The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของศูนย์ป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

ผู้เขียน : เนาวรัตน์ เอกภาพันธ์
รักษาการนักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของศูนย์ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของศูนย์ป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

ผู้เขียน : เนาวรัตน์ เอกภาพันธ์
รักษาการนักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของศูนยป์ อ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พิษณโุ ลก

เนาวรัตน์ เอกภาพนั ธ์
รกั ษาการนักวิเคราะหน์ โยบายและแผนเชีย่ วชาญ
ศูนยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พิษณโุ ลก

ความเปน็ มา ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
หนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรือได้รับมอบหมาย
ความรุนแรงของสถานการณ์สาธารณภัยโลก
และประเทศไทย มีแนวโนม้ รุนแรงมากขึ้นตามสภาวะการ พื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสา
เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศอย่างรวดเร็ว รวมทั้งภัยที่เกิด ธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก ประสบกับสาธารณภัย
จากการกระทำของมนุษย์ในปจั จบุ ันก็ทวีความรุนแรงมาก บอ่ ยคร้ัง ท้ังภยั ธรรมชาติและภัยท่เี กิดจากการกระทำของ
ขึ้น ถือเป็นภัยร้ายแรงที่จะคุกคามต่อชีวิตและทรัพย์สิน มนุษย์ อีกทั้งในพื้นที่รับผิดชอบมีหน่วยภาคีเครือข่าย
ของประชาชนในประเทศได้ บทเรียนการจัดการสาธารณ องค์กรสาธารณกุศลหลายหน่วยที่จะสามารถเข้าให้การ
ภัยที่ผ่านมามีปัญหาด้านโครงสร้าง การจัดการและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยซึ่งต้องรีบดำเนินการอย่างรวดเร็ว
เอกภาพองค์ความรู้และข้อมูลรวมถึงแนวทางการ ทันท่วงที ซึ่งจะเปน็ หน่วยแรกที่เข้าถึงผู้ประสบภัย เข้าให้
สนับสนุนที่มีประสิทธิภาพ กอปรกับพันธกิจ ในความ การช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในเบ้ืองต้น การสร้าง
ร่วมมือระหว่างประเทศด้านการจัดการความเสี่ยงจาก ความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ การ
สาธารณภัย ช่วยเหลือกู้ชีพ กู้ภัย จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่องค์กรสาธารณ
กุศล หน่วยกู้ชีพ กู้ภัยประจำท้องถิ่น จำเป็นต้องมีความรู้
ปัจจุบันการจัดการสาธารณภัยให้ความสำคัญ ความสามารถดังกล่าว เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่าง
กับกับการดำเนินการที่สอดรับกับแนวคิดการจัดการสา ถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อเป็นการลดความเสียหายทั้งต่อ
ธารณภัยของโลกภายใต้บริบท “การจัดการความเสี่ยง ชีวิตและทรัพย์สินของผู้ประสบสาธารณภัย การบริหาร
จากสาธารณภัย (Disaster Risk Management : DRM)” จัดการ การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสา
ซึ่งประกอบด้วย การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย ธารณภัยในภาวะฉุกเฉินการทำงานอย่างเป็นระบบจงึ เปน็
(Disaster Risk Reduction : DRR) การจัดการในภาวะ สิ่งจำเป็นที่ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ฉุกเฉิน (Emergency Management) และการฟื้นฟูให้มี พิษณุโลกใหค้ วามสำคัญ
สภาพดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (Build Back Better
and Safer) รวมทั้งการส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง ผู้ขอรับการประเมิน รักษาการในตำแหน่ง
ประเทศและสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อสร้างศักยภาพ ผู้เชี่ยวชาญศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ความพร้อม และมาตรฐานในการจัดการสาธารณภัย พิษณุโลก จึงมีความสนใจที่จะศึกษา วิเคราะห์แนวทาง
ซึ่งนำไปสู่การพฒั นาระบบและมาตรฐานการจัดการความ การบูรณาการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยใน
เสีย่ งจากสาธารณภยั ของประเทศทม่ี ีความพร้อมรับมือกับ ภาวะฉกุ เฉินของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต
สถานการณ์อย่างบูรณาการความร่วมมือในทุกภาคส่วน 9 พิษณุโลก ทั้งด้านโครงสรา้ งของระบบ ความพร้อมของ
เพื่อให้เหน็ ถงึ ความสำคัญขององค์กรเครอื ขา่ ย เครื่องมือ อุปกรณ์ และ บุคลากรในการเข้าเผชิญ
สถานการณ์วิกฤตและการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานท่ี
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เขต เกี่ยวข้อในพื้นที่ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการบูรณา
9 พษิ ณุโลก มีเขตพ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบ 5 จงั หวดั ประกอบดว้ ย การให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉกุ เฉนิ
จังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก และจังหวัด เพื่อให้การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือร่วมกับ
อุตรดิตถ์ มีภารกิจหน้าที่ในการอำนวยการปฏิบัติการให้ หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง และภาคีเครือขา่ ยเกิดประสิทธิภาพ
ความช่วยเหลอื แกผ่ ูป้ ระสบภยั และพื้นทีเ่ กิดภัยขนาดใหญ่ สงู สดุ ตอ่ ไป
สนับสนุนและปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
และช่วยเหลือผู้ประสบภัยและฟ้ืนฟูสภาพพ้นื ที่ ให้ความรู้ วตั ถุประสงค์
คำแนะนำ ตลอดจนติดตามประเมินผลการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ี 1) เพื่อศึกษา ทบทวน วิเคราะห์ระบบการให้ความ
เกี่ยวข้อง สนับสนุนและจัดให้มีการฝึกอบรมซ้อมแผน ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของศูนย์
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย บริหารจัดการกิจการ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พษิ ณุโลก
อาสาสมัคร เพื่อป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ

2) เพื่อศึกษา ทบทวน วิเคราะห์ระบบการบูรณาการ การบริหารจัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน
การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน ของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ของศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พษิ ณุโลก พษิ ณุโลก
3) เพื่อเสนอแนวทางการในการพัฒนาการบูรณาการให้
ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พษิ ณุโลก พิษณุโลก มีภารกิจในการช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย
สนับสนุนทรัพยากรในการจัดการด้านสาธารณภัย ในเขต
การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ พน้ื ที่ 5 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ พษิ ณุโลก สโุ ขทยั
สาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน เป็นการบริหารจัดการทั้ง ตาก และจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีบทบาทในการบริหาร
ระบบ เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ได้รับ จดั การสาธารณภัยในพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบ มีดงั น้ี
ความช่วยเหลอื อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณภ์ ัยพิบตั ทิ ี่
เกิดขนึ้ ดังนน้ั การปฏิบัติงานดังกล่าว จะต้องมคี วามพร้อม 1)สนับสนุนการปฏิบัติงาน การประสานการ
ของ 4 M อันไดแ้ ก่ ปฏิบตั ิ ด้วยการบูรณาการทุกภาคสว่ น ท้ังในด้านแผนการ
ปฏิบัติงาน เครื่องมือ เครื่องจักร บุคลากร เพื่อเตรียม
1.Man หรือ คน จะใช้คนอย่างไรให้เกิด ความพร้อมและการสนับสนุนเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ใน
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลกับงานให้มากที่สุด พื้นที 5 จังหวัด ที่ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เขต 9 รับผดิ ชอบ
2.Money หรือ เงิน การบริหารงานจะจัดสรร
หรือบริหารเงินอย่างไร เพื่อให้ใช้จ่ายในต้นทุนที่น้อยและ 2 ) จ ั ด เ ต ร ี ย ม ช ุ ด เ ผ ช ิ ญ ส ถ า น ก า ร ณ ์ ว ิ ก ฤ ติ
เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล (Emergency Response Team : ERT) และชุดเคลื่อนท่ี
เร็ว จัดเตรียมเครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องและ
3.Materials หรือ เครื่องมือ เครื่องจักร การ อุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับสนับสนุน เมื่อได้รับการสั่งการ
บริหารเครื่องมือเครื่องจักรอย่างไร ที่จะสามารถนำไปใช้ จากผู้บงั คบั บัญชา
ในพื้นที่เพื่อให้เกิดประโยชน์ มีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล 3)เตรียมพร้อมเผชิญเหตุ เฝ้าติดตาม
สถานการณ์ เมื่อได้รับการแจ้งเตือนจากกองอำนวยการ
4.Management หรือ การบริหารจัดการ เป็น ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง จะทำการแจง้ เตอื น
กระบวนการควบคุมท้งั หมด เพื่อใหง้ านบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ไปยังสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
ซ่ึงเป็นการรวมทัง้ คน เงิน และเคร่ืองมอื เครอ่ื งจักร เพื่อจะได้แจ้งเตือนในพนื้ ท่ตี ่อไป

ปฏิทินสาธารณภัยประจำปีของพื้นที่จงั หวัดทรี่ ับผดิ ชอบของศูนย์ 4)ดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
เม่ือได้รับการสง่ั การจากผู้บงั คบั บญั ชา
ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พษิ ณโุ ลก
การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในช่วงเดือน
ประเภทของ ชนิดของภยั ห้วงเวลาที่เกิดภัย หมายเหตุ กันยายน 2562 เป็นตน้ มา ได้เกดิ อทุ กภยั ในพื้นท่ีจังหวัด
เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ และจังหวัดตาก
ภยั เนอื่ งจากพายโุ พดลุ และคาจิกิ ทำใหป้ ระชาชนไดร้ บั ความ
เดือดร้อน ซึ่งศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 9
ภยั ธรรมชาติ อุทกภัย ดิน โคลน พฤษภาคม - ตุลาคม พิษณโุ ลก ได้นำเครอ่ื งมอื เคร่ืองจักร บุคลากร ออกไปร่วม
ปฏบิ ตั งิ านกับหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ยในพ้ืนที่
ถล่ม

ภัยแลง้ พฤศจิกายน -เมษายน

วาตภัย กมุ ภาพันธ์ - ตุลาคม

ฝนแล้ง ฝนทงิ้ ช่วง พฤษภาคม - กันยายน

ภัยหนาว ตุลาคม - มกราคม ความเสี่ยง

ต่ำ

ภัยที่เกิดจาก อัคคีภัย เฝ้าระวังตลอดทง้ั ปี

การกระทำของ ภัยจากสารเคมี เฝา้ ระวงั ตลอดท้งั ปี ความเสี่ยง
มนุษย์ และวตั ถุอนั ตราย
ตำ่

อคั คภี ยั เฝ้าระวันตลอดท้งั ปี

ภัยที่เกิดจาก ไฟป่า เฝ้าระวังตลอดทัง้ ปี

ธรรม ชาติหรือ

การระทำของ

มนษุ ย์

ภัยที่เกิดขึ้นใน เทศกาลปใี หม่ ธนั วาคม - มกราคม
ช่วงเวลาหรือ เทศกาลสงกรานต์ เมษายน
เทศกาลตา่ ง ๆ วันลอยกระทง พฤศจกิ ายน

ภาพนำ้ ท่วมในพืน้ ท่ี อ.วังทอง จ.พษิ ณุโลก ถนนสายพิษณโุ ลก–หลม่ สกั
ทม่ี า https://www.bangkokbiznews.com

ภาพนำ้ ทว่ มตลาด 120 ปีวงั ทอง อ.วังทอง จ.พิษณโุ ลก หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งทัง้ ภาครัฐ เอกชน มูลนิธิ สมาคม ใน
ทมี่ า https://www.thairath.co.th การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การสงเคราะห์
เบื้องต้น ตลอดจนการฟื้นฟูบูรณะสิ่งที่เสียหายจากสา
ภาพนำ้ ทว่ มน้ำทว่ มพ้นื ที่ อ.เนนิ มะปราง จ.พิษณุโลก ธารณภัย
ทม่ี า https://www.naewna.com
(2)การบูรณการในภาวะฉกุ เฉนิ เมื่อได้รับ
การบรู ณาการการปฏิบตั ิงานรว่ มกับหนว่ ยงานท่ี การร้องขอการสนับสนุนในพื้นที่ที่รับผิดชอบของศูนย์
เก่ยี วข้อง ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก จะต้อง
มีการดำเนินการโดยเร่งด่วน และลงไปปฏิบัติงานและรับ
เมอื่ เกดิ สาธารณภัยขน้ึ ในพื้นที่รบั ผิดชอบของศูนย์ มอบภารกิจจากผู้อำนวยการจังหวัด หรือผู้บัญชาการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พิษณุโลก จะต้อง เหตุการณ์
มีการปฏิบัติงานเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน
ส่วนกลางและระดับพื้นที่ เพื่อให้การช่วยเหลือ 3)ภาคประชาสังคมและองค์กรการกุศล
ผ้ปู ระสบภัยเปน็ ไปดว้ ยความรวดเร็ว เปน็ แนวทางเดยี วกัน (1)จัดทำบัญชีรายชือ่ องค์กรการกศุ ลใน
มีเอกภาพและประสทิ ธิภาพอย่างสงู สุด
เขตจังหวัดรับผิดชอบ พร้อมสถานที่ตั้ง รายชื่อผู้
สำหรับแนวทางในการบูรณการปฏิบัติงาน ประสานงาน เบอรโ์ ทรศพั ท์ และบัญชีทรัพยากรท่สี ามารถ
เช่อื มโยงกับหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง ไดแ้ ก่ ให้การสนับสนุนได้ พร้อมจัดเจ้าหน้าที่ที่จะสามารถ
ประสานงานได้ตลอด 24 ชวั่ โมง
1)หนว่ ยงานส่วนกลาง ไดแ้ ก่ กองอำนวยการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลางและกองบัญชาการ (2)การบูรณการการจัดการในภาวะ
ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ฉุกเฉิน บูรณาการเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร และ
ระบบการสื่อสาร กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกัน
(1)การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัย ตามแผนที่กำหนดไว้ และรายงานผู้บังคับบัญชาจนกว่า
เตรียมความพรอ้ มของบคุ ลากร ชุดปฏิบัตกิ ารเคลอ่ื นที่เร็ว สถานการณ์จะยุติ
ชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต เครื่องจักร ยานพาหนะ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ใหม้ ีความพร้อมท่จี ะสนับสนนุ 4.ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต
ขา้ งเคยี ง
(2)การบูรณาการจดั การในภาวะฉุกเฉิน
เข้าปฏิบัติงานในพื้นที่เพื่อสนับสนุนการเผชิญเหตุการณ์ (1)เตรียมความพร้อมในภาวะก่อนเกิด
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยทันทีที่ได้รบั การร้องขอ หรือการสั่ง ภัย ประสานความร่วมมอื ดา้ นขอ้ มลู
การ และบรู ณาการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภาคีเครือข่าย
(2)เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นและเกินขีด
(3)การฟื้นฟู สนับสนุนเครื่องมือ ความสามารถของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เครื่องจักร เพื่อฟื้นฟูสิ่งสาธารณะประโยชน์ที่ได้รับความ เขต 9 พิษณุโลก รวมทั้งเครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ
เสียหายให้สามารถใช้การได้ดงั เดิมรว่ มกบั หน่วยงานอื่น ๆ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ได้บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่อยู่ใน
จังหวัดพื้นที่ที่เกิดสาธารณภัย และจังหวัดข้างเคียง มีไม่
2)หนว่ ยงานระดบั พ้นื ท่ี ไดแ้ ก่ กองบัญชาการ เพียงพอ จะรายงานไปยังผู้อำนวยการกลางพร้อมแจ้ง
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ข้อมูลทรัพยากรที่ต้องการขอรับการสนับสนุน เพื่อให้
ผู้อำนวยการกลางสั่งการให้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสา
( 1 ) เ ต ร ี ย ม ค ว า ม พ ร ้ อ ม ก ่ อ น เ ก ิ ด ภั ย ธารณภยั เขต ที่มที รพั ยากรตามทรี่ ้องขอ เข้ามาสนับสนุน
ประสานการปฏิบัติร่วมกับกองอำนาจการป้องกันและ การปฏบิ ัติงาน
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เตรียมพร้อมด้านข้อมูล และ
ระบบการส่ือสาร เพอื่ วางแผนสนับสนนุ การปฏิบัติงานกับ การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกยี่ วข้องและการนำเครือ่ งมอื เคร่อื งจกั ร
บคุ ลากร เข้ามาช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั น้ำท่วมพษิ ณุโลก ปี 2562

จากการศึกษาวิเคราะห์การปฏิบัติงาน ผู้ขอรับ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพเครือข่ายการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
การประเมินจงึ ได้พจิ ารณาขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณ • การสาธติ เรอ่ื งการเรยี นรกู้ ารช่วยฟื้นคนื ชพี เบอ้ื งตน้ โดย
จากจังหวัดพิษณุโลก ในการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการ
ปฏบิ ัติงานของผู้รบั ผดิ ชอบในพื้นที่ 5 จงั หวัด เพ่อื ให้มกี าร พยาบาลวชิ าชีพ
บูรณการการใหค้ วามชว่ ยเหลืออยา่ งเปน็ ระบบ ดังนี้
• ขัน้ ตอนการดับเพลิงขนาดใหญ่อยา่ งถกู วธิ แี ละมีความ
1.การอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่าย ปลอดภยั สูงกับผูป้ ฏิบัติ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของศูนย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พษิ ณุโลก

2.การอบรมการเพิ่มศักยภาพบุคลากรผู้ช่วย
ผู้ปฏิบัติงานด้านเครื่องจักรกลสาธารณภัยเพื่อรองรับ
สถานการณ์ภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ของศนู ย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พิษณุโลก

ผลจากการดำเนินการการอบรม ทำให้ผู้ขอรับ
การประเมินมีข้อเสนอแนะแนวทางในการปฏิบัติงาน
เพื่อให้เกิดกระบวนการการบรูณาการการให้ความ
ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน ของศูนย์
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พษิ ณโุ ลก

การพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่ายเพื่อการ
บูรณาการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ
สาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน ของศนู ย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก

การเพม่ิ ศกั ยภาพบคุ ลากรผู้ชว่ ยปฏบิ ตั งิ านด้าน
เครือ่ งจักรกลสาธารณภยั เพ่ือรองรบั สถานการณภ์ ยั พบิ ัติ

• การเรยี นรูแ้ ละฝกึ ซ้อมเคร่อื งมอื ดา้ นการปอ้ งกนั และ
บรรเทาสาธารณภยั

• การผกู เชอื กดว้ ยตนเองเพือ่ ใช้ในการโรยตัวในทส่ี ูง ให้

มีประสทิ ธิภาพสงู สดุ และปลอดภยั ทีส่ ดุ

ปญั หาอุปสรรค 2. เตรียมความพร้อมบุคลากรในการบริหาร
จัดการสาธารณภัย มีการทบทวนและปรับปรุงฐานข้อมูล
จากการศกึ ษาท้ังจากการรวบรวมข้อมูลทางเอกสาร บุคลากร การพัฒนาบุคลากรโดยการจัดฝึกอบรมให้มี
และการปฏิบัติงานจริงในการบูรณาการการให้ความ ความรู้ด้านเครื่องมือเครื่องจักรด้านสาธารณภัย การ
ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบสาธารณภัยในพน้ื ที่ โดยพบปัญหาและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย การประสานงานการกับภาคี
อปุ สรรคในภาพรวมบางประการของการปฏิบตั ิงานดงั นี้ เครือข่าย โดยนำผู้ปฏิบัติงานของแต่ละจังหวัดมาอบรม
ร่วมกัน เพื่อให้รู้จักกัน และสามารถประสานการปฏิบัติ
1) ขาดระบบการประสานงานที่ดีในการบริหาร เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในจังหวัดต่าง ๆ และขอรับการ
จัดการสาธารณภัยอยา่ งเป็นระบบ สง่ ผลใหก้ ารปฏิบตั ิงาน สนบั สนุนมาให้ความชว่ ยเหลอื กรณเี ปน็ สาธารณภยั ขนาดใหญ่
ไม่เปน็ เอกภาพ
3. บริหารจัดการ การดูแลรักษาเครื่องมือ
2) เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน บางหน่วยยังสับสน เครื่องจักรกล ให้มีความพร้อมในการออกปฏิบัติงาน
ในภารกจิ ที่ได้รับมอบหมาย ปรับปรุงฐานข้อมูลเครื่องมือเครื่องจักรของศูนย์ป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พษิ ณโุ ลก
3) การปฏิบัติงานยังมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาเฉพาะ
หน้า ไมย่ ดึ ถือปฏิบตั ติ ามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณ ขอ้ เสนอแนะ
ภยั ท่ีกำหนดขั้นตอน แนวทางปฏบิ ัตไิ ว้
จากผลการศึกษา เรื่อง การบูรณาการการให้ความ
4) การสือ่ สาร ไม่มีเอกภาพ ผู้บัญชาการเหตกุ ารณ์ ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน ของศูนย์
ไม่สามารถสั่งการให้แต่ละหน่วยปฏิบัติงาน รวมทั้งทำให้ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต 9 พิษณโุ ลก มองเหน็
การขอรบั การสนับสนทุ รพั ยากรเป็นไปอยา่ งล่าช้า ว่ายังมีปัญหาการเข้าไปปฏิบัติงาน และควรต้องมีการ
ปรบั ปรงุ บริหารจัดการ จงึ มีขอ้ เสนอแนะดงั นี้
5) ชดุ ปฏบิ ัติงานแตล่ ะหน่วย ขาดการประสานงาน
ต่างคนต่างทำ เพราะไม่มีการฝึกซ้อมร่วมกันเพื่อร่วมกัน 1) เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่จังหวัด ควรมี
ทำงานเป็นทีม การส่งเจ้าหน้าที่ของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
เขต 9 พิษณุโลก ไปประจำที่ศูนย์ปฏิบัติการในภาวะ
6) หน่วยงานภาคเอกชน จะเข้าไปช่วยเหลือ ฉุกเฉินของจังหวัด เพื่อรอการประสานงานจากสำนักงาน
ผู้ประสบภัย โดยไม่มีการมารายงานตัวกับผู้บัญชาการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เพื่อสนับสนุน
เหตุการณ์เพื่อรับมอบพื้นที่ หน้าที่ ทำให้กระบวนการให้ ทรัพยากรต่าง ๆ ซึ่งเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นจะต้องมีการ
ความชว่ ยเหลอื เกิดการสบั สน ร้องขอรับการสนับสนุน เครื่องมือ เครื่องจักร และ
ทรัพยากรต่าง ๆ จากจังหวัด หากทรัพยากรของจังหวัด
7) เครื่องมือ เครื่องจักร ที่อยู่ในแผนป้องกันและ และศนู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก
บรรเทาสาธารณภัยของแต่ระดับ เมื่อจะสั่งใช้พบว่ามีการ มีไม่เพียงพอ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ชำรุด หรือไม่พร้อมในการปฏิบัติงาน เนื่องจากขาดการ ก็จะเป็นผู้ที่นำบัญชีทรัพยากรของจังหวัดข้างเคียงมา
บำรงุ รกั ษา และไม่ตัดยอดออกจากแผน เสนอแนะเพ่อื ให้จังหวดั ท่เี กิดสาธารณภยั รอ้ งขอ หรือหาก
เกิดหลายจังหวัดพร้อมกัน ก็จะสามารถประสานกรม
จากปัญหาอุปสรรคข้างต้น เมื่อผู้ขอรับการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อขอรับการสนับสนุน
ประเมินได้มาดำรงตำแหนง่ รกั ษาการผู้เชี่ยวชาญด้านการ ทรัพยากรจากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต
จัดการสาธารณภัย ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อืน่ ๆ ได้
เขต 9 พิษณุโลก ผู้ขอรับการประเมินได้ปฏิบัติหน้าที่ใน
ด้านการบริหารจดั การสาธารณภัยในภาวะฉกุ เฉิน ดังน้ี 2) ควรมีการฝึกซ้อมแผนการป้องกนั และบรรเทา
สาธารณภยั แบบบรู ณาการ โดยนำหน่วยงานหลกั ของ 5
1. เป็นผู้ช่วยเหลือผู้อำนวยการศนู ยป์ ้องกันและ จงั หวดั มาฝึกซอ้ มแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise )
บรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลกในการกำกับดูแล เพอื่ ให้สามารถบูรณการทรพั ยากรต่าง ๆ ร่วมกันเมื่อเกิด
ส่วนสนับสนุนทรัพยากรกู้ภัย ส่วนป้องกันและปฏิบัติการ สาธารณภัยขึน้
ส่วนยุทธศาสตร์และการจัดการ ส่วนฝึกอบรม และชุด
เผชิญสถานการณ์วิกฤติ (ERT) มีการวางแนวทางในการ เพื่อให้การบูรการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสา
บริหารจัดการ การบูรณาการ กับหน่วยงานต่าง ๆ ธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน เป็นไปด้วยความรวดเร็ว ทันต่อ
เพื่อที่จะประสานขอความร่วมมือในการบริหารจัดการ เหตุการณ์ และลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของ
สาธารณภัยที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ก่อนเกิดภัยขณะเกิดภัย และ
หลังเกิดภัย เพ่ือให้การช่วยเหลือเป็นไปอย่างมีระบบ ผู้
ประสบสาธารณภัยได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
รวดเร็ว ถกู ต้อง และเปน็ ธรรม

ประชาชน จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมของบุคลากร
เครื่องมือ เครื่องจักร ของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัย เขต 9 รวมทั้งต้องมีการประสานงานกับภาคี
เครือข่าย เพื่อที่จะสามารถรับการสนับสนุนบุคลากร
เครื่องมือ เครื่องจักร ให้สามารถป้องกันหรือระงับสา
ธารณภัยได้อย่างทนั ท่วงทีตอ่ ไป

-----------------

กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั . แนวคดิ การจัดการ
สาธารณภยั . กรุงเทพฯ : อัมรนิ ทรพ์ ร้นิ ติ้ง แอนด์
พับลชิ ช่ิง, 2553.

กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั . คู่มือการฝึกซ้อม
แผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย. กรุงเทพฯ :
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ,2555.


Click to View FlipBook Version