The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบูรณาการการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเผชิญเหตุอัคคีภัยในอาคารสูง ระดับกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ผู้เขียน : เนาวรัตน์ เอกภาพันธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การบูรณาการการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเผชิญเหตุอัคคีภัยในอาคารสูง ระดับกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

การบูรณาการการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเผชิญเหตุอัคคีภัยในอาคารสูง ระดับกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ผู้เขียน : เนาวรัตน์ เอกภาพันธ

การบูรณาการการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเผชญิ เหตุอัคคีภยั ในอาคารสูง
ระดับกลุ่มจังหวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

Integrated Disaster Prevention and Mitigation Training:
Fire Response in High-Rise Buildings in Provincial Cluster Level B.E.2562

บทนำ เนาวรตั น์ เอกภาพนั ธ์1
Nowarat Ekphaphan
ภายใต้ พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย เป็นส่วน ผู้ขอรับการประเมิน (รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญศูนย์
ราชการที่มีอำนาจหน้าท่ีหลกั ในการบูรณาการการป้องกันและบรรเทาสา ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก) จึงมีความสนใจทีจ่ ะนำ
ธารณภัยของประเทศ โดยในระดับเขตพน้ื ท่ี ไดม้ ีการจดั ต้ังศนู ยป์ อ้ งกันและ ผลจากการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านอัคคีภัยฯ ดังกล่าว
บรรเทาสาธารณภัยระดับเขต เพื่อปฏิบัติงานในระดับเขตพื้นท่ี และให้มี มาวิเคราะห์และจัดทำเป็นผลงานเพื่อแตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งนักวิเคราะห์
การฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการเน้นการ นโยบายและแผนเชี่ยวชาญศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับกองบัญชาการป้องกันและ พิษณุโลก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเป็นแนวทางในการ
บรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พัฒนาสำหรบั การฝกึ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการใน
ครง้ั ต่อไป
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 9 พิษณุโลก ซึ่งมี
เขตพื้นที่รับผดิ ชอบ 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดพิษณุโลก เพชรบูรณ์ วตั ถุประสงค์
สโุ ขทยั อุตรดิตถ์ และจังหวดั ตาก ซึ่งเปน็ กลุม่ จังหวัดท่มี ีความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจสูงและมีความเสย่ี งภยั สงู ในการที่จะเกิดภยั ความเสียหายจาก (๑) เพื่อศึกษารูปแบบและแนวทางการดำเนินการบูรณาการ
อคั คีภัยซ่งึ เปน็ สาธารณภัยประเภทหน่ึงที่มโี อกาสเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาและ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับกลุ่มจังหวัด ประจำปี พ.ศ.
ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงได้กำหนดให้มีการ ๒๕๖๒ (การเผชิญเหตุอัคคีภัยในอาคารสูง) โดยใช้ระบบบัญชาการ
ดำเนินการฝึกซ้อมแผนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคารสูง และ เหตกุ ารณ์ (Incident Command System : ICS)
ดำเนินการฝึกซ้อมแผนแบบปฏิบัติการจริง (Full – scale Exercise:
FSE) สมมุติสถานการณ์การเกิดอัคคีภัยในอาคารสูง และอาคารขนาด (๒) เพื่อวิเคราะหแ์ นวทางการฝึกซ้อมแผนปอ้ งกันและบรรเทา
ใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง ความรุนแรงระดับ 3 ซึ่งจำเป็นต้อง สาธารณภัยระดับกลุ่มจังหวัด ตลอดจนการทบทวนความพร้อมของ
ได้รับความช่วยเหลือจากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต และ บุคลากร และอุปกรณ์ ในการปฏิบัติงาน ในการป้องกันและระงับอัคคีภยั
จงั หวดั ข้างเคยี ง และให้มีการฝึกซ้อมแผน ป้องกันและบรรเทาสาธารณ ในอาคารสงู
ภัย (อัคคีภัย) โดย การบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ฝึกการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเผชิญเหตอุ ัคคีภัยในอาคารสงู (๓) เพื่อวเิ คราะห์ปญั หาอปุ สรรค และขอ้ บกพร่องท่ีพบจากการ
ระดับกลุ่มจังหวัด ประจำปี พ.ศ. 2562 โดยมีการฝึกการป้องกันและ ฝึกซอ้ มแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ระดับกลุ่มจังหวัด (การป้องกัน
บรรเทาสาธารณภัยด้านการเผชญิ เหตุอคั คภี ัยในศาลากลางจังหวัด ในวันท่ี และระงับอัคคีภัย)
10 กันยายน พ.ศ. 2562 โดยสถานการณ์สมมติว่าได้เกิดไฟลุกไหม้ข้ึน
จากการระเบิดของตู้คอนโทรลบริเวณแหล่งจ่ายไฟ ชั้นที่ 3 ที่ศาลากลาง
จังหวัดพษิ ณโุ ลก และไฟลกุ ลามไปยัง ช้ันที่ 4 และทวีความรนุ แรงย่ิงขึ้นถึง
ระดับ 3 เกิดผลกระทบรุนแรงที่จำเป็นต้องอาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์
พิเศษ ต้องขอรับการสนับสนนุ จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
จากหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภายในจังหวัด และจังหวัดในกลุ่มจังหวัด ภายใต้การกำกับสั่งการของผู้ว่า
ราชการจงั หวัดพษิ ณุโลก (นายพพิ ฒั น์ เอกภาพนั ธ์)

ขอบเขตการศกึ ษาและวิเคราะห์

1 ผู้รับประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหนง่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการ
จดั การสาธารณภัย (นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ระดับเชยี่ วชาญ)
ตำแหน่งเลขที่ 840ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 พิษณุโลก กรม
ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย

2

๑) ภาคทฤษฏี ในการดำเนินการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ฝกึ
การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชาการในที่เกิด การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเผชญิ เหตุอคั คีภยั ในอาคารสูง
ระดับกลุ่มจังหวัด ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ในครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิด ทฤษฎี
เหตุ (Incident Command System : ICS) ให้กบั บุคลากรของจงั หวดั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งมาเป็นกรอบในการดำเนินการ ดังนี้
พิษณุโลก และเจ้าหน้าที่ของศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ในวันที่ ๔
กันยายน ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุมรัตนาแกรนด์คอนเวนชั่น (ห้องลิลลี่) ๑. พระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐
โรงแรมรัตนาปาร์ค ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก ๒. แนวคดิ การจดั การสาธารณภัย
จังหวดั พิษณุโลก เวลา ๐๙.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. ๓. แนวคดิ การฝกึ ซอ้ มแผนปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
๒) ภาคปฏบิ ตั ิ ๔. ระบบปอ้ งกันและระงบั อัคคภี ัยในอาคารสงู
๕. ระบบการบัญชาการในสถานการณ์ (Incident Command
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจขั้นตอนการฝึกซ้อมแผน
เฉพาะหน้าที่ (Functional Exercise : FE) และการฝึกซ้อมแผนเต็ม System : ICS)
รูปแบบ (Full – scale Exercise: FSE ) และการจำลองสถานการณ์ ๖. ทฤษฎีการบูรณาการ (Integrative Theory)
เสมือนจริง ในวันอังคารที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ ศาลากลางจังหวัด ๗. แนวคิดเก่ียวกบั การบริหารงานคณุ ภาพ (PDCA)
พิษณุโลก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณโุ ลก ในช่วงการเกดิ และการ ซึ่งจากแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกีย่ วขอ้ ง สามารถนำมาสรปุ เปน็
เข้าระงับอัคคีภัยในอาคารสูง รวมทั้ง การให้ความช่วยเหลือและการปฐม กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) ในการดำเนินการได้ตาม
พยาบาลกรณีฉุกเฉินแก่ผ้บู าดเจบ็ จากสถานการณ์ ตลอดจนการเคล่ือนยา้ ย แผนภาพที่ ๑
ผู้ไดร้ บั บาดเจบ็ ออกจากพ้นื ทปี่ ระสบภยั ทางพืน้ ดนิ และทางเคร่ืองมือพิเศษ
ทต่ี อ้ งใชผ้ ูเ้ ชี่ยวชาญ

พรบ.ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐

แนวคดิ การจัดการสาธารณภัย

(Disaster Management)

การฝึกซ้อมแผนป้องกนั และ ระบบการบญั ชาการในสถานการณ์ • การปอ้ งกันและระงบั
อคั คภี ยั ในอาคารสงู
บรรเทาสาธารณภยั (Incident Command System: ICS)
• ทฤษฎีการบูรณาการ
• การฝึกซ้อมแผนเชิงอภิปราย (Integrative Theory)
(Discussion-Based Exercise )
• การบริหารงานคณุ ภาพ
• การฝกึ ซ้อมเชิงปฏิบตั ิการ (PDCA)
(Operational – Based Exercise )

การบูรณาการฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ด้านการเผชญิ เหตอุ คั คภี ยั ในอาคารสูง ระดับกลุ่มจังหวดั

เสนอโครงการ แต่งตัง้ และ อบรมให้ ปฏิบตั กิ ารฝกึ ซ้อมแผน ติดตามและ
ฝึกซอ้ มแผนปอ้ งกัน ประชมุ ความรู้ ICS ประเมนิ ผล
แกบ่ ุคลากร • ประชมุ Command Post
และบรรเทาสา คณะกรรมการ และเจา้ หน้าที่ Exercise : CPX และฝึกซ้อม
ธารณภัยระดบั กลมุ่ / คณะทำงาน Functional Exercise: FE

จงั หวัด • ฝึกซอ้ มเต็มรูปแบบ(Full – scale
Exercise: FSE )

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ (Conceptual Framework) ในการดำเนินการ

แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วข้อง ผลการดำเนินการ

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) ในการดำเนนิ การ

3

• การดำเนินโครงการฝึกซอ้ มแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ระดบั กลุ่มจงั หวดั

การดำเนินโครงการฝึกซอ้ มแผนปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

ระดบั กลุ่มจังหวดั ในครง้ั นีม้ ขี น้ั ตอนในการดำเนนิ การโดยสรุปดงั น้ี

ขัน้ ตอน การดำเนนิ การ

1.แต่งตง้ั คณะทำงาน โ ด ย มีผู้อำนวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

คัดเลือกพ้ืนทเ่ี ส่ียงภยั เขต 9 พิษณุโลก เป็นประธาน ได้ประชุมเมื่อวันที่ 23

และประเภทของภัยใน สงิ หาคม ๒๕6๒ ณ ห้องประชุมศูนย์ฯ เขต 9 พิษณโุ ลก โดย

การฝึกซ้อมแผน ท่ปี ระชมุ ได้คัดเลือกให้ดำเนินการฝึกซ้อมแผนป้องกันและระงับ

อคั คภี ัยในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ และใช้สถานที่ศาลา

กลางจงั หวัดพิษณโุ ลก เป็นสถานทจี่ ำลองในการฝกึ ซอ้ มแผน

2.แตง่ ต้งั โดยมผี ู้วา่ ราชการจังหวัดพษิ ณโุ ลกเปน็ ประธาน

คณะกรรมการ

อำนวยการ/ แผนภาพท่ี 2 ขัน้ ตอนการดำเนนิ การบรู ณาการการปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั กลุม่ จงั หวัด
คณะทำงานการ

ฝึกซ้อมแผน

3.ประชุมคณะกรรมการ ๑) ประชุมจัดเตรียมความพร้อมคณะทำงาน วันที่ ๒

ชดุ ตา่ ง ๆ เพ่อื 3 สงิ หาคม ๒๕62 ณ ศนู ย์ฯ เขต 9 พิษณุโลก

เตรยี มการฝึกซ้อม ๒) ประชุมวางแผนโครงการฝึกซ้อมแผน ครั้งที่ 1

วนั ท่ี 27 สงิ หาคม ๒๕62 ณ ศนู ย์ฯ เขต 9 พิษณุโลก

3) ประชุมวางแผนโครงการฝึกซ้อมแผน ครั้งที่ 2

วนั ท่ี 30 สิงหาคม ๒๕62 ณ ศนู ย์ฯ เขต 9 พษิ ณุโลก

4) ประชุมคณะกรรมการออกแบบการฝึกซ้อมแผน

คร้งั ที่ 3 วนั ที่ 2 กนั ยายน ๒๕52 ณ ศาลากลางจงั หวัด

5) ประชุมการฝึกบนโต๊ะ (Table-top Exercises :

TTX) ครั้งที่ 4 วันที่ 4 กันยายน ๒๕62 ณ โรงแรมรัตนา

ปาร์ค อำเภอเมอื งพษิ ณโุ ลก

6) ประชุมฝ่ายปฏิบัติฝึกซ้อมแผน ครั้งที่ 5 วันที่ 9

กันยายน ๒๕62 ณ ศูนย์ฯ เขต 9 พิษณโุ ลก

7) ประชมุ คณะกรรมการอำนวยการฝึกซ้อมแผน คร้ังที่

6 และฝึกการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ประจำปี พ.ศ.

2562 (การเผชิญเหตุอัคคีภัยในศาลากลาง) วันที่ 10

กนั ยายน ๒๕62 ณ ศาลากลางจงั หวัด

4.ปฏบิ ตั ฝิ ึกซ้อมแผน ๑) ประชุมซักซ้อมความเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติ

ในที่บังคับการ (Command Post Exercise : CPX) แ ล ะ

ก า ร ฝึ ก ซ้ อ ม เ ฉ พ า ะ ห น้ า ที่ ( Functional

Exercise: FE ) วั น ที่ 4 กันยายน ๒๕62 ณ

โรงแรมรัตนาปารค์ อำเภอเมอื งพษิ ณโุ ลก

๒) ฝึกการฝึกซ้อมเต็มรูปแบบ(Full – scale

Exercise: FSE ) โดยจำลองสถานการณ์เสมือนจริงของการ

เกิดและการเข้าระงับอคั คีภัยในอาคารสูงและอาคารขนาด

ใหญ่ วนั ที่ 10 กันยายน ๒๕62 ณ ศาลากลางจงั หวดั

5.การประเมนิ ผล เม่อื ทำการฝึกซ้อมเสมอื นจริงเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้

คณะทำงานประเมินผลการฝึกซ้ อม แผ น ทำการป ระชุม

แล ะ ป ระ เ มิน ผ ล ข้อดี ข้อบ กพร่อ ง ต่ างๆ เพอื่ ใชเ้ ป็น

แนวทางแกไ้ ข ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณโุ ลก โดยมี ดร.

สุรชยั มณีประกร รอง ผวจ.พษิ ณโุ ลก เปน็ ประธาน

ออ6.สรุปรายงานผล คณะทำงานประเมินผลการฝึกซ้อมแผน ทำการสรุป

รายงานผลการดำเนนิ การฝึกซ้อมแผนฯ ใหก้ รมป้องกนั และ

บรรเทาสาธารณภัย ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัด และ

ผู้บริหารของหน่วยงาน ทราบเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนา

และแก้ไขจดุ บกพร่องต่างๆ ต่อไป

ซึง่ จากขัน้ ตอนในการดำเนนิ การจึงสามารถสรปุ ข้นั ตอนการ

ดำเนนิ การบูรณาการการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั กลุ่มจังหวดั

ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ (การเผชิญเหตอุ คั คภี ยั ในอาคารสูง) โดยใชร้ ะบบ

บัญชาการเหตกุ ารณ์ ได้ตามแผนภาพที่ ๒

• สถานการณ์สมมุติโดยยอ่ ของ การฝกึ ซอ้ มแผนป้องกนั และบรรเทา 4

สาธารณภัยระดบั กลมุ่ จงั หวดั วันอังคารที่ ๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ สถานการณท์ ่ี ๔ มีผบู้ าดเจบ็ ตดิ อยบู่ นอาคารศาลากลางทเ่ี กิดเหตุ

ณ ศาลากลางจังหวดั พษิ ณุโลก (หลังใหม)่ อำเภอเมอื งพิษณโุ ลก ✓ ผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะ ผู้อำนวยการจังหวัด สั่งการให้หน่วยงาน
ภายนอกที่เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่เพื่อทำการระงับเหตุ หน่วยงานภายนอก (ส่วน
สถานการณ์ท่ี ๑ เกิดไฟลกุ ไหมข้ ึ้น จากการระเบิดของต้คู อนโทรลบรเิ วณ ปฏบิ ัตกิ าร / สว่ นสนับสนนุ ) เดนิ ทางมาถงึ โดยเข้ารายงานตัวกบั ผ้วู ่าราชการจังหวัด
แหล่งจ่ายไฟฟา้ ชน้ั ที่ 3 ศาลากลางจังหวดั พิษณโุ ลก พิษณุโลก (อำนวยการจังหวัด) พร้อมทั้งรับมอบภารกิจ ผู้บัญชาการเหตุการณ์ การ
ปฏิบัติการควบคุมเพลิง การช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ติดค้างอยู่ในอาคาร การจัด
✓ วันอังคารที่ ๑0 กันยายน ๒๕62 เวลา ๑0.30 น. ณ อาคารศาลา การจราจร การรักษาความสงบเรยี บรอ้ ย / กั้นพื้นทีเ่ กิดเหตุ
กลางจงั หวัดพิษณุโลก (หลงั ใหม)่ ขณะทีเ่ จา้ หนา้ ทกี่ ำลังปฏิบัติหน้าที่ในสำนักงาน ได้
มีเสียงระเบิดดังขึ้น เกิดกลุ่มควันขนาดใหญ่และเปลวไฟพุ่งออกมาจากตู้คอนโทรล • - หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในจังหวัดเดินทางมาถึงพื้นที่ที่เกิดเหตุ และเข้า
บริเวณแหลง่ จา่ ยไฟฟ้า หนา้ หอ้ งสำนกั งานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ช้ัน รายงานตัวตอ่ ผอู้ ำนวยการจงั หวัด (ผวจ.พิษณุโลก)
ที่ 3 เจ้าหน้าท่ีสำนักงานสวัสดิการฯ เข้าทำการระงับเหตุการณ์ด้วยการใช้ถังเคมี
ดับเพลิงทำการดับเพลิง บริเวณที่เกิดเหตุ แต่ไม่สามารถควบคุมเพลิงได้ หัวหน้า • - ชุดเผชิญสถานวกิ ฤติ (ERT) จากศนู ย์ ปภ.เขต9 พิษณุโลก เข้ารายงาน
สำนกั งานสวสั ดกิ ารฯ แจ้งสำนักงานจังหวัด ว่าไดเ้ กดิ เหตุ แตไ่ ม่สามารถควบคุมเพลิง ตัวตอ่ ผู้อำนวยการจงั หวดั (ผวจ.พิษณุโลก)
ได้ พร้อมท้งั ไดร้ ายงานว่ามผี ูต้ ดิ คา้ งภายในอาคารและบาดเจบ็ จำนวนมาก
✓ หวั หน้าสำนกั งานจงั หวดั ไดร้ ายงานตอ่ ผวจ.พษิ ณโุ ลก ว่ายังมเี จา้ หน้าท่ี
สถานการณท์ ่ี ๒ สำนักงานจงั หวัดพิษณโุ ลก แจง้ ศนู ยด์ ำรงธรรมประกาศ
เสยี งตามสายและรายงานใหผ้ ู้วา่ ราชการจังหวดั ทราบ และขออนญุ าต กด แต่ละหน่วยงานและผู้มารับบริการบางส่วนติดอยูบ่ นอ าค า รที่เ กิ ด เ พลิ ง ไหม้ โดย
สัญญาณแจง้ การอพยพ ผวจ.พิษณุโลกได้ร่วมป ร ะเ มินสถานการณ์ และสั่งการให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้า
ปฏิบตั กิ ารค้นหาและให้ความชว่ ยเหลือ
✓ สำนักงานจังหวัดพิษณุโลก รายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบถึง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งขออนุญาต กดสัญญาณแจ้งการอพยพโดยให้ทุก สถานการณ์ที่ ๕ สถานการณ์เพลงิ ไหม้ยุติ
หน่วยงานอพยพจากตัวอาคารศาลากลางหลังเก่าและหลังใหม่ (ตามแผนป้องกนั และ
ระงบั อคั คีภัยของหน่วยงาน) สถานการณท์ วีความรนุ แรงย่งิ ขนึ้ และถงั ดบั เพลิงทมี่ ีอยู่ ✓ เจ้าหน้าที่สามารถควบคุมเพลิงไว้ได้ ทีมปฏิบัติการช่วยเหลือ/ค้นหา
ประจำช้นั หมด พรอ้ มแจ้งขอรับการสนบั สนุนการปฏิบตั จิ ากหน่วยงานภายนอก
และ หน่วย กู้ชีพกู้ภัยลำเลียงผู้บาดเจ็บส่งไปรักษาตัวยังโรงพยาบาลใกล้เคียง จน
✓ ผอู้ ำนวยการจงั หวัด (ผวจ.พิษณโุ ลก) รับ ทราบ เห ตุก า ร ณ์ จึงส่ังการ
หมดผู้บัญชาการเหตุการณ์ (ผวจ.พิษณุโลก) สั่งการให้สำนักงานโยธาธิการและผัง
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เข้าร่วมบูรณาการระงับเหตุ และมายัง ศูนย์
บัญชาการเหตุการณ์ พร้อมด้วยรองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด รอง เมืองจังหวัดพิษณุโลก เข้าตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
ผู้อำนวยการจังหวัด (นายก อบจ.พิษณุโลก) เดินทางมายังจุดเกิดเหตุโดย
ผู้อำนวยการอำเภอ (นอภ.เมืองพิษณุโลก) ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกเทศมนตรี • เจา้ หนา้ ทต่ี ำรวจวิทยาการ เขา้ สอบสวนหาสาเหตุการเกิดเพลงิ ไหม้
เมืองพิษณุโลก) และหัวหน้าสำนักงานจังหวัด ร่วมรายงานสถานการณ์และส่งมอบ
ภารกิจการบัญชาการให้ ผวจ.พิษณุโลก ในฐานะผู้อำนวยการจังหวัด เป็น • ศนู ย์พิสูจนห์ ลกั ฐาน 6 เขา้ ร่วมตรวจสอบพ้นื ท่ี
ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (Incident Commander) โดยผู้อำนวยการจังหวัด (ผวจ.
พษิ ณโุ ลก) ไดส้ ่ังให้จัดต้ังศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command Post) มี • ส่ังการให้สำนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด รายงานสรปุ
ผู้แทนส่วนราชการปฏิบัติหน้าที่ในศูนย์ฯได้แก่ ผวจ.ในฐานะ ผู้บัญชาการเหตุการณ์
และนายอำเภอเมือง นายกเทศมนตรีเมือง ร่วมบัญชาการเหตุการณ์ ส่วนวางแผน สถานการณท์ เี่ กดิ ขึ้น ไปยงั อธบิ ดีกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
(ปภ.จว.) ส่วนปฏิบัติการ(ทม.เมือง) ส่วนสนับสนุน(ขนส่งจว.,อบจ.) ส่วนบริหาร ✓ ผู้อำนวยการจังหวัด (ผวจ.พิษณุโลก) รองผู้อำนวยการจังหวัด (นายก
(ปกครองจว.) ประชาสมั พันธ(์ ปชส.จว.) ประสานงาน(ปภ.จว.)
อบจ.พิษณุโลก) นายกเหล่ากาชาดจังหวดั พิษณุโลก หัวหน้าส่วนราชการ มูลนิธิ ฯ
สถานการณ์ท่ี ๓ สถานการณ์ทวีความรุนแรงยงิ่ ข้ึนถึงระดบั 3 มี
ผลกระทบรุนแรงท่จี ำเป็นตอ้ งอาศัยผเู้ ชย่ี วชาญ หรืออุปกรณ์พิเศษ องค์กรเอกชน และหนว่ ยงานต่าง ๆ ตรวจเยยี่ มผปู้ ระสบภัย เพ่ือเปน็ การปลอบขวัญ

✓ ชุดทีมดับเพลิงรายงานสถานการณ์การเข้าระงับเหตุว่าขณะนี้เพลิงได้ และให้กำลงั ใจ และแถลงข่าวเก่ียวกับเหตกุ ารณ์อบุ ัติภยั ทีเ่ กดิ ข้ึนต่อสอื่ มวลชน
ลุกไหม้เกือบทั่วพื้นที่ของชั้นที่ 3 และลุกลามไปยังชั้นที่ 4 จนถึงชั้นที่ 7 หัวหน้า
สำนักงานจังหวัดรายงานต่อศูนย์บญั ชาการเหตุการณ์ มีเจ้าหน้าที่ผู้มารับบริการติด สถานการณ์กลบั เข้าสสู่ ภาวะปกติ สนิ้ สดุ การฝกึ ซอ้ มแผน
คา้ งอยจู่ ำนวนหนง่ึ ตอ้ งขอรับการสนับสนนุ จากหน่วยงานทีม่ ีศกั ยภาพโดยเรง่ ดว่ น
อภิปรายและสรปุ ผล
✓ ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดได้ร่วมกบั หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องประเมินสถานการณ์
จึงสั่งการให้ขอรับการสนับสนุนความช่วยเหลือ ไปยังจังหวัดใกล้เคียง เนื่องจาก การฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับกลุ่มจังหวัด ใน
สถานการณ์มีความรุนแรงถึงขั้นระดับ 3 มีผลกระทบรุนแรงที่จำเป็นต้องอาศัย ครั้งนี้ กำหนดเป็นการฝึกซ้อมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคารสูง ณ
ผเู้ ชี่ยวชาญ หรอื อุปกรณ์พเิ ศษ อาคารศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัด
พิษณโุ ลก โดยสถานการณ์สมมติว่าได้เกิดไฟลุกไหม้ขึน้ และทวคี วามรนุ แรงยิ่งข้ึน
✓ การระดมความช่วยเหลือจากทุกส่วนราชการ เอกชน มูลนิธิ ถึงระดับ 3 เกิดผลกระทบรุนแรงท่จี ำเปน็ ต้องอาศัยผู้เชย่ี วชาญหรืออุปกรณ์พเิ ศษ
อาสาสมคั ร ท่เี กย่ี วขอ้ ง โดยผอู้ ำนวยการจังหวัดเปน็ ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ได้สั่งการ ทำให้ต้องอพยพ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานประจำ ประชาชนผู้มารับบริการ และ
ให้สำนักงาน ปภ.จังหวัดพิษณุโลกรายงานสถานการณ์ให้อธิบดีกรมป้องกันและ ผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก จำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ
บรรเทาสาธารณภัยในฐานะผู้อำนวยกลางและ ประสานหน่วยงานภายนอกจังหวัด ท้งั ภาครฐั และเอกชน จากหนว่ ยงานสว่ นกลาง สว่ นราชการ และองคก์ รปกครอง
เข้าช่วยเหลือ ดงั น้ี สว่ นทอ้ งถ่ินภายในจงั หวดั จงั หวดั ในเขตพ้ืนทร่ี ับผิดชอบมาใหก้ ารสนบั สนนุ และ
ช่วยเหลือ
• แจ้งจังหวัดในเขตกลุ่มจังหวดั สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ และจังหวัด
ตาก ขอรับการสนับสนุนรถดับเพลิง/รถน้ำดับเพลิง และอุปกรณ์ช่วยเหลือ และ โดยเป็นการทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของเทศบาล อำเภอ
เจ้าหน้าที่ท่ีมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นเคร่อื งมือพิเศษ และจังหวัด รวมทั้ง การบูรณาการและทดสอบการใช้เคร่อื งมอื อปุ กรณ์กู้ภยั และ
ประสิทธิภาพของการปฏิบัตกิ ารค้นหาช่วยเหลือผู้ประสบภัย การบัญชาการในท่ี
• โดยกำลงั ทมี่ าถงึ แลว้ ให้ หน.ทมี /หน.หน่วยรายงานตัวตอ่ ผู้บัญชาการ เกิดเหตุ (ระบบ ICS) การติดต่อสื่อสาร การเข้าเผชิญเหตุ และคลี่คลาย
เหตุการณ์และประจำ ณ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (ICP) ส่วนเครื่องจักร/อุปกรณ์/ สถานการณ์ การอพยพประชาชนจำนวนมากไปในที่ปลอดภัย รวมทั้งการปฐม
ยานพาหนะ และกำลังพล ให้ประจำ ณ จุดรวมพล (Staging Area) ที่บริเวณลาน พยาบาลผู้บาดเจ็บของหน่วยแพทย์พยาบาลฉุกเฉิน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ปูน หน้าศาลากลางจังหวัดพษิ ณโุ ลก เพื่อรอสงั่ การเขา้ ปฏิบัตกิ าร ต่อไป บคุ ลากรของหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในกลุม่ จงั หวัดมีความคนุ้ เคยและมที กั ษะในการ
ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ และยังมีความเข้าใจกระบวนการด้านการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย โดยเฉพาะการอำนวยการการสั่งการ การติดต่อสื่อสาร การ
รายงาน การประสานการปฏบิ ตั ิ การเขา้ เผชิญเหตุ และคล่ีคลายสถานการณ์ การ
ช่วยเหลือผู้ประสบภยั การปฐมพยาบาล ซ่งึ จะทำใหส้ ามารถลดความสูญเสียและ
ลดผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึ้นตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ิน ทั้งของประชาชน และของส่วน
ราชการ อยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพ

5

การฝกึ ซ้อมแผนในครั้งน้ี มีการบูรณาการความร่วมมือการฝึกซ้อมแผน ลดความสูญเสีย ลดผลกระทบตอ่ ชีวิต ตลอดจนทรพั ย์สินของประชาชนและของ

จากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 71 หน่วยงาน ทั้ ง ภ า ค รั ฐ และเอกชน ไม่ว่าจะ สว่ นราชการ
เปน็ พลเรือน ตำรวจ ทหาร อาสาสมัครตา่ ง ๆ ซึง่ ไดใ้ หค้ วามร่วมมอื ในการฝึกซอ้ ม 2) หนว่ ยงานตา่ ง ๆ มีการเตรยี มความพร้อมด้านเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ใน
เป็นอย่างดี ตลอดจนผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย ตั้งแต่การเตรียมการฝึกซ้อม
แผนฯ การแบ่งหนา้ ที่การสนบั สนุนเครอ่ื งมือ ยานพาหนะ และอุปกรณ์ต่าง ๆ โดย การ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ รวมท้ังบคุ ลากรของ
การฝึกซ้อมแผนในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงการทำงานอย่างมืออาชีพ ซึ่งจำเป็นตอ้ ง หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชนในกลมุ่ จังหวดั มีทักษะมีความชำนาญ
ใช้การวางแผนและการบูรณาการของหนว่ ยงาน เป็นอย่างดี เป็นการจุดประกาย ในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการปฏิบัติเม่ือเข้าเผชิญเหตุ และระงับเหตุ
การเตรียมความพร้อม ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ให้เห็นถึงความสำคัญ ในการ ของหนว่ ยปฏบิ ตั ิ และหนว่ ยสนบั สนนุ การช่วยเหลือผปู้ ระสบภัย
เตรียมการด้าน ก าร ป้อ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย สร้างความอุ่นใจให้กับพี่
น้องประชาชน ที่ได้เห็นถึงศักยภาพที่ดีพร้อมของแต่ละหน่วยงานท่ีไดร้ ว่ มบูรณา 3) การซ้อมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ทำให้หน่วยงานทราบถึง
การ การฝึกซ้อมแผนฯ ภายใต้การกำกับสั่งการของท่านผู้ว่าราชการจังหวัด ข้อบกพรอ่ งของทใ่ี ชอ้ ยู่ และสามารถนำข้อบกพรอ่ งและข้อเสนอแนะไปปรับแกไ้ ข
พิษณโุ ลก (นายพิพฒั น์ เอกภาพนั ธ์) และดำเนินการเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์โดย และนำไปใช้ใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านต่อไป
มีผลการปฏิบัติงานอยใู่ นระดบั ดี เปน็ ท่ยี อมรับ ซง่ึ สามารถสรุปได้ดังน้ี
➢ ผลประเมินเชิงประจักษ์อยู่ในระดับดีมาก ได้แก่ ด้านการรักษาพยาบาล 4) ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการกระตุ้น ให้ตระหนักถึงการ
ป้องกันและระงับอัคคีภยั ในอาคารสูง ทำให้ประชาชนตระหนกั ถงึ แผนการป้องกนั
และด้านการเผชิญเหตุ และระงับอัคคีภัย และเตรียมพร้อมด้านการป้องกันตนเองหากเกิดภัยพิบัติจาก
➢ ผลประเมินเชิงประจักษ์อยู่ในระดับดี ได้แก่ การส่ือสาร การรักษาความ อัคคีภยั
ผลกระทบเชงิ ลบ
สงบเรียบรอ้ ย และการจราจรและดา้ นการประชาสัมพนั ธ์
อย่างไรก็ดีการฝึกซ้อมแผนในครั้งนี้ยังมขี ้อที่จะตอ้ งปรับปรุงแก้ไขในบาง 1) การดำเนินการซ้อมแผน หากไม่ได้มีการนำแผนมาซ้อม และการ
ซอ้ มเป็นเหมอื นการตระเตรียมขนั้ ตอนไวก้ ่อน ทำให้เม่อื เกิดการปฏิบตั ิการจริงซึ่ง
ขั้นตอน ซ่งึ คณะกรรมการประเมนิ ผล จะไดน้ ำไปปรับปรุง และดำเนนิ การพัฒนา มคี วามฉกุ ละหกุ และไมเ่ ปน็ ไปตามกระบวนการทีเ่ คยซอ้ มมา
ระบบการบริหารในภาวะวิกฤติ การประสานงาน ในการฝึกซ้อมแผนให้มี
ประสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น โดยหน่วยงานรว่ มประเมนิ ไดใ้ ห้ขอ้ สงั เกตในการฝึกซ้อม ไดแ้ ก่ 2) การซอ้ มแผน บางคร้ังหนว่ ยงานภายนอก ท่ไี มอ่ ยู่ในระบบ ไม่ได้เข้า
รว่ มซอ้ มแผน ซง่ึ จะเป็นปญั หาในการปฏิบัตกิ ารเมอ่ื เกิดเหตกุ ารณจ์ ริงขน้ึ
๑) สถานการณ์ในการฝกึ ซอ้ มบางข้นั ตอนไมเ่ ป็นไปตามเวลาท่ีกำหนด
๒) ควรมีอุปกรณ์การเคลอื่ นยา้ ยผู้ปว่ ยใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั สถานการณ์ 3) แผนในการปฏบิ ตั ิงาน ของแต่ละหน่วยงาน ไมเ่ หมอื นกนั ซ่งึ เมอ่ื เกิด
3) รถดับเพลิง จุดระดมเครื่องมือ มีข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เช่น ภัยจริง บางหน่วยงานไม่ปฏิบัติตามแผนที่เคยซ้อม และปฏิบัติตามแผนของ
รถดับเพลิงไม่มีระบบ รถดับเพลิงท้องถิ่น เข้ามาช่วยหลายองค์กร แต่ลำดบั การ หน่วยงาน เนื่องจากการเข้าร่วมซ้อมแผน ผู้เข้าร่วมเป็นเพียงหัวหน้างาน หรือ
นำรถน้ำเขา้ สนับสนนุ ในการเผชิญเหตยุ ังไมช่ ัดเจน หัวหน้าชุด ไม่ใช่ผู้บริหารองค์กร การเปลี่ยนแปลงจึงเป็นเรื่องยุ่งยาก การซ้อม
4) การประสานงานหัวหน้าชุดปฏิบัติการกับผู้บัญชาการเหตุการณ์ และ แผนอาจไม่ได้ผล หรือได้ผลเพียงแค่หน่วยงานหลัก แต่หน่วยงานร่วมกลับไม่ได้
อาสาสมคั ร ควรปฏบิ ัตใิ หส้ มจริงเพื่อเข้าใจบทบาทหน้าทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ประโยชน์
5) การฝึกยังไม่มีความพร้อมเทา่ ท่ีควร ควรมีการอบรมฝึกซ้อมแผนให้บอ่ ย ข้อเสนอแนะ

เพ่ือใหพ้ นักงาน และเจา้ หนา้ ทท่ี ีเ่ ก่ียวขอ้ งไดร้ บั รขู้ อ้ มลู การปฏบิ ตั ิอย่างถกู ตอ้ ง ➢ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
6) เครอื่ งมือทชี่ ่วยให้สถานการณภ์ ัยสงบได้เร็วมนี ้อยและบางอยา่ งเกิดความ การกำหนดนโยบาย/แผนงาน ผู้บริหารในทุกระดับ ควรให้

เสียหายในอาคารตึกศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เช่น วิทยุสื่อสาร กริ่งสัญญาณ ความสำคัญต่อการซ้อมแผน โดยการร่วมซ้อม และร่วมประเมินสถานการณ์
เตือนภยั ในศาลากลาง สัญลกั ษณท์ างหนีไฟมนี ้อย เพราะผู้บริหารจะสามารถรับรูปแนวทางการปฏิบัติได้จริง และตัดสินใจในการ
แก้ไขกระบวนการไดเ้ อง รวมถึงการสนบั สนุนงบประมาณในการจดั การซอ้ มแผน
7) ควรมีการประสานงานในอาคารระหวา่ งชัน้ ตา่ ง ๆ ใหส้ มบูรณ์ย่ิงขึ้นกวา่ นี้ ฯ เนื่องจากการกำหนดสถานการณ์สมมุติบางระดับ ที่มีความรนุ แรงสูง ขยายวง
8) อาสาสมคั ร มูลนธิ ิตา่ ง ๆ เจ้าหนา้ ท่ใี นตึกควรมคี วามกระตือรอื รน้ ในการ กว้าง จำเปน็ ตอ้ งใชง้ บประมาณในการดำเนนิ การ ในการจัดซื้อ – หาวสั ดุ อุปกรณ์
ฝกึ ซอ้ ม เพื่อให้ดูสมจริง และเขา้ ใจบทบาทหนา้ ทท่ี ี่ได้รบั มอบหมาย การสนบั สนนุ เครือ่ งจักรกลหนกั ในการปฏิบัติงาน สรปุ แล้วการให้ความสำคัญของ
ปัญหาและอปุ สรรคท่พี บในการดำเนินการ ผู้บริหารต่อกระบวนการซ้อมแผนเป็นเรื่องสำคัญ จำเป็นในการฝึกซ้อมแผนทุก
ระดับ และทุกครัง้
1) การฝึกซ้อมแผนในระดับกลุ่มจังหวัดมีหน่วยงานเข้าร่วมเป็น
จำนวนมาก ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น มูลนิธิ ฯ และประชาชน ซึ่ง ➢ ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ
ยังไม่เคยฝึกซ้อมแผนร่วมกันมาก่อน จึงต้องมีการวางแผนที่มีประสิทธิภาพ ๑) การให้ความสำคญั กบั การวางแผน โดยตอ้ งมองมติ ใิ นส่วนของ
ภายใตก้ ารบริหารจดั การสถานการณ์ในสถานการณว์ ิกฤต ซ่งึ มีความสลับซับซ้อน
จงึ ตอ้ งอาศัยการบริหารจัดการทด่ี ี การประสานการปฏบิ ัติท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ และมี ผู้เข้าร่วมที่มีจำนวนมาก การวางระบบงาน การจำแนกภ า ร กิ จ ต้ อ ง มี ค ว า ม
ความฉับไว รวดเร็วทันต่อเหตกุ ารณ์ ชัดเจน และต้องเป็นไปตามแผนทีก่ ำหนดไว้ รวมถึงกลุ่มผเู้ ข้ารว่ มปฏิบตั ิที่ยัง
ไม่เคยฝึกซ้อม แผนรว่ มกันมากอ่ น จำเป็นตอ้ งกำหนดสว่ นสนบั สนนุ การปฏิบัติ
2) บุคลากรที่เข้าร่วมฝึกซ้อมแผนมีทักษะในการปฏิบัติที่แตกต่างกัน ใหช้ ดั เจน จดั เตรียมแผนรองรบั สถานการณท์ อ่ี าจเกิดข้นึ เพอ่ื ในการฝึกซ้อมจะได้
จึงต้องมีการพัฒนาทักษะของผู้ปฏิบัติให้มีความรู้ความเข้าใจ ให้สามารถร่วมกนั แก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ปฏบิ ัติงานในสถานการณว์ ิกฤตไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและไมเ่ กิดความซ้ำซอ้ น
๒) จัดการปฏิบัติกลุ่มย่อย ก่อนการจัดการฝึกซ้อมแผนในรูปแบบ
3) ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident command System : ICS) ปฏิบัติการจริง (Field Training Exercise : FTX) หรือการฝึกซ้อมแผนเต็ม
ยังเป็นระบบใหม่สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น หรือแม้กระทั้งผู้ปฏิบัติงาน การสร้าง รูปแบบ (Full – scale Exercise: FSE ) ควรให้มีการซ้อมในกลุ่มย่อย หรือใน
ความรู้ ความเขา้ ใจ ยังต้องใชเ้ วลาในการนำไปสกู่ ารปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างแทจ้ รงิ เฉพาะหน่วย เพื่อให้เกิดความชำนาญและความเข้าใจที่ตรงกัน ก่อนการ
ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยอ่ืน โดยกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานในทิศทาง
4) ระบบการสื่อสารต้องทำให้เป็นเอกภาพเพราะทกุ หน่วยงานมีคลื่น เดยี วกนั เพอ่ื ให้เกดิ การปฏบิ ตั งิ านร่วมกันได้
เป็นของตนเอง ต้องปรับการใช้งานให้เป็นคลื่นความถี่เดี่ยวกัน และเตรียมการ
ส่ือสารสำลองไว้ทุกครง้ั เพ่ือรองรบั การผดิ พลาดของการส่อื สารหลกั ๓) ให้มีการปฏิบัติซ้อมแผนในทุกรูปแบบ และบ่อยครั้ง เพื่อให้
ผลกระทบเชงิ บวก ประชาชนเกิดความตระหนัก และความเข้าใจในก า ร ปฏิ บั ติ ตั ว เ มื่ อ เ กิ ด สา
ธารณภัย เป็นการสร้างวัฒน ธ รรมความปลอดภัยให้แก่ประชาชน และเพื่อให้ผู้
1) เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เข้าร่วมการฝึกซ้อมแผน มีทักษะความ ปฏิบัติได้เข้าใจการปฏิบัติงานอย่างเชี่ยวชาญ และได้มีการทดสอบอุปกรณ์
ชำนาญในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติภัยและรู้สภาพพื้นที่เสี่ยงภัย มี เครือ่ งมือให้เกดิ ความชำนาญยง่ิ ข้นึ
แนวทางปฏิบัตทิ ่ถี กู ต้องในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย ซงึ่ จะทำให้สามารถ

6

➢ ขอ้ เสนอแนะเชงิ วิชาการ
๑) สร้างกระบวนการในการปฏิบัติงานให้เกิดมาตรฐานเดยี วกนั

โดยเฉพาะในเรอื่ งของระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident command System
: ICS) ซึ่งเป็นระบบใหม่ในการบริหารจัดการสาธารณภัยในประเทศไทย เพื่อให้
เกิดกระบวนการเดียวกัน เน้นกระบวนการคิดในระดับผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติให้
เป็นไปทศิ ทางเดยี วกัน

๒) การส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยแก่เยาวชน
สำหรับประเทศไทย ประชาชนยังขาดความตระหนักในเรื่องของความปลอดภัย
เพือ่ ใหป้ ระชาชนได้รับรู้ และเขา้ ใจ เพ่อื สามารถนำมาปฏบิ ตั ิสร้างความปลอดภัย
ในชวี ิต และทรพั ยส์ ินของตนเอง และบคุ คลรอบข้าง ควรนำความรู้ในเรื่อ งก า ร
เตรียมตัวในการรับสถานการณ์ สาธารณภยั ใหแ้ ก่เยาวชน โดยกำหนดเปน็
นโยบายหลัก ให้เยาวชน ได้รับรู้ทั่วถึง อาจอยู่ในรูปแบบกิจกรรมหรือชมรม
อาสาสมัครสาธารณภัย ในโรงเรียน เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ขึ้ น ใ น
โรงเรียนและรู้ให้แก่เยาวชน รวมถงึ การถา่ ยทอดสู่ผ้ปู กครอง ต่อไป

------------------------------------------------------------------

กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . คมู่ อื การฝกึ ซ้อมแผนการปอ้ งกนั และ
บรรเทาสาธารณภัยตามสภาพ
พื้นท่ีเส่ียงภยั . กรุงเทพ : สำนกั นโยบายปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณ
ภยั , ๒๕๕๑.

ชชั ชาติ สทิ ธิพนั ธ.ุ์ (2543). ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับความปลอดภยั จากอัคคีภยั .
ในหนงั สอื อนสุ รณ์งานพระราชทานเพลงิ ศพ พลตำรวจเอก เสนห่ ์ สทิ ธิ
พนั ธ์. กรุงเทพฯ : หอรตั นชยั การพมิ พ์.


Click to View FlipBook Version