพวกพ่อค้า แม่ค้า ก็คงหาได้ยากยิ่ง ดร.ราธกฤษณัน จึงเห็นว่า ผู้ปฎิบัตติ ามหลักศาสนา
จนได้สตปิ ญั ญาญาณเทา่ นั้น จึงจะกำหนด แยกทางสายกลางออกจากทางสุดโตง่ 2 สาย ได้อย่างแน่นอน

(4) มนุษยนิยมไม่สามารถขจดั ความโศกเศร้า และความทุกข์ใหถ้ อนรากถอนโคนออกไปได้ เป็นแต่เพยี งการสร้างสังคม
ข้นึ มาอกี สงั คมหนง่ึ ที่ไม่ขาดแคลนวัตถุ แต่หนคี วามตายไม่พน้ จึงตอ้ งมที งั้ ทกุ ข์ทั้งโศก อยู่ตลอดไป นักศาสนา เชน่ โสเครตีส และ
พระเยซเู ทา่ นั้นทม่ี คี วามสขุ ขณะเผชิญหนา้ กับความตาย เพราะทา่ นเชอ่ื ในอมตวญิ ญาณในคน

(5) มนุษยนิยมเกี่ยวข้องกับคุณค่า กล่าวคือสอนให้เห็นคุณค่า เป็นภาวะนิรันดร แต่ศาสนาสอนให้เห็นความสัมพันธ์
คณุ ค่า กับสจั ธรรม และความสมั พันธ์ระหว่างชวี ิต มนษุ ยก์ บั ภูมหิ ลงั ขั้นสุดท้ายของมนุษย์

(6) มนุษยนิยมที่บริสุทธิ์จริงๆ กับศาสนาหาได้ขัดกันไม่ แต่ต่างก็ช่วยให้บรรลุถึงความรู้แจ้งตน และช่วยบรรเทาความ
ทุกขใ์ ห้มนษุ ยชาติ ธรรมชาตนิ ิยมถอื วา่ คนไม่ใช่ภาวะท่ีมจี ิตใจเท่ากนั แต่ศาสนาถือว่า คนไมใ่ ชเ่ ปน็ ภาวะที่มีชีวิตจิตใจเท่านั้นแต่
ยังมอี าตมัน (วญิ ญาณ) ซง่ึ สมั พันธอ์ ยา่ งใกล้ชดิ กบั พรหมนั ผเู้ ปน็ เจ้าดว้ ย

9

ลทั ธสิ ิทธอิ ำนาจ
ลัทธิสทิ ธิอำนาจ คือ ลัทธิที่เชือ่ ถือในคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ พระสันตะปาปา คริสตจักร ศาสนพิธี และพิธีกรรมอืน่ ๆ ลัทธิน้ไี ม่
เช่อื ในความถูกต้องของเหตุผล จงึ มักนำไปสูล่ ทั ธิทางไสยศาสตร์ หรอื คตคิ วามเชือ่ ในเร่ืองเคร่ืองรางของขลัง เพราะไม่รู้ความจริง
ทางศาสนา ในโลกตะวันตกสมัยโบราณ ประชาชนทั่วไปไม่คุ้นเคยกับพระคัมภีร์ไบเบิล เพราะใช้ภาษาละติน พระสันตะปาปา
และพวกขึงใช้อำนาจเผด็จการทางศาสนา คือใช้วิธีบังคับให้เชื่อ ให้ทำตาม ในอินเดียสมัยโบราณก็เหมือนกัน พวกพราหมณ์
เท่านั้นที่เป็นพวกแก่เรียนประจำหมู่บ้าน ประชาชนต้องปฎิบตั ิตามโดยไม่รูซ้ าบซ้ึงถึงความหมายและสาระสำคญั ของคัมภีร์ทาง
ศาสนา แต่เขาก็เชือ่ คำสอนทางศาสนาโดยไมต่ ้องศึกษาหาข้อพิสูจน์ความจรงิ

ในสมัยใหม่ พวกที่ถือตัวว่า เป็นปัญญาชนไม่ยอมเชื่อทั้งศาสนาและลัทธิอำนาจหรือคติความเชื่อเครื่องรางของขลังว่า
สามารถทำให้มนุษย์รับผลตามต้องการ แต่การปฎิเสธของพวกปัญญาชนส่วนมากก็เชื่อตามๆกันมา โดยไม่ได้ศึกษค้นคว้าอย่าง
จริงจงั ดว้ ยตนเอง

ดร.ราธกฤษณนั วิจารณ์วา่ การเช่อื ตามเขาวา่ กบั การปฎเิ สธตามเขาวา่ เป็นการมองปญั หาด้านเดยี วพอๆกนั เขาเห็นว่า
คุณค่าของลัทธิอำนาจและลัทธิตามประเพณีที่ถือกัน สืบๆกันมา ก็ใช่ว่าจะไร้สาระเลยทีเดียว เพราะในลัทธิความเชื่อนั้นอย่าง
นอ้ ยกม็ มี รดกทางปัญญาของเชื้อชาติ เจ้าของลัทธนิ ้ันๆ สะสมอยดู่ ว้ ย เราคงไม่ปฎิเสธวา่ ทกุ คนเกิดมาในกองมรดก อันมหาศาล
แหง่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ท่ีสบื ทอดตอ่ ๆกันมาแต่อดตี กาล ฉะน้นั ทางท่ดี คี วรยอมรับคณุ ค่าเหล่าน้ี แตไ่ มค่ วรพอใจหยุดอยู่แค่
นี้ ควรจะกา้ วตอ่ ไปถงึ ขัน้ สงู สดุ คอื การพัฒนาจติ จนเข้าถึงความร้แู จ้งตน และเขา้ ถึงพระเป็นเจา้ ซง่ึ เป็นจดุ หมายของศาสนาอย่าง
แทจ้ รงิ

2. พุทธิปญั ญากบั อตั ฌตั ตกิ ญาณ

ลกั ษณะของพุทธปิ ัญญา
พุทธิปัญญา คือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส เพราะพุทธิปัญญาเกี่ยวข้องกับข้อมูล
ทางประสาทสมั ผัส และวเิ คราะหข์ ้อมูลน้นั แลว้ สรปุ ตดั สินเป็นความรู้ พุทธิปญั ญาไมส่ ามารถรสู้ ่งิ จรงิ แทห้ รือสัจธรรมสูงสุด เป็น
แต่ทำหน้าทีแ่ ยกแยะคุณสมบัติต่างๆ ของสิ่งหนึ่งๆ ออกให้เห็นเด่นชดั และรู้ว่าคณุ สมบัติเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร กฎ
ทั่วไปก็กำหนดความสัมพันธ์ต่างๆนั้นเอง แต่ความรู้ในขั้นนี้เป็นความรู้ในเรื่องคุณสมบัติ ของวัตถุหรือสิ่งต่างๆ เท่านั้น ไม่ใช่
ความรู้ในตัววัตถุ หรือตัวสิ่งสิ่งนั้น เช่น นักวิทยาศาสตร์ ผู้ยิ่งใหญ่ทางไฟฟ้า จริงๆ คืออะไร เขารู้เฉพาะเรื่องราว ที่ เกี่ยวข้องกับ
ไฟฟ้าและผลของไฟฟ้าเท่านน้ั เขาไม่มปี ระสบการณ์ตรงใน เรอ่ื งสภาวะไฟฟ้า พุทธปิ ญั ญาเป็นเครื่องมือชว่ ยให้เรารู้ในสิ่งต่างๆท่ี
สงั เกตเหน็ หรือรไู้ ด้ทางประสาทสัมผสั ส่ิงทอ่ี ยูเ่ หนอื ประสาทสัมผัส พทุ ธปิ ญั ญารไู้ มไ่ ด้

พุทธปิ ญั ญากับอัชฌตั ติกญาณ
พุทธิปัญญา เป็นความรู้ระดับเหตุผลหรือระดับความคิด เกิดจากประสบการณ์ ทางประสาทสัมผัส หรือโดยอาศัย
ความรู้อื่น เป็นตัวกลางจึงสามารถทำให้เรารู้ความจริง แท้หรือสัทธรรมขั้นสูง ได้แต่เพียงผิวเผินคือรู้แค่คุณสมบัติของสัจธรรม
เท่านั้น ไม่สามารถรู้สภาพอันแท้จริงของสัจธรรมได้ ส่วนอัชฌัตติกญาณ คือความรู้ขั้นสมบูรณ์ เกิดขึ้นแวบภายในโดยไม่ต้อง
อาศัยประสบการณ์ทางประสาทสัมผสั หรือความคดิ สามารถรแู้ จ้งสัจธรรมภายในจติ ใจเราไดช้ ดั เจน

10

3. ประสบการณ์ทางศาสนากับการแสดงออกให้ผ้อู นื่ รตู้ าม

ดร. ราธกฤษณันนำเอาหลักปรัชญาที่ว่าด้วยประสบการณ์ทางจิตของท่านผู้รู้หลายท่านลัทธินิกายมาพัฒนาขึ้น เช่น
ประสบการณ์ของโสกราตีส โพลตินุส (Plotinus) ออกัสติน (Augustine) โปริฟิรี (Poryphyry) ดันเต (Dante) บันยาน
(Banyan) อันเดอร์ฮลล์ (Underhill) และนักปราชญ์ฮินดูจำนวนมาก ท่านเหล่านี้ได้ประสบการณ์ทางใจจิตขณะเข้าสมาธิแน่ว
แน่ ประสบการณ์ของท่านจึงไม่อาจปฏิเสธว่า เป็นเรื่องไร้สาระ เพราะมีหลักฐานพยานให้อ้างอิงได้มาก ประสบการณ์ในเรื่อง
พระเปน็ เจา้ (พระอศี วร) นนั้ เกดิ ไดท้ ัว่ ไปแก่คนทุกคนผอู้ บรมทางจติ ไดฌ้ านหรือขณะมีสมาธแิ นว่ แน่

ลกั ษณะของประสบการณท์ างจติ ของท่านผรู้ ู้เหล่าน้นั มีดงั น้ี

(1) ประสบการณ์ทางจิต คือปฏิกิริยาของมนุษยบุคลิกภาพทุกส่วนทีม่ ีต่อพระเป็นเจ้า กล่าวคือ เมื่อปัจเจกบุคคลได้รับ
การติดต่อกับพระเปน็ เจ้า สมรรถพลหรืออนิ ทรีย์ (faculty) ท้ังหมด ท้งั ทางพทุ ธปิ ญั ญา ทางศีลธรรม และทางอารมณ์ จะพัฒนา
ถงึ ขั้นสมบรู ณ์

(2) พระเป็นเจ้าที่เราสัมผัสได้ทางประสบการณ์ทางจิต คือ สัต-จิต-อานันทะ กล่าวคือ ประสบการณ์ทางจิตเปิดเผยให้
เรารับรู้ประจักษ์ว่า พระเป็นเจ้าคือภาวะที่กำหนดไม่ได้ ไม่มีรูปร่าง แพร่อยู่ทั่วไปเที่ยงแท้ถาวร มีลักษณะเป็นความสัตย์ และ
ความสงบสมบรู ณ์ช่วั นิรนั ดร์

(3) ประสบการณ์ทางจิตเป็นหน่วยรวมและอินทรียภาพกล่าวคือ ในขณะที่เราได้ประสบการณ์ทางจิตนั้น เราจะรู้ซึ้งถงึ
ความจริงแท้เกี่ยวกบั พระเปน็ เจ้าไปพร้อม ๆ กัน และรู้ว่าทุก ๆ สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม มีความสัมพันธ์กนั อย่างใกลช้ ิด
กับหน่วยรวมคอื พระเปน็ เจา้

(4) ประสบการณท์ างจติ ที่เห็นว่ามีเทพและเทวดาท้ังหลายนัน้ เปน็ ประสบการณ์ขั้นต่ำกว่าประสบการณข์ ัน้ ที่ทำให้เรารู้
วา่ เรารวมท้ังทุกสิ่งทุกอย่าง คอื พรหม

(5) ประสบการณท์ างจิตทำให้คนเราเปลี่ยนแปลงไปสู่ความสมบูรณย์ ิ่งข้ึน จนถึงขัน้ สมบูรณส์ ูงสดุ ซ่งึ เท่ากับเป็นการเกิด
ใหมอ่ ีกคร้ังหนง่ึ คอื เกิดเป็นเทพ

4. ปรมตั ถสัจหรือความจริงขน้ั อนั ติมะ

ทรรศนะเรอื่ งพรหมนั
ดร. ราธกฤษณันใหท้ รรศนะเกี่ยวกบั พรหมนั ไวว้ า่ พรหมันคือสิง่ สัมบรู ณ์ (the Absoiute) ซง่ึ มลี ักษณะภาพเป็นวิญญาณ
บรสิ ุทธ์ิประกอบดว้ ยกัมมันตภาพ (activity) สัจภาพ (truth) และศักยภาพ (pothentiality) หรือพลงั (force) ลกั ษณภาพทั้ง 3
ประการนี้รวมกนั เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งแสดงว่าตัวพรหมันก็คือลักษณภาพทัง้ 3 ประการนั้นเองนอกจากนี้ท่านยังบรรยาย
ไว้ว่า ลักษณภาพทั้ง 3 ประการที่รวมเข้าเป็นตัวพรหมันนี้ มีคุณสมบัติลักษณะพิเศษอีกหลายอยา่ ง เช่น ภาวะที่แพร่ออกไปพ้น
หรืออยเู่ หนอื โลกน้ี คุณลักษณะน้ีเรยี กว่า อุตรภาพ (transcendent) เปน็ ภาวะเท่ียงแทถ้ าวร (eternal) อยูเ่ หนอื กาลและอวกาศ
ทรรศนะดงั กล่าวนีต้ า่ งกับของท่านศังกราจารยแ์ ห่งอไทวตะ เวทานตะทถ่ี ือว่า พรหมันเป็นภาวะบรสิ ุทธวิ์ ่างจากคุณลกั ษณะใด ๆ
ทง้ั สน้ิ เพราะตามทรรศนะของ ดร. ราธกฤษณันนัน้ พรหมนั เต็มไปด้วยศักยภาพ ซึง่ สำแดงออกมาเป็นพลังต่าง ๆ คือ พลังสร้าง
ที่เรียกว่า พระพรหมาผู้สร้างโลก พลังรักษาที่เรียกว่า พระวิษณุหรือนารายณ์ผู้รักษาโลกและผดุงศีลธรรม และพลังทำลายที่
เรียกว่า พระศิวะผู้ทำลายโลกพลังทั้งหมดนี้ แต่ละพลังท่านเรียกในภาษาอังกฤษว่า God ซึ่งจะขอแปลว่ามหาเทพ อันหมายถึง
มหาเทพทัง้ 3 องค์ดงั กล่าว เพราะ ฉะน้นั มหาเทพท้งั 3 องคน์ ้ัน กค็ ือพลังของพรหมันหรอื ส่ิงสมั บูรณ์น่ันเองทรรศนะน้ี คล้ายกับ
ของทา่ นรามานุชแหง่ วิศิษฏาไทวตะ เวทานตะ

11

ทรรศนะเร่ืองพรหมันกบั มหาเทพ
ดร. ราธกฤษณันอธิบายเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างระหว่างพรหมันกับมหาเทพไว้ว่า พรหมันมีศักยภาพหาที่สุด
มิได้ แต่มหาเทพแต่ละองค์มีศักยภาพแต่ละด้านและยังมีน้อยกว่าพรหมัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า มหาเทพก็คือ พรหมันท่ี
แยกตัวออกมาเกี่ยวข้องกับโลก หรอื จักรวาลนนั่ เอง ดงั ที่ทา่ นกล่าวไว้ว่า “We call the supreme the Absolute, when We
view it apart from the cosmos, God in relation to the cosmos. The Absolute is the pre-cosmic nature of God,
and God is the Absolute from cosmic point 0f view”

5. อาตมนั กบั โมกษะ

ดร. ราธกฤษณัน จำแนกอาตมันหรืออัตตา (self) ในคนเราออกเป็น 2 ชนิด คือ อาตมันสามัญหรือชั้นต่ำ กับอาตมัน
ชัน้ สูง อาตมันช้ันต่ำไดแ้ ก่ อนิ ทรยี ภาพอนั ประกอบด้วยรา่ งกายและจิตใจ ดังท่ปี ระจกั ษแ์ กเ่ ราทุกคนเม่ือ สว่ นอาตมันชั้นสูงได้แก่
สว่ นหน่ึงของสตั -จิต-อานันทะ หรอื สจั จทิ านนั ทะ อนั เปน็ เนอ้ื แท้ของพระเป็นเจา้ หรืออีศวร

คนทั่วไปรู้จักแต่เพียงอาตมันชั้นต่ำ คนที่ได้รับการศึกษาสูงขึ้นจะรู้ว่าอาตมัน 2 ชนิดแยกกัน แต่คนที่ปฏิบัติตามหลัก
ศาสนาคือรักษาศีลและเจริญภาวนา (สมาธิ) จนได้ประสบการณ์ทางจิตขั้นสูงจะเห็นประจักษ์ว่า อาตมันชั้นต่ำกับอาตมนั ชั้นสูง
เป็นอาตมันเดียวกันและถ้ารู้สึกซึ้งลงไปอีกว่า อาตมันนี้เป็นอย่างเดียวกับอีศวรหรือพระเป็นเจ้า ถือว่ารู้สูงสุด เมื่อรู้ซึ้งถึงขั้นน้ี
ทา่ นเรยี กวา่ ร้แู จง้ ตน (selfrealization) ผูร้ ูแ้ จง้ ตนอย่างน้ีถือว่าเข้าถงึ โมกษะหรือความหลุดพ้นแลว้ แตย่ งั มชี วี ติ อยูใ่ นโลกน้ี เป็น
ชีวินสมบูรณ์แบบคือเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นเทพในร่างมนุษย์ กลายเป็นอภิมนุษย์ (superman) ผู้ไม่มีกิเลสตัณหา ไม่มีอุปทาน
มีใจกว้าง ทำงานเพอื่ ช่วยเหลือผอู้ นื่ ตลอดไป

6. กรรรมกับการเกดิ ใหม่

กรรม แปลตามตวั อักษรว่า การกระทำ การกระทำท่ีดี เรียกวา่ กรรมดี การกระทำท่ชี ว่ั เรียกวา่ กรรมชัว่ กรรมใด ๆ ก็
ตาม ไมว่ า่ กรรมดหี รือกรรมชวั่ ย่อมสง่ ผลใหแ้ ก่อินทรียภาพของผ้ทู ำและส่ิงแวดล้อมอย่างแน่นอน ผลกรรมที่ส่งใหแ้ ก่อินทรียภาพ
ของผู้ทำนั้น จะถูกเก็บไว้ในจิต เป็นปัจจัยปรุงแต่งจิตให้คิดดี หรือคิดชั่วไปตามลักษณะของกรรมนั้น ๆ ผลกรรมที่ส่งให้แก่
สิ่งแวดล้อมก็ทำให้สิ่งแวดล้อมดีหรือเลวตามลักษณะของผลกรรมเช่นนั้น เช่นในเรื่องป่าไม้ ถ้ามีคนเห็นแก่ตัวมาก ก็จะตัดไม้
ทำลายปา่ จนหมดส้ิน ทำให้เกิดความแห้งแล้งตรงกันขา้ ม ถา้ มีคนเหน็ แกต่ ัวรวมกันมาก กจ็ ะรกั ษาป่าไม้ไว้ทำใหเ้ กิดต้นน้ำลำธาร
ซึ่งส่งผลให้เกิดความชุ่มชื้น แผ่นดินอุดมสมบูรณ์ ดังน้ีเป็นต้น อย่างไรก็ตาม ดร. ราธกฤษณันเห็นวา่ ผลกรรมที่มีตอ่ อินทรียภาพ
กับที่มีต่อสิ่งแวดล้อมนั้น ไม่เท่ากัน คือที่มีต่อสิ่งแวดล้อมนั้นสั้นกว่า หมายความว่า ให้ผลเฉพาะแต่ชาตินี้เท่านั้น แต่ที่มีต่อ
อนิ ทรยี ภาพนน้ั สามารถสืบต่อไปถึงชาติหนา้ หรอื ชาตติ อ่ ๆ ไปได้อีกนัน่ คอื ทำใหเ้ วยี นตายเวียนเกดิ ใหม่อย่เู ร่ือยไปจนกว่าจะหมด
กรรม

ดร. ราธกฤษณันต้ังขอ้ สงั เกตไว้ว่า มีคนจำนวนไม่น้อยท่ีเข้าใจกฎแห่งกรรมไม่ตรงตามความเป็นจริง กล่าวคือ บางพวก
เข้าใจว่า “ทำดีต้องได้ดี ทำชั่วต้องได้ชั่วเสมอไป” และบางพวกเข้าใจว่า “กรรมดีส่งผลให้ได้รับความ สำเร็จ กรรมชั่วส่งผลให้
ได้รับความล้มเหลว”

12

ดร. ราธกฤษณนั พยายามขจัดความเขา้ ใจผิดเหล่านโ้ี ดยเสนอแนวความคดิ ใหม่ดังนี้

(1) อย่านำเอากฎแห่งกรรมไปปนกบั ทฤษฎีทางกฎหมายท่ีว่า ทำดีได้รับรางวัล ทำชั่วได้รับโทษ หรือทฤษฏีของพวกคติ
สขุ ารมณ์ (hedonist) ท่ีวา่ ความสขุ เป็นยอดแหง่ ความปรารถนา ทกุ คนจึงพยายามทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ความสขุ ฉะนั้น เมื่อทำ
อย่างไรได้รับรางวัลหรือความสุข เขาจึงถือว่า การกระทำนั้นแหละคือกรรมดี ดร. ราธกฤษณันกลับเห็นว่าผลแห่งกรรมดีไม่ใช่
ทรัพยส์ มบตั ิ ไมใ่ ช่ความสุขทางกาย และผลแหง่ กรรมชวั่ ก็ไมใ่ ช่โทษหรือความทุกข์ทางกาย แตห่ มายถึงผลที่ทำให้จิตใจของผู้ทำ
พฒั นาสงู ข้นึ หรือทำให้เสอ่ื มทรามต่ำลงนัน่ เอง

(2) อย่าเข้าใจผิดว่า กรรมดีส่งผลให้ได้รับผลสำเร็จ กรรมชั่วส่งผลให้ได้รับความล้มเหลว เพราะจะเป็นความเชื่อถือ
ทำนองเดียวกบั คำว่า เคราะห์ดี เคราะห์ร้ายไป ดร. ราธกฤษณันเห็นว่า เคราะห์ร้ายมิไดเ้ กีย่ วเนื่องกับบาปโดยตรง แต่เกี่ยวขอ้ ง
กบั วธิ กี ารที่บกพร่องหรอื ผิดพลาดตา่ งหาก จงึ ทำใหไ้ ด้รบั ความล้มเหลวหรือหายนะ

7. สสาร ชวี ิต จติ และอตั พิชาน

ทรรศนะเร่อื งสสาร
ดร. ราธกฤษณันอธิบายเรื่องสสารไว้ว่า ท่านไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีปรมาณูรุ่นก่อนที่ถือว่า สสารประกอบด้วยปรมาณู
หรืออะตอมต่าง ๆ อะตอมคอื สงิ่ ทม่ี ลี ักษณะคงที่ ไม่มีกริ ิยา ไม่มีการเปล่ยี นแปลง เปน็ ภาวะนริ นั ดร แบง่ ยอ่ ยออกไปอีกไม่ได้แล้ว
มีอยู่ในอวกาศและกาล (space and time) ท่านเห็นด้วยกับทรรศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าอะตอมไม่ใช่สิ่งคงที่ และสามารถ
แบ่งย่อยออกไปอีกได้ กล่าวคือ จาก การค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์พบว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอน ( proton) และ
อิเล็กตรอน (electron) ซึ่งมีลักษณะเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาไม่ใช่คงที่ ดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า “สสารคือรูปแบบหนึ่งของพลังงาน
วัตถุกายภาพทั้งหลาย คือเหตุการณ์ที่บังเกิดขึ้น วัตถุเหล่านั้นหาได้คงทนถาวรไม่ แต่เป็นเพียงจุดหมุนจุดหนึ่งในกระบวนการ
เปล่ียนแปลงทีต่ อ่ เน่ือง ธรรมชาติ คอื เหตกุ ารณท์ ส่ี ลบั ซบั ซ้อน เปน็ โครงสร้างของกระบวนการทั้งหลาย”

ดร. ราธกฤษณันอ้างถึงคำอธิบายเรื่องอะตอมของลอร์ดเออร์เนสต์รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) ชาว
อังกฤษ ที่ว่า “อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีประจุไฟฟ้าบวกและมีอิเล็กตรอนที่มีประจุไฟฟ้าบวกและที่มีอิเล็กตรอนที่มี
ประจไุ ฟฟา้ ลบเคล่ือนท่ีอย่โู ดยรอบ” อะตอมแต่ละตัวกค็ ือโครงสร้างหน่งึ ๆ ซงึ่ ประกอบดว้ ยอเิ ล็กตรอนและโปรตอนจำนวนมาก
มีความซับซ้อนต่าง ๆ กัน สมบัติทางเคมีของธาตุหนึ่ง ๆ ก็ขึ้นอยู่กับจำนวนของอิเล็กตรอนและโปรตอน จำนวนโปรตอนที่
นิวเคลียสดังกล่าว คือเลขเชิงอะตอมของธาตุ โปรตอนและอิเล็กตรอนเองก็เป็นแหล่งเกิดการแผ่รังสีหรือกลุ่ม คลื่นและเป็นชุด
ของเหตุการณ์ชุดหนึ่ง ๆ ที่แผ่ออกไปจากศูนย์กลางการเปล่ียนแปลงในอะตอมเป็นไปแบบไม่ต่อเน่ือง กล่าวคือ อิเล็กตรอนต่าง
ๆ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่โดยรอบนั้น อาจกระโดดข้ามอิเล็กตรอนที่ขวางคั่นอยู่ในวงโคจรสู่อิเล็กตรอนในวงโคจรอื่นก็ได้ เป็นอยู่อย่างน้ี
โดยปรกติ

ข้อความขา้ งต้น แสดงให้เห็นขอ้ เทจ็ จรงิ ที่สำคญั 2 ประการ คอื

(1) ไม่มอี ะตอมหรือธาตทุ ีเ่ ปน็ หนว่ ยเดียว แม้แต่อะตอมซ่ึงเป็นอนภุ าคท่ีเล็กที่สุดของธาตุก็เปน็ โครงสรา้ งทปี่ ระกอบด้วย
ส่วนต่าง ๆ อนุภาคนั้นเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา หาได้หยุดนิ่งไม่ มีลักษณะเป็นพลวัต (dynamic) หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า
อะตอมก็คอื โครงสร้างของเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ปี ระกอบกันขึ้น

(2) การเปลี่ยนแปลงในอะตอมหนงึ่ ๆ เกดิ ขน้ึ แบบไมต่ อ่ เนอ่ื งเกิดข้นึ ทันทีทนั ใดไม่อาจทำนายลว่ งหนา้ ได้

13

อนึ่งในเรื่องราวอวกาศและกาล ดร. ราธกฤษณัน เห็นด้วยกับการค้นคว้าของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ที่อธิบายว่า อวกาศ
และกาลเป็นนามธรรม เกิดจากเหตุการณท์ ีเ่ ปน็ รูปธรรมชุดหนึ่ง ไม่มีอวกาศที่ถือกันว่า มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลหาขอบเขต
ไม่ได้ เป็นที่อยู่ของอะตอมดุจกล่องใส่ของ กาลก็เหมือนกัน ถ้าไม่ใช่เป็นที่นามธรรมเกิดจากเหตุการณ์ที่เป็นรูปธรรมแลว้ ก็ไม่มี
อยจู่ รงิ กลา่ วคอื อนุกรมแหง่ เหตกุ ารณ์นั้นมีกาลเปน็ คุณภาพ นอกจากนน้ั แมค้ วามเปน็ สสารกเ็ ป็นนามธรรมทเี่ กิดขึ้นจากชุดของ
เหตกุ ารณ์ท่ีเปน็ รปู ธรรมเชน่ กนั หมายความว่า ทง้ั อวกาศ กาล และความเปน็ สสาร มีขนึ้ พร้อมๆกัน ดงั ทดี่ ร. ราธกฤษณัน กล่าว
ไว้ว่า “อวกาศ กาล และสสารเป็นนามธรรมเกิดจากข้อเท็จจริงทางรูปธรรม ซึ่งเป็นเหตุการณ์ชุดหนึ่ง นามธรรมทั้งสามนี้อยู่
ด้วยกันในส่ิงทเี่ ป็นจริงทางรปู ธรรม”

ข้อความข้างต้นนี้แสดงให้เห็นถึงข้อเท็จจริงที่สำคัญอีก 2 ประการ คือ 1 สสาร คือระบบพลังงาน ซึ่งมีอยู่จริงและมี
ลกั ษณะเป็นพลวัตเปล่ียนแปลงตลอดเวลา และมกี ริ ยิ า 2 ธรรมชาติ คือ สงิ่ ที่ประกอบข้ึนจากคลืน่ พลังงานในจักรวาล ถือว่าเป็น
ระบบที่เชอ่ื มโยงกนั ภายในระบบหนงึ่ ความมีอย่ขู องสสารข้ึนอยูก่ ับอวกาศ กาล เหตกุ ารณ์และผ้สู ังเกตการณ์ (ผรู้ บั ร)ู้

ด้วยเหตุนี้ ดร. ราธกฤษณัณ จึงถือว่า เอกภพมีลักษณะเป็นพลวัตและพลังงาน สิ่งทั้งหลายมีวิวัฒนาการอยู่เรื่อยๆไป
ทรรศนะของทา่ นเรยี กว่า ทรรศนะเร่ืองเอกภพแบบพลวัตและพลงั งาน

ทรรศนะเรือ่ งโลก
ดร. ราธกฤษณัน อธิบาย เรื่องโลกไว้ว่า โลกคือความต่อเนื่องของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วดับไปติดต่อกันเป็น
กระบวนการไม่มีที่สิ้นสุด หรือเป็นคลื่นพลังงานที่ไม่เสถียรหมุนเวียนและเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นนิตย์ ทุกๆสิ่งในโลกก็มีการ
เปลยี่ นแปลงตอ่ เน่อื งกนั ไปเหมือนกันเพราะถา้ ทุกๆสิง่ หยดุ นิ่งลงเมอ่ื ใด โลกทงั้ โลกกส็ ลายลงเมอ่ื นนั้

เนื่องจากโลกเปน็ กระบวนการทีเ่ กิดดับเนือ่ งของเหตกุ ารณ์ดังกล่าว จึงไม่สามารถแบ่งโลกออกเป็สวนหรือภาคตา่ งๆได้
นอกจากจะแบ่งเปน็ วัฏภาคต่างๆเท่าน้นั ดร. ราธกฤษณนั จึงกลา่ ววา่ “เราไม่มอี าณาจักรหรอื มณฑลแหง่ ภาวะ” นอกจากอัญรูป
หรือวัฏภาคของกิจกรรม กระบวนการของธรรมชาติก็เป็นวัฏภาคหนึ่งซึ่งละเอียดอ่อนและต่อเนื่อง ไม่ใช่แบบอนุกร มแห่ง
เหตุการณ์สถิตท่ขี าดตอนเปน็ ชว่ งๆ และมคี ณุ ลกั ษณะคงท่ีตายตัว

ดร. ราธกฤษณนั สรปุ ลกั ษณะทว่ั ไปของโลกตามทรรศนะของท่าน ไว้ดงั นี้

(1) สิ่งที่เคยถือกันว่า เป็นอนุภาคคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นฝ่ายถูกกระทำ คือ ไม่มีกิริยานั้น บัดนี้รู้จักกันดีแล้วว่าได้แก่
ระบบเชิงซ้อนของพลังงานที่กำลังเดือดพล่านอยู่ อะตอมตัวหนึ่ง คืออินทรียภาพหนึ่ง ซึ่งมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็น
องคป์ ระกอบโมเลกุล คืออนิ ทรยี ภาพเชิงซ้อน เช่นเดียวกับสังคมมนุษย์

(2) วัตถุธรรมชาติ คือ มวลรวมที่มีระเบียบและเป็นไปอย่างมีระเบียบเช่นกัน องค์ประกอบทั้งมวลของวัตถุธรรมชาติ
ลว้ นอาศัยกันและกัน อินทรียภาพแต่ละอยา่ งกับส่งิ แวดลอ้ มของมนั เป็นสหภาพกันและมีอนั ตรกริ ิยาต่อกัน

(3) เหตุการณ์แต่ละอย่างเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยและเป็นตัวก่อให้เกิดเหตุการณ์ต่อไปอีก (คือเป็นทั้งผลและเหตุ) การ
เปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณจ์ งึ เป็นการเปล่ียนแปลงเชงิ กลแบบข้ามภพข้ามชาติ

14

ทรรศนะเรอื่ งชีวิต
ดร. ราธกฤษณัน อธิบายเรื่องชีวิตไว้ว่า ชีวิตต่างจากสสารตรงที่กิจกรรม กล่าวคืออินทรียภาพที่มีชีวิตมีพฤติกรรม
บางอยา่ งโดยเฉพาะท่ีอนิ ทรยี ภาพไรช้ ีวติ ไมส่ ามารถมีได้ เช่นการเลยี นแบบ การหายใจ การสบื พันธุ์ การเจรญิ เตบิ โต การพฒั นา
โครงสร้างของอินทรียภาพ ที่มีชีวิตจะคงทนอยู่ได้ตลอดช่วงการเปลี่ยนแปลง ความคงทนหรือเสถียรภาพนี้จะมีตลอดไปถึง
กจิ กรรมภายในของอนิ ทรยี ภาพนนั้ ด้วย สว่ นต่างๆของอินทรียภาพหน่ึงๆ เปน็ มวลรวม ถา้ จะแยกส่วนใดสว่ นหนง่ึ ออกไป ความมี
ชวี ิตของอนิ ทรียภาพนัน้ กจ็ ะได้รบั ความกระทบกระเทือนอาจถึงขั้นสน้ิ สุดลงได้ ตา่ งกับอินทรียภาพไรช้ ีวิต เช่นสสารอนินทรีย์แม้
จะแยกบางสว่ นออกไป กไ็ มท่ ำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงทสี่ ำคัญตอ่ สมบัตขิ องสารน้ัน อนง่ึ ถือกันว่าในอนิ ทรียภาพที่มีชีวิตนั้น การ
เปล่ยี นแปลงเปน็ ผลมาจากประสบการณ์และนิสยั และการเปล่ียนแปลงในทางตอบสนองจะทำใหเ้ กดิ การพัฒนาข้ึนภายในอินทรี
ภาพ

ดร. ราธกฤษณนั กล่าวถึงการววิ ฒั นาการของอินทรยี ภาพทม่ี ีชีวติ ไวว้ า่ วิวัฒนาการของอินทรียภาพท่ีมชี ีวติ เกิดขึ้นอย่าง
ต่อเน่อื ง แต่ไมม่ ีใครอธบิ ายว่า ชวี ติ เกิดข้นึ ครง้ั แรกเมื่อไหร่ และเกิดขึ้นอย่างไร ทฤษฎีววิ ัฒนาการทงั้ หลายของ ชาลส์ ดารว์ ิน ก็ดี
เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ ก็ดี ชอง บัปติสต์ เดอ ลามาร์ก ก็ดี เอากุส ไวส์มันน์ เป้นเพียงถ้อยแถลงเกี่ยวกับวิวัฒนาการอยา่ งลึกลบั
ของอนิ ทรภี าพใหมก่ ับชนดิ ของอินทรียภาพเท่านั้น หาไดอ้ ธบิ ายไวอ้ ย่างชดั เจนว่าวิวฒั นาการของอนิ ทรยี ภาพใหม่ที่สูงขึ้นน้ันเกิด
ได้อย่างไร

ทรรศนะเรอ่ื งจิต
ดร. ราธกฤษณนั อธบิ ายวา่ จิตหรอื วิญญาณ ไว้วา่ จติ ต่างกับกาย แม้ว่าจะทำงานสัมพันธ์กบั ระบบประสาทอยา่ งใกล้ชิด
แต่ไมอ่ าจลดทอนจิตลงเปน็ อย่างเดยี วกับกายไดเ้ ลย จติ ตา่ งกับชวี ติ เพราะในอนิ ทรยี ภาพบางชนิดมีทัง้ จิตและชวี ิตแตบ่ างชนิดไม่
มีจิตมีแต่ชีวิต เช่น ในพืช มีชีวิต แต่ไม่มีจิต พืชแสดงอาการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมทางผัสสะ (กายประสาท) ซึ่งสัมพันธ์กัน
โดยตรง คนและสตั วซ์ ึง่ เปน็ อนิ ทรยี ภาพทม่ี ที ้ังชวี ติ และจิต มีการตอบสนองตอ่ สิง่ แวดล้อมนอกตวั ได้ทั้งที่อยู่ใกล้ตวั และไกลตัว ทั้ง
ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม การเกิดขึ้นของพืชสามารถกำหนดล่วงหน้าได้แน่นอนเพราะขึ้นอยู่กับว่า มีจิตมาจากที่อื่นมา
ปฏิสนธใิ นร่างกายใหม่นัน้ หรือไม่

ยิ่งไปกว่านั้น จิตมีบทบาทสำคัญในการเจริญพัฒนาของคนและสัตว์ จิตที่ได้รับการอบรมทางศีลธรรมดีแล้ว จะทำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมและสังคมพัฒนาไปด้วย แต่ในพืชซึ่งไม่มีจิต จะไม่มีการพัฒนา
ดังเชน่ ในคนและสัตว์

ดร. ราธกฤษณันเชื่อในทฤษฎีวิวัมนาการแบบก้าวกระโดดหรืออุบัติวิวัฒนาการ คล้ายกับศรีอรพินโท ลอยด์ มอร์แกน
และซามุเอล อะเลก็ ซานเดอร์ทว่ี า่ จากสสารววิ ัฒน์เปน็ ชีวติ จากชวี ติ วิวัฒนเ์ ปน็ จิต

15

ทรรศนะเร่อื งอตั พิชาน
ดร. ราธกฤษณนั อธบิ ายไว้วา่ ได้แกส่ ภาวะทางจติ ทส่ี ูงกวา่ จิต เกดิ เฉพาะในมนษุ ย์ไม่เกิดในสัตว์ หรือกลา่ วอีกนัยหนึ่งว่า
อัตพิชานคือจิตท่ีมีคุณลักษณะ เช่น วิจารณญาณ รู้จักคิดตรึกตรองด้วยเหตุผล และสามารถสร้างสรรคส์ ่ิงใหม่ๆได้โดยอิสระ ซึ่ง
ท่านจัดเป็นจิตระดับสูง ต่างกับจิตในสัตว์หรือแม้แต่ในเด็กทารก เพราะจิตที่ว่านี้ ไม่มีวิจารณญาณและความคิดสร้างสรรค์ จึง
จัดเป็นจิตระดับต่ำ ด้วยเหตุนี้มนุษย์จึงต่างจากสัตว์ ตรงที่ไม่ใช่เพียงแต่รู้จักใช้เครื่องมือเท่านั้น แต่ยังรู้จักประดิษฐ์คิดค้ น
สร้างสรรค์เครื่องมือไว้ใช้ขึ้นเองด้วย ความเด่นนี้เกิดจากมนุษย์มีอัตพิชานนั่นเอง และความต่างระหว่างจิตมนุษย์กับจิตในสัตว์
ทำให้เกิดช่องว่างระหวา่ งมนุษยก์ บั สัตว์ขึน้ มนุษย์จึงไม่ใชเ่ พยี งสตั ว์ทีพ่ ัฒนาขึ้นมา ในทางตรงขา้ ม สัตว์ก็ไมใ่ ชม่ นษุ ยท์ ี่เส่ือมถอย
ลงมาจนกลายเปน็ สตั ว์

กล่าวสรุปตามทัศนะของ ดร. ราธกฤษณันว่า วัตถุหรือสสาร พืช สัตว์ และมนุษย์มีความแตกต่างกันตรงที่มีหรือไม่มี
สภาวะสำคญั อนั ได้แก่ ชวี ติ จติ และอัตพิชาน กล่าวคอื วัตถุไมม่ ีชีวิต จิตและอัตพชิ าน พชื มีชีวติ แต่ไม่มจี ิตและอตั พชิ าน สตั ว์มี
ทั้งชีวิตและจิตแต่ไม่มีอัตพิชาน มนุษย์จึงมีประสบการณ์ คุณค่า และวุดประสงค์เฉพาะตน ที่สสาร พืช และสัตว์มีไม่ได้ แต่ทั้ง
วตั ถุ สตั ว์ พชื และมนุษยก์ ็ต่างอยู่ในเอกภพเดยี วกนั รวมกันเป็นเอกภาพและสนั ตติ คือเกิดตอ่ เนอ่ื งกนั ไป ผา่ นระดับต่างๆมาโดย
ตลอดจากระดับต่ำไปหาระดับสงู ขึ้นเรือ่ ยๆ แต่เป็นวิวัฒนาการแบบก้าวกระโดด เช่น วัตถุใดจะวิวัฒนาการก้าวกระโดดข้ามขนั้
ขน้ึ เป็นพชื ได้กต็ ่อเม่ือวัตถุน้นั มีชวี ติ เกิดขน้ึ ก่อน ในทำนองเดียวกัน พชื ใดจะวิวฒั นก์ ้าวกระโดดข้ามข้ันเป็นสัตว์ได้ก็ต่อเมื่อพืชน้ัน
มีจติ เกดิ ข้ึนก่อน และสัตวใ์ ดจะววิ ัฒนาการกระโดดขา้ มข้ันขน้ึ เป็นมนษุ ยไ์ ด้ก็ต่อเมื่อสัตวน์ น้ั มีอัตพิชานเกิดขนึ้ ก่อนเชน่ กัน

จากทฤษฎีน้ี แสดงใหเ้ หน็ วา่ ส่งิ ทง้ั หลายวิวฒั นาการขนึ้ โดยลำดบั ตามขัน้ ตอนจากต่ำไปหาสูงและไม่มีการถอยหลงั ข้อน้ี
ย่อมแสดงให้เห็นตอ่ ไปว่า ทฤษฎีนี้ยอมรับหลักการสำคัญ คือ ยอมรับว่ามีพลังอำนาจอยู่เบื้องหลังววิ ัฒนาการนัน้ พลังอำนาจน้ี
เองเป็นตัวการผลกั ดัน คือเป็นพลังงานเชิงกลแบบข้ามภพข้ามชาติ และเป็นตัวจุดหมายปลายทางแห่งวิวัฒนาการนั้นด้วย พลัง
อำนาจนี้ก็คือ พระเจ้าหรือพรหมันนั้นเอง แต่ดร. ราธกฤษณันกล่าวว่า พรหมันมีลักษณะแบบเป็นพลวัต มีอิสระ มีพลัง
สร้างสรรค์ พรหมันนี้เองสำแดงองค์ออกมาเป็นวัตถุหรือสสาร สิ่งมีชีวิต สิ่งมีจิตและสิ่งมีอัตพิชาน สิ่งทั้งหลายจึงมีพลังอำนาจ
แหง่ พรหมันอยูใ่ นตวั และเป็นแรงผลักดนั ให้วิวัฒนาการกา้ วกระโดดขา้ มขน้ั นไี้ ปเร่อื ยๆ จนถึงสุดทา้ ย คอื พรหมัน

จากคำอธิบายจะเห็นว่า ดร. ราธกฤษณัน เปน็ นักปรัชญาจิตนิยมสมั บรู ณ์ท่ีสำคัญคนหนึ่งในวงการปรัชญาสมัยใหม่ หลกั
ปรัชญาของท่านมีรากฐานมาจากคัมภีร์อุปนิษัทซึ่งกล่าวถึงหลักการสัมบูรณ์นิยมว่า อันนะ ปราณ มนัส หรือจิต วิชญาณและ
อานนั ทะ เป็นสิง่ สำแดงของพรหมัน

8.ปรชั ญาการศึกษา

ให้ความสำคัญกับสถานศึกษา ผู้สอน ผู้เรียนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ เพราะการศึกษาเป็นการเรียนรู้ที่พัฒนา
สตปิ ญั ญาและจิตวญิ ญาณความเปน็ มนษุ ย์เพื่อสจั ธรรมของชีวติ

ลักษณะของการศึกษาในสมัยอินเดียโบราณเป็นการศึกษาแบบแนวคิดดั้งเดิมที่มีความสัมพันธ์กับการดำรงชี วิต เพื่อ
ตอบสนองต่อความต้องการมีชีวิตรอดและการหลุดพ้น แต่เมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองอินเดียจึงได้มีการปฏิรูปการศึกษา โดย
ส่งเสริมให้ทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมที่ทำให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมวัฒนธรรมของอินเดีย ความเจริญ
ทางเทคโนโลยแี ละความรจู้ ากตะวนั ตก ส่งผลใหเ้ กดิ ปัญญาชนและนกั ปรชั ญาในอนิ เดีย

ดังนั้นการศึกษาในมุมมองของราธกฤษณันเป็นการพัฒนาชีวิต โดยมีศาสนาเป็นเครื่องมือในการขัดเกลาจิตวิญญาณ
ราษกฤษณันสนใจแนวคดิ ทางการศกึ ษาตั้งแตป่ ี ค.ศ.1926 และเขียนหนงั สอื ชือ่ Freedom of Culture ในปี 1930 ท่ีมีบทความ

16

ทางการศึกษาเรื่อง Education and Nationnalism ที่เป็นจุดเริ่มต้นของความสำคัญทางการศึกษาทีเ่ ป็นวถิ ีประชาธปิ ไตยและ
ส่งผลต่อความเท่าเทียม เสรีภาพ และความยุติธรรมในสังคมจากการเรียกร้องเอกราชของอินเดีย โดยหลังจากอินเดียได้รับเอก
ราชในปี ค.ศ.1947 รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอินเดียได้ประกาศใช้ ส่งผลให้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกวรรณะในอินเดียได้รับการศึกษา
อย่างเทา่ เทียม

ลักษณะของปรชั ญาการศึกษาของราธกฤษณัน
ตลอดชวี ิตของราษกฤษณันมีความพยายามในการเรียนรู้และส่งเสริมให้ประชาชนอินเดียเหน็ ความสำคัญของการศึกษา
ได้พัฒนาแนวคดิ ทางการศึกษาของอินเดยี ดว้ ยการปฏิรปู การศกึ ษาเพ่ือฟน้ื ฟูความรดู้ ง้ั เดิมเข้ากบั ความรู้สมัยใหมเ่ ป็นรากฐานของ
ความรู้ของมนุษย์ และพยายามขจัดความขัดแย้งทางความคิดด้วยแนวคิดการศึกษาแบบบูรณาการสากล โดยการศึกษาจะ
พัฒนาคุณภาพชวี ิตของมนุษย์และสงั คม ดังนั้นการศึกษาเป็นรากฐานความรู้ของมนุษยแ์ ละปรชั ญาการศกึ ษาเปรียบเสมือนเขม็
ทิศที่ชี้ไปยังเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ได้ โดยระบบการศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา
สติปัญญาของมนุษย์และมีความสัมพนั ธ์กับศาสนาด้วย ดังน้ันปรัชญาการศึกษาของราธกฤษณันจะสะท้อนให้เห็นการบูรณาการ
ทางความคิดของปรชั ญาและศาสนา เพราะการศึกษาแบบด้ังเดิมเนน้ การศึกษาเพื่อนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตโดยต้องไม่ขัดแย้ง
กับความเชื่อของศาสนาจึงทำให้มีแค่พราหมณ์และชนชั้นสูงเท่านั้นที่ได้รับการศึกษา เนื่องจากการศึกษาถูกจำกัดอยู่กับความ
เชื่อของศาสนา แต่เมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองอินเดียทำให้เกิดการจัดตั้งโรงเรียน มหาวิทยาลัย และสถานศึกษาขึ้นทั่วประเทศ
ส่งผลให้ประชาชนชาวอินเดียทุกคนได้รับการศึกษา และนำมาสู่ความขัดแย้งทางศาสนา เพราะอิทธิพลจากการศึกษาแบบ
ตะวนั ตกมอี ทิ ธิพลต่อคนรนุ่ ใหมข่ องอนิ เดียทีต่ ้ังคำถามต่อความเช่ือและวัฒนธรรมของฮินดู

โดยสรวปัลลี ราธกฤษณันมีความพยายามอย่างมากในการขจัดความขัดแย้งทางการศึกษา การเมือง ความเชื่อ และ
ศาสนา ด้วยการให้ความสำคญั กบั ความคิดและความรขู้ องมนษุ ย์

ปรัชญาการศึกษาของราษกฤษณันให้ความสำคัญกับสถานศึกษา เพราะเป็นแหล่งผลิตปัญญาชนของประเทศด้วยการ
ดูแลเอาใจใส่ผู้เรียน เป็นรากฐานที่พัฒนาความรู้ของมนุษย์ด้วยการปลุกจิตสำนึกทางจิตวิญาณและศาสนา ดังนั้นต้องพัฒนา
ความร้ทู างวชิ าการไปพรอ้ มกับศลี ธรรมทางศาสนาด้วย

ผู้สอนมีความสำคัญต่อกระบวนจัดการเรียนรู้ เพราะผู้สอนเป็นผูพ้ ัฒนาแนะนำและเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีให้กับผู้เรียน โดย
ผสู้ อนตอ้ งมีจติ วญิ ญาณและมงุ่ มั่นท่ีจะให้ความรกู้ ับผู้เรยี น ดังนน้ั ผู้สอนจะคอยแนะนำสิ่งต่าง ๆให้แก่ผู้เรียน โดยผู้เรียนจะเป็นผู้
ตดั สินใจเลือกด้วยตนเอง

ผู้เรียนต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองด้วยการศึกษาเพื่อประกอบอาชีพและศึกษาความรู้ดั้งเดิมด้วย เพราะเป้ าหมาย
การศึกษาคือการพยายามทำลายกำแพงความไมร่ ู้ไปพร้อมกับการพัฒนาจิตวิญญาณด้วยศาสนา ดังนน้ั การศกึ ษาเป็นการพัฒนา
สติปญั ญาและจิตวญิ ญาณของมนษุ ย์ โดยมีศาสนาเปน็ แนวทางในการบรรลุสจั ธรรมของชวี ิต

17

สรปุ หลกั ปรชั ญาของราธกฤษณัน

แนวคิดทางปรัชญาของเขาได้รับอิทธิพลมาจากวรรณกรรมของศาสนาฮินดู เช่น คัมภีร์พระเวท อิทธิพลจากแนวคิด
ปรัชญาตะวันตก เช่น เพลโต อิทธิพลจากนักปรัชญาอินเดียร่วมสมัยคือรพินทรนาถ ฐากุร และคานธี และอิทธิพลจาก
ประสบการณท์ างศาสนาทเี่ ป็นพืน้ ฐานความคิดทางปรัชญาของตนเองท่เี ปน็ ปรชั ญารหัสยะ มลี ักษณะสำคัญดังนี้

1.การมองโลกกวา้ ง

2.มแี นวความคิดแบบสงั เคราะหร์ ะหว่างศาสนากบั ปรัชญาตะวนั ออกและตะวนั ตก

3.ยอมรบั ในอิทธิพลของวิทยาศาสตร์ ศลิ ปะ และคา่ นยิ มตะวันตก เพ่อื การอธิบายตอ่ แนวคิดทางปรัชญาของตนเอง

4.ปรชั ญาที่สำคัญคือการพัฒนาจิตนยิ มสมั บูรณ์ของอไทวตะ เวทานตะ จากหลักเอกนยิ มเป็นจิตนิยมสมั บูรณแ์ บบพลวัต
ที่ยอมรับความจรงิ และความหมายของประสบการณ์หลายระดับ

หลกั ปรชั ญาทมี่ ีต่อศาสนา
ปรัชญาของราธกฤษณันมีพื้นฐานมาจากประสบการณ์ทางศาสนาด้วยการปกป้องความศรัทธาทางศาสนา โดยได้
วิจารณ์ต่อแนวคิดของอเทวนิยมฝา่ ยธรรมชาตินิยมท่ีพยายามลม้ ลา้ งความศรัทธาทางศาสนาไว้ว่า อเทวนิยมฝ่ายธรรมชาตนิ ิ ยม
มองศาสนา 2 ส่วน คือส่วนที่ 1 การนับถืออุดมคตวิ ่าเป็นเพียงอุดมคติ และส่วนที่ 2 การนับถือสิ่งที่ปรากฏจรงิ ว่าเปน็ เพยี งสิ่งท่ี
ปรากฏจริงหรือมีอยู่ โดยส่วนที่ 1 เป็นความดีที่ไม่เกี่ยวข้องกับความมีอยู่ของวัตถุแห่งความดี และส่วนที่ 2 เป็นความมีอยู่ของ
วัตถุแห่งความดีท่ีไมเ่ ก่ียวข้องกับความดี เพราะธรรมชาตนิ ยิ มไมม่ ีความศรัทธาในชีวติ และอเทวนยิ มมคี วามอดทนต่อความทุกข์
ยาก โดยอเทวนิยมฝ่ายธรรมชาติมีพื้นฐานทางอภิปรัชญาที่มุ่งแสดงเหตุผลมากกว่าการบรรลุความจริง ดังนั้นเหตุผลที่ต้องการ
คัดค้านศาสนาเกิดจากการไม่มีความศรัทธาในศาสนา ยกตัวอย่างเช่น ลัทธินิยมแบบสโตอิกและเปกันของอเทวนิยมฝ่าย
ธรรมชาตินิยมที่ขาดความศรัทธาในชีวิตและโลก เพราะมีความคิดที่เป็นทวินิยมเป็นบ่อเกิดของความกลัวที่เป็นสาเหตุในการ
สร้างทวิภาพระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ โดยศาสนาสามารถช่วยขจัดความกลัวด้วยการรู้แจ้งตนว่ามนุ ษย์มีความผูกพันเป็น
เอกภาพกบั ธรรมชาติคือการเข้าใจธรรมชาติ โดยไม่มเี ส้นแบ่งระหว่างธรรมชาติกับเหนือธรรมชาติ เพราะท้งั ธรรมชาติและเหนือ
ธรรมชาติเป็นพรหมัน

- อไญยนิยมมองว่าความจริงเป็นสิ่งที่ไม่มีใครรู้และไม่มีอยู่เลย มนุษย์รู้จักเพียงโลกที่ปรากฏในปัจจุบันเท่านั้น แต่
ราธกฤษณันมองว่าความจริงในมุมมองของอไญยนิยมถูกจำกัดด้วยความรู้และความไม่รู้ที่มนุษย์กำหนดเอง
เพราะอไญยนิยมเชื่อในความรู้ที่เป็นอุดมคติที่สามารถเป็นจริงได้ ดังนั้นจึงไม่ควรห้ามให้มนุษย์แสวงหาความรู้ใน
เรอ่ื งของความจรงิ

- วิมตินิยมไม่ยอมรับในระบบปรัชญาแต่มีความสนใจในศาสนาด้วยความสงสัย ทำให้ไม่เชื่อทั้งปรัชญาและศาสนา
แต่ราษกฤษณันมองว่าความสงสัยไม่ได้อยู่ไปตลอดกาล เพราะเมื่อมนุษย์ไม่ยอมรับความเชื่อเก่า มนุษย์จึงสร้าง
ความเชื่อใหม่ขึ้นมาแทนที่ด้วยเหตุผลที่เหมาะสมที่จะเชื่อ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ต่อต้านศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกท่ี
จัดตัง้ ศาสนาครสิ ต์นิกายโปรเตสแตนทข์ ้ึนมาแทน

- มนุษยนิยมไม่ยอมรับความเชื่อทางศาสนา เพราะมองว่ามนุษย์เป็นผู้มีความเจริญสูงสุด โดยมนุษยนิยมไม่เชื่อใน
ศาสนาแต่เชื่อในชีวิตของมนษุ ย์ ราธกฤษณันอธิบายว่ามนุษย์มีความปราถนาในการเข้าถึงพระเจ้า เนื่องจากความ
ต้องการความพึงพอใจ มนุษยนิยมจึงต้องการสร้างมนุษย์แบบโลกียะให้สมบูรณ์พร้อมเพื่อเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับ
พระเจ้า เพราะจิตเป็นอาตมันมีภาวะนิรันดรและเป็นอมตะจึงต้องพัฒนาจิตเพื่อให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตาย
เกดิ ในสงั สารวัฏคอื การเข้าถึงโมกษะ ดังน้นั มนุษย์จะเข้าถงึ โมกษะเพอื่ การหลุดพน้ ได้ต้องปฏิบัตติ ามหลักศาสนา

18

ลัทธสิ ทิ ธิอำนาจนิยม
เชื่อในคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์และคำสอนทางศาสนา แต่ปัญญาชนปฏิเสธแนวคิดความเชื่อนี้ ดังนั้นราธกฤษณันมองว่าคุณค่า
ของอำนาจและประเพณีเป็นมรดกทางปญั ญาท่สี บื ต่อกันมาจึงควรยอมรับคุณค่าเพ่ือพัฒนาจิตใหเ้ ขา้ ถึงความรู้แจง้ ตนและเข้าถึง
พระเจ้าทเี่ ปน็ จุดหมายของศาสนา

พุทธิปญั ญา
ลักษณะของพุทธิปัญญาคือความรู้ของประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสที่เป็นความรู้ โดยทำหน้าที่แยกแยะคุณสมบัติ
ต่าง ๆ ของวัตถุที่เป็นความรู้ในเรื่องคุณสมบัติของวัตถุไม่ใช่ความรู้ในตัววัตถุ ดังนั้นพุทธิปัญญาเป็นเครื่องมือที่ทำให้มนุษย์ร้สู ่งิ
ต่าง ๆ ได้ทางประสาทสัมผัส แตส่ ่งิ ที่อยูเ่ หนือประสาทสมั ผัสไม่สามารถร้ไู ด้

พุทธปิ ญั ญากับอัชฌัตตกิ ญาณ
พุทธิปัญญาเป็นความรู้ระดับเหตุผลทางความคิดที่เกิดจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส โดยอาศัยความรู้เป็น
ตวั กลางทที่ ำให้มนุษย์สามารถรู้ความจรงิ แท้ได้คือเป็นคุณสมบัติของสัจธรรมเท่านัน้ อัชฌัตตกิ ญาณเป็นความรู้ท่ีเกิดจากภายใน
โดยไมต่ ้องอาศัยประสบการณ์ทางประสาทสมั ผสั หรือความคิด เป็นความสามารถในการรแู้ จ้งสัจธรรมภายในจติ ใจของมนุษย์

ประสบการณท์ างศาสนากบั การแสดงออกใหผ้ อู้ ืน่ รู้ตาม
ราธกฤษณันได้พัฒนาปรัชญาด้วยประสบการณ์ทางจิตจากแนวคิดประสบการณ์ของปรัชญาตะวันตกและปรัชญาฮินดู
โดยประสบการณท์ างจติ เกดิ ขึ้นในขณะทมี่ นุษย์มสี มาธิแน่วแนแ่ ละประสบการณใ์ นเร่ืองพระเจ้าเกิดไดก้ บั ทกุ คนทมี่ ฌี าน

ลกั ษณะของประสบการณ์ทางจิตคือเปน็ ปฏิกริ ิยาของมนษุ ยท์ ่ีมตี ่อพระเจ้าคอื เป็นการติดต่อกบั พระเจ้า พระเจา้ สามารถ
สัมผัสได้ทางประสบการณท์ างจิตคือสัต จิต อานันทะ ประสบการณ์ทางจิตเป็นหน่วยรวมและเปน็ อินทรียภาพที่สามารถเข้าถึง
ความจริงแท้ของพระเจ้าไปพร้อมกัน ประสบการณ์ทางจิตมีหลายระดับ และประสบการณ์ทางจิตทำให้มนุ ษย์มีความสมบูรณ์
มากข้ึนเป็นการเกดิ ใหมค่ ือการเกดิ เป็นเทพ

ปรมัตถสจั หรือความจรงิ ขนั้ อนั ติมะ
ทรรศนะเรือ่ งพรหมนั
ราธกฤษณันกล่าวว่าพรหมันเป็นสิ่งสัมบูรณ์ที่มีลักษณะเป็นวิญญาณบริสุทธิ์ประกอบด้วยกัมมันตภาพ สัจภาพ และ
ศักยภาพที่รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและเป็นอุตรภาพที่มีภาวะเที่ยงแท้ถาวรอยู่เหนือกาลเวลาและอวกาศ เพราะพรหมันมี
ศักยภาพเป็นพลังสร้างคือพระพรหม พลังรักษาคือพระวิษณุ และพลังทำลายคือพระศิวะ โดยมหาเทพทั้ง 3 เป็นพลังของพร
หมัน

ทรรศนะเรื่องพรหมนั กับมหาเทพ
ราธกฤษณันอธิบายความแตกต่างระหวา่ งพรหมันกับมหาเทพไว้ว่า พรหมันมศี ักยภาพมาก แต่มหาเทพมีศักยภาพน้อย
กว่าพรหมนั คือมหาเทพเปน็ พรหมนั ทแ่ี ยกตัวออกมาเกีย่ วข้องกบั โลกและจักรวาล

อาตมนั กับโมกษะ
ราธกฤษณันอธิบายว่าอาตมันมี 2 ชนิดคืออาตมันชั้นต่ำและอาตมันชั้นสูง อาตมันชั้นต่ำเป็นอินทรียภาพประกอบด้วย
ร่างกายและจติ ใจ และอาตมนั ช้ันสงู เปน็ สว่ นหน่ึงของสัต จติ อานนั ทะท่ีเป็นเน้อื แท้ของพระเจ้า โดยทงั้ อาตมันชนั้ ต่ำและอาตมัน
ชั้นสูงเป็นอาตมันเดียวกันและเป็นอย่างเดียวกับพระเจ้าสูงสุด โดยผู้ที่รู้แจ้งตนเท่านั้นที่จะสามารถเข้าถึงโมกษะและเป็นอภิ
มนุษยผ์ ้ไู ม่มีกิเลสตณั หา

19

กรรมกับการเกิดใหม่
กรรมคือการกระทำ การกระทำที่ดีคือกรรมดี การกระทำที่ชั่วคือกรรมชั่ว โดยกรรมจะส่งผลต่ออินทรียภาพของผู้ทำ
และส่ิงแวดล้อมเสมอ ผลกรรมจะถูกเก็บไว้ในจิตที่เป็นปัจจัยในการปรุงแต่งจิตให้คิดไปตามลักษณะของกรรม และผลกรรมจะ
ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมตามลักษณะของผลกรรมด้วย แต่ผลกรรมที่มีต่ออินทรียภาพกับสิ่งแวดล้อมมีไม่เท่ากัน เพราะผลกรรมต่อ
สิง่ แวดล้อมสง่ ผลแคใ่ นชาตินีเ้ ทา่ นั้น แตผ่ ลกรรมตอ่ อินทรยี ภาพสง่ ผลต่อไปในชาติหนา้ หรือทำให้ต้องเวียนวา่ ยตายเกิดจนกว่าจะ
หมดกรรม

ทรรศนะเรือ่ งสสาร
ราธกฤษณันเห็นด้วยกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าสสารเป็นรูปแบบของพลังงานวัตถุกายภาพ เป็นเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นและเป็นจุดหนึ่งในกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่อง โดยธรรมชาติคือเหตุการณ์ที่ซับซ้อนและเป็นโครงสร้างของ
กระบวนการเปลี่ยนแปลง ดังนนั้ เอกภพมลี ักษณะเปน็ พลวตั และพลังงานท่ีมวี วิ ฒั นาการเป็นเอกภพแบบพลวตั และพลังงาน

ทรรศนะเรือ่ งโลก
ราธกฤษณันอธบิ ายวา่ โลกมีความต่อเน่ืองของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง โดยทุกสิ่งในโลก
มีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน เพราะโลกเป็นกระบวนการที่เกิดดับต่อเนื่องของเหตุการณ์ ดังนั้นลักษณะของโลกเป็นวัตถุ
ธรรมชาติที่พึ่งพาอาศัยกันและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ต่อไป การเปลี่ยนแป ลงของ
เหตกุ ารณ์คือการเปลย่ี นแปลงเชงิ กลแบบขา้ มภพขา้ มชาติ

ทรรศนะเรื่องชวี ิต
ราธกฤษณันอธิบายว่าชีวิตเป็นอินทรียภาพที่มีชีวิตและพฤติกรรม มีลักษณะเป็นอินทรียภาพแบบมวลรวมที่มี
ความสมั พันธก์ ัน โดยการเปลีย่ นแปลงเปน็ ผลมาจากประสบการณ์และนสิ ยั และการเปลีย่ นแปลงจะทำให้เกิดการพัฒนาภายใน
อินทรยี ภาพ เพราะวิวฒั นาการของอนิ ทรียภาพท่ีมีชวี ติ เกดิ ขนึ้ อยา่ งต่อเนอื่ ง

ทรรศนะเรอ่ื งจิต
ราธกฤษณันอธิบายว่าจติ หรือวิญญาณแตกตา่ งกับรา่ งกาย เพราะทั้งมนุษย์และสัตว์เป็นอินทรียภาพที่มีทั้งจติ และชวี ิต
ด้วยการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว โดยจิตมีบทบาทในการพัฒนามนุษย์และสัตว์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
พฤติกรรม ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมและสังคมพัฒนาด้วย ดังนั้นราธกฤษณันเชื่อในทฤษฎีวิวัฒนาการแบบก้าวกระโดดหรืออุบัติ
ววิ ฒั นาการท่วี ่าจากสสารวิวัฒนเ์ ป็นชีวิตและจากชีวติ ววิ ฒั น์เปน็ จติ

ทรรศนะเรือ่ งอัตพิชาน
ราธกฤษณันอธิบายว่าอัตพิชานเป็นสภาวะทางจิตที่สูงกว่าจิตที่เกิดขึ้นเฉพาะในมนุษย์ โดยอัตพิชานเป็นจิตที่มี
คุณลกั ษณะในการคิดพจิ ารณาด้วยเหตผุ ลและสามารถสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ ๆ ได้อย่างอิสระ มนษุ ย์ที่มีท้ังชีวิต จิต และอัตพิชานท่ี
ทำให้เกิดประสบการณ์ คุณค่า และความต้องการ โดยอาศัยอยู่ในเอกภพเดียวกันเป็นเอกภาพและสันตติที่เกิดต่อเนื่องกันจาก
ระดับตำ่ ไปสูงคือเป็นววิ ัฒนาการแบบกา้ วกระโดด โดยวัตถจุ ะวิวฒั น์เป็นพชื ได้เมือ่ วตั ถมุ ชี ีวติ พชื จะวิวัฒนเ์ ปน็ สตั วไ์ ด้เม่ือพืชมีจิต
และสัตว์จะวิวัฒน์เป็นมนุษย์ได้เมื่อสัตว์มีอัตพิชาน ดังนั้นทุกสิ่งวิวัฒนาการเป็นลำดับจากต่ำไปสูงและมีพลังงานทางจิตหรือ
พลงั งานเชงิ กลแบบข้ามภพข้ามชาตเิ ปน็ จดุ หมายแหง่ วิวัฒนาการคือพระเจ้าหรอื พรหมนั

20

ปรัชญาการศึกษา
ให้ความสำคัญกับสถานศึกษา ผู้สอน ผู้เรียนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ เพราะการศึกษาเป็นการเรียนรู้ที่พัฒนา
สติปัญญาและจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์เพื่อสัจธรรมของชีวติ ดังนั้นการศึกษาในมุมมองของราธกฤษณันเป็นการพัฒนาชีวิต
โดยมีศาสนาเป็นเครื่องมือในการขัดเกลาจิตวิญญาณ ปรัชญาการศึกษาของราธกฤษณันเป็นการปฏิรูปการศึกษาเพื่อให้เกิด
การบูรณาการทางความเชื่อตะวันตกและตะวันออกเพื่อความรู้ที่เป็นเป้าหมายการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นรากฐานสำ คัญ
ของชีวิตผ่านการเรียนรู้ทางสติปัญญาและจิตวิญญาณ ดังนั้นการศึกษาจึงต้องได้รับการปฏิรูปเพื่อความทันสมัยและการฟื้นฟู
ความรู้ดั้งเดิมด้วยการให้ความสำคัญกับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้แก่ผู้เรียน ผู้สอนคอยแนะนำและเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่
ผู้เรียน และผู้เรียนต้องตระหนักถึงตนเองและความรู้ด้วย เพราะการศึกษามีความสัมพันธ์กับศาสนาในการพัฒนาสติปัญญาไป
พรอ้ มกับจติ วิญญาณความเป็นมนุษย์ เพือ่ บรรลเุ ป้าหมายของการศกึ ษาอย่างแทจ้ ริง

ทัศนะของกลุ่มนสิ ิตทม่ี ตี อ่ ปรชั ญาของราธกฤษณัน

กลุ่มของเรามองว่า ปรัชญาของราธกฤษณันมีโลกทัศน์ทางศาสนาที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับโลก ชีวิต
และคำสอนทางศาสนา เพราะรากฐานทางปรัชญาความคิดของราธกฤษณันมาจากความเชื่อและประสบการณ์ทางศาสนาของ
ตนเอง โดยแนวคิดทางปรัชญาของราธกฤษณันจะมคี วามเกี่ยวข้องกับพระเจ้า โมกษะ พรหมัน อาตมัน การเข้าถึงโลกของพระ
เจ้า กฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิด และศรัทธา อีกทั้งยังมีโลกทัศน์ทางปรัชญาที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อที่เกี่ยวขอ้ งกบั
ชวี ิตและเอกภพ การแสวงหาความจริงของชวี ติ และโลก โดยจะมีความสนใจตอ่ สิ่งท่ีเป็นนามธรรมและรปู ธรรมด้วยการพิสูจน์หา
เหตุผลและเพ่อื ตอบสนองตอ่ ความสงสัยใคร่รู้ที่เปน็ การพฒั นาความคิดของมนษุ ยด์ ว้ ยการโตแ้ ยง้ ทางเหตผุ ล

21

อ้างอิง

ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน.์ (2558). ปรัชญาการศึกษา. พมิ พ์คร้งั ที่ 10. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
วันชาติ ชาญวจิ ิตร. (2561). ปรชั ญาของสรวปลั ลี ราธกฤษณัน. มหาสารคาม:
โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม.
วิทย์ วศิ ทเวทย์. (2555). ปรัชญาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
สจุ ติ รา ออ่ นค้อม. (2551). ปรชั ญาเบอื้ งต้น. พมิ พ์ครงั้ ที่ 8. กรงุ เทพฯ: สหธรรมิก.
อดิศกั ด์ิ ทองบุญ (2545). ปรัชญาอินเดียรว่ มสมัย. พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน


Click to View FlipBook Version