The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunfiower2008, 2022-03-27 22:50:22

Annual 64

Annual 64

ปก

รายงานผลการดำเนนิ งานปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ศูนย์เรยี นรู้การพฒั นาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จงั หวัดสงขลา

2

3

สารจากผ้อู ำนวยการ

ศูนย์เรยี นรูก้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จงั หวัดสงขลา

รอใสร่ ปู ผอ. จากสถานการณ์โควิด-19 เป็นตัวเร่งทำให้คนในสังคม
ตอ้ งปรบั ตัวในหลากหลายเร่ืองไมว่ า่ จะเปน็ เทคโนโลยี การทำงาน

การเรียน หรือการดูแลสุขภาพของตนเองแล้ว โควิด-19 ยังเป็น

ปัจจัยที่ส่งผลต่อ “ครอบครัว” ที่จะต้องปรับตัวและพยุงสถานะ

เป้ออกแบบส่วนหน้า ทัง้ หมด ของครอบครัวให้อยู่รอดให้ได้ แม้ทิศทางความเข้มแข็งครอบครัว
ไทยจะดีขึ้นตามผลสำรวจโดยกรมกิจการสตรีและสถาบัน

ครอบครัว แต่ก็มีข้อค้นพบน่าสนใจคือ มีครอบครัวที่ไม่มีบุตร

สูงขึ้น เช่นเดียวกับครอบครัวผู้สูงอายุที่ดูแลเด็กตามลำพัง

กเ็ พิม่ ข้ึน อีกทัง้ พบแนวโน้มด้านสัมพันธภาพท่ีดีในครอบครัวลดลง

ได้แก่ การแสดงความรักและเอาใจใส่ระหวา่ งกัน ตลอดจนการสื่อสาร

ระหว่างกันอย่างมีคุณภาพ ทั้งนี้ เดิมสถานการณ์ครอบครัวมีการ

เปลี่ยนแปลงอยู่แล้ว และพบแนวโน้มที่ครอบครัวย้ายถิ่นจากชนบทเข้าสู่เมือง แต่การระบาดของโควิด-19 ได้ทำ

ให้สถานการณ์เปลีย่ นอีกและซับซ้อนยิ่งขึน้ ตอนน้ีจึงเป็นการย้ายถิ่นกลับชนบท ซึ่งเป็นการกลับไปแบบไม่มีงาน

ทำ อีกทั้งมีข้อจำกัดทางเงินออม ทำให้ยิ่งได้รับผลกระทบ และสถานการณ์ครอบครัวจะรุนแรงขึ้นจากภาวะ

เศรษฐกจิ ไมด่ ี ทำใหห้ น้ีสนิ ครอบครวั เพ่ิม ครอบครัวมีความเครียด ปญั หาการทะเลาะเบาะแว้งมากขน้ึ การจัดการ

ในครอบครวั ไม่ดี และนำไปสคู่ วามรุนแรงในครอบครัว

ศูนย์เรียนรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั

(สค.) มีภารกจิ สำคญั คือ การพัฒนาศักยภาพสตรีและบุคคลในครอบครวั โดยเฉพาะกลุ่มผดู้ ้อยโอกาสและกลุ่ม

เปราะบาง ซึ่งรวมถึงผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 การให้บริการฝึกอบรมทักษะอาชีพการเสริมสร้าง

ครอบครัวเข้มแข็ง และการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และในปี 2564 ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้เปิดให้บริการ

ศูนย์บริการแมเ่ ลยี้ งเดี่ยวและครอบครวั โดยแม่หรือสมาชกิ ในครอบครวั ท่ีเลีย้ งเดย่ี วที่มาฝกึ อาชีพสามารถนำเด็ก

แอพพลิเคชั่นและเว็บบอร์ด “เพื่อนครอบครัว: แฟมิลี่ ไลน์ (Family Line)” ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือด้าน

ครอบครัวทุกมิติตลอด 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความยากจน ข้อกฎหมาย สุขภาพ สุขอนามัย สิทธิและ

สวัสดิการ ความรุนแรงในครอบครัว ฯลฯ อย่างไรก็ตาม การบรรลุผลสำเร็จได้นั้นจำเป็นต้องอาศัยความ

ร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่มีศักยภาพในแต่ละด้านมาร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพของ

ศูนย์เรียนรู้ด้านครอบครัวใจชุมชน (ศพค.) ให้เข้มแข็ง เพื่อจะได้มีศักยภาพในการดูแล ให้คำแนะนำ และ

ช่วยเหลือประชาชนในชุมชนพืน้ ทขี่ องตน

ดิฉันในนามของศูนย์เรียนรู้ฯ จึงขอขอบคุณเครือข่ายต่างๆ ที่มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน
ช่วยเหลือในการปฏิบัติงานมาด้วยดีเสมอมา และหากท่านใดพบเห็นการทุจริต ความไม่โปร่งใสในการใช้จ่าย

งบประมาณ หรือไมได้รับความเป็นธรรม รวมทั้งข้อเสนอแนะในการพัฒนาการทำงานงาน สามารถติดต่อแจ้ง
มาได้ทุกชอ่ งทางของศนู ยเ์ รยี นรฯู้ เรายินดีรบั ฟงั และนำไปปรบั ปรุงพฒั นาการทำงานใหด้ ีขนึ้ ตอ่ ไป

(นางสาวศุภวรรณ ขูดแก้ว)
ผ้อู ำนวยการศนู ย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้

จงั หวัดสงขลา
กมุ ภาพนั ธ์ 2565

4

คำนำ

ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา สังกัดกรมกิจการสตรีและสถาบัน
ครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิดดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเยาวสตรี สตรี และบุคคลทุกเพศ ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปท่ีขาดโอกาสทาง
การศึกษา ว่างงาน หรือเป็นบุคคลที่มีความเสี่ยงประกอบอาชีพในทางไม่เหมาะสม ถูกล่อลวง หรือตกเป็น
เครื่องมือของผู้แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ให้มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพสามารถช่วยเหลือ
ตนเองและครอบครัวให้ดำรงอยู่ได้อย่างมีความสุข สร้างครอบครัวที่อบอุ่นและเข้มแข็ง ตลอดจนการส่งเสริม
ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ และม่งุ เนน้ การขบั เคลื่อนงานของกรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครัว โดยการนำนโยบาย
แนวคิด หลักการและกลไกด้านสตรีและครอบครัว มาปฏิบัตเิ พ่อื กลุ่มเป้าหมายภาคใต้ในพนื้ ที่ 9 จังหวัด ได้แก่
กระบ่ี นครศรธี รรมราช ตรัง พัทลงุ สตลู สงขลา ปตั ตานี ยะลา และนราธวิ าส

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนนิ งาน
สถติ ิ ขอ้ มลู และการประชาสัมพนั ธ์การปฏิบตั ิงานของศูนยเ์ รียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัด
สงขลา เพือ่ เป็นข้อมูลในการใชป้ ระโยชน์แกอ่ งค์กรและผ้ทู ี่สนใจต่อไป

ผูจ้ ัดทำ
กลุ่มแผนงานและวิชาการ

5

2
18

44
64

ดา้ นการพัฒนาศักยภาพสตรีและบคุ คลในครอบครวั 64
-การฝึกอบรมอาชพี ในสถาบัน
-การฝกึ อบรมอาชพี นอกสถาบัน/ในชุมชน 84

ดา้ นการเสรมิ สรา้ งครอบครัวเข้มแขง็ 102
-การสรา้ งวิทยากรแกนนำร่วมใจตา้ นภัยคา้ ประเวณี (ชมรมริบบน้ิ ขาว) 103
-การส่งเสรมิ สมั พนั ธภาพของครอบครัว (โรงเรยี นครอบครวั ) 110
-การสง่ เสริมดา้ นสวัสดกิ ารสงั คมและสงั คมสงเคราะห์ 112

ดา้ นการส่งเสริมความเสมอภาคระหวา่ งเพศ
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ขอ้ มูลสำคัญทางการเงนิ
ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

114

6

7

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู กรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครวั

ประวตั คิ วามเป็นมา

กรมกจิ การสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ตามที่
รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูประบบราชการ โดยยุบหนว่ ยงานท่ีกระจายอยู่ในหลายกระทรวง มาจัดตั้งกระทรวงและ
หน่วยงานระดับกรมขึ้นใหม่ เพื่อให้การดำเนินงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นนั้น สำนักงานกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว (สค.) ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นอีกหนึ่ง
หน่วยงานท่ไี ดร้ บั การจดั ต้งั ข้นึ ใหม่ อาศยั อำนาจตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2545
มาตรา 17 พระราชกฤษฎีกาโอนกจิ การบริหารและอำนาจหน้าท่ีของส่วนราชการให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญัติ
ปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 มาตรา 35 (1)

กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2545 โดยการรวม
หน่วยงานที่ทำงานด้านสตรีเข้าด้วยกัน 3 หน่วยงาน คือ คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ
สำนกั งานปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี สำนกั นายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ในส่วนของกรมการพัฒนาชุมชน
และกรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสงั คม

ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้เม่ือ
วันที่ 6 มีนาคม 2558 ให้มีการปรับปรุงโครงสร้างสว่ นราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โดยรวมงานด้านนโยบาย ด้านวิชาการ และด้านการปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมายเดียวกันให้อยู่ส่วนราชการ
เดียวกนั แบง่ เป็นหน่วยงานในสงั กดั กระทรวง ประกอบด้วย

1. สำนักงานปลดั กระทรวง
2. กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน
3. กรมกจิ การผ้สู ูงอายุ
4. กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
5. กรมพฒั นาสังคมและสวัสดกิ าร
6. กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้รับการโอนภารกิจที่เกี่ยวกับงานสตรี สำนักงานป้องกนั
และแก้ใขปัญหาการค้าหญิงและเด็ก สถานสงเคราะห์สตรี และสถานสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยการ
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี และงานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
คา้ ประเวณี เพอื่ ให้การดำเนินงานเป็นไปตามท่ีกฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการท่ีกำหนด

2

วสิ ัยทัศน์

“สตรแี ละครอบครวั ม่นั คง สังคมเสมอภาค”

ค่านิยม

“มอื อาชพี มีจรยิ ธรรม ภาวะผู้นำ ทำงานเปน็ ทมี ”

พันธกิจ

วฒั นธรรมองคก์ ร

"จิตอาสา สอ่ื สารสรา้ งสรรค์ พัฒนาตนเองและองค์กร"
- จิตอาสา หมายถึง การเป็นผู้ให้ เสียสละ สมัครใจให้บริการ ช่วยเหลือสังคมเพื่อประโยชน์

สว่ นรวม
- สอ่ื สารสรา้ งสรรค์ หมายถึง การสอ่ื สารท่ถี ูกตอ้ งเป็นจริง สรา้ งการมีสว่ นรว่ มและเรียนรู้รว่ มกัน
- พัฒนาตนเองและองค์กร หมายถึง การใส่ใจใฝ่เรียนรู้ ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อเพิ่มขีด

สมรรถนะของตนเองและองค์กร สามารถบรหิ ารความเส่ียงอย่างมีธรรมาภิบาล

3

ภารกจิ หน้าท่ี

ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2559 กำหนดให้กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว มีภารกิจเกี่ยวกับ
การพัฒนาศักยภาพสตรีการส่งเสริมความเสมอภาคและความเท่าเทียมระหว่างเพศ การส่งเสริมและพัฒนา
ครอบครัวการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิสตรี ผู้แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกําเนิด และบุคคลในครอบครัว
การสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถาบันครอบครัว การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
การคุ้มครองสวัสดิภาพบุคคลในครอบครัว การตรวจสอบ การชดเชยและเยียวยาเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ และการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพผู้ประสบปัญหาจากการค้าประเวณี โดยให้มี
อํานาจหน้าท่ี ดังต่อไปน้ี

1. เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน และมาตรฐานการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการส่งเสริม
การพัฒนาศักยภาพ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรี ครอบครัวผู้ประสบปัญหา
จากการค้าประเวณี และผูแ้ สดงออกที่แตกตา่ งจากเพศโดยกําเนดิ

2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน และองค์กรระหว่างประเทศ
ในการดําเนินการตามนโยบาย พันธกรณี อนุสัญญา และความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับสตรีครอบครัว
ผู้ประสบปัญหาจากการค้าประเวณี และผู้แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกําเนิดหน้า 19 เล่ม 133 ตอนที่ 94 ก
ราชกิจจานเุ บกษา 1 พฤศจกิ ายน 2559

3. เสรมิ สรา้ งมาตรการ กลไกในการพฒั นาศักยภาพ ความเสมอภาคและความเท่าเทียม ระหว่างเพศ
การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิสตรีและผู้แสดงออกท่ีแตกตา่ งจากเพศโดยกาํ เนิด การป้องกันการค้าประเวณีและ
คุ้มครองผปู้ ระสบปัญหาจากการค้าประเวณี การคมุ้ ครองสวัสดภิ าพบคุ คลในครอบครัว การสรา้ งความเข้มแข็ง
ใหส้ ถาบนั ครอบครัว

4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง การดําเนินงาน การรับรอง และการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ขององคก์ รภาคเอกชนดา้ นสตรีและครอบครัว รวมท้งั องคก์ รอื่นทเ่ี กีย่ วข้อง

5. บริหารจดั การและพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นสตรี ครอบครัว ผปู้ ระสบปัญหาจาก
การคา้ ประเวณี และผ้แู สดงออกท่ีแตกต่างจากเพศโดยกําเนิด

6. เป็นศนู ย์กลางการเรยี นรูใ้ นการแก้ไขและพฒั นาสตรี ครอบครวั ผกู้ ระทาํ หรือผู้ถูกกระทําด้วย
ความรุนแรงในครอบครัว ผู้ประสบปัญหาจากการค้าประเวณี ผู้แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกําเนิดและ
ผู้ถกู เลือกปฏบิ ตั ิโดยไมเ่ ปน็ ธรรมระหว่างเพศ

7. จัดบริการสวัสดิการสังคม การให้ความช่วยเหลือ คุ้มครอง แก้ไข เยียวยา บําบัด ฟื้นฟู และ
พัฒนาศักยภาพของสตรี ผู้กระทําหรือผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว ผู้ที่ถูกศาลสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผปู้ ระสบปัญหาจากการค้าประเวณี รวมท้งั ผแู้ สดงออกท่ีแตกตา่ งจากเพศโดยกําเนิด

8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรี
หรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

4

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครวั แบง่ ส่วนราชการ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. สำนักงานเลขานกุ ารกรม มีหนา้ ที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
(1) ดำเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอำนวยการ งานบริหารทั่วไป งานเลขานุการผู้บริหารงาน

ประสานราชการ และงานสารบรรณของกรม
(2) ดำเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานทื่ และ

ยานพาหนะของกรม
(3) ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบคุณธรรม และการ

เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ของบุคลากรของกรม
(4) ดำเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมาย งานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ยวกับความรับผิดทาง

แพ่งและอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่นทอ่ี ยูใ่ นอำนาจหนา้ ที่ของกรม
(5) ดำเนินการเก่ียวกบั การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร ผลงานและกจิ กรรมของกรม
(6) ดำเนนิ การอน่ื ใดท่มี ิไดก้ ำหนดให้เปน็ อำนาจหน้าที่ของสว่ นราชการใดของกรม
(7) ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั หรสื นบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอ่นื ท่เี กี่ยวขอ้ งหรือที่ได้รบั มอบหมาย

5

2. กองคุ้มครองและพฒั นาอาชีพ มีหน้าทแ่ี ละอำนาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) พัฒนาระบบและรูปแบบการให้บริการสวัสติการ และกำหนดมาตรฐานการคุ้มครองและ

พัฒนาอาชพี แกผ่ ปู้ ระสบปญั หาทางสังคม และครอบครัว หรือผไู้ ด้รบั ผลกระทบจากการค้าประเวณี
(2) จัดบริการสวัสดิการสังคม และดำเนินการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครอง แก้ไข เยียวยา

บำบัด พื้นฟู พัฒนาอาชีพ การฝึกอาชพี การสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ แกผ่ ู้
ประสบปัญหาทาสังคม และครอบครวั หรือผู้ได้รับผลกระทบจากการคา้ ประเวณี

(3) กำหนดมาตรการ กลไกในการแกไ้ ขปญั หาการค้าประเวณี และร่วมกับองคก์ รเครือข่ายทุก
ภาคสว่ นท่ีเกย่ี วข้อง ทง้ั ภายในและตา่ งประเทศเพื่อแก้ไขปญั หาการค้าประเวณี

(4) ดำเนนิ การเกย่ี วกับงานเลขานกุ ารของคณะกรรมการคมุ้ ครองและพัฒนาอาชีพ
(5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง การดำเนินงาน การรับรอง การกำหนดมาตรฐาน
และการเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของมลู นิธิ สมาคม หรอื สถาบันทีด่ ำเนนิ กิจการสถานแรกรบั หรือสถานคุ้มครอง
และพฒั นาอาชพี เพอ่ื ให้สามารถทำหน้าทีต่ ามวตั ถปุ ระสงค์ไดอ้ ย่างเหมาะสม
(6) กำกับ ดูแล และติดตามการดำเนนิ งานของศนู ย์เรยี นรกู้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครัว
(7) ปฏิบัติงานรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ทเี่ กย่ี วข้องหรือท่ไี ด้รับ
3. กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน มีหนา้ ท่แี ละอำนาจ ดงั ต่อไปนี้
(1) จดั ทำขอ้ เสนอแนะเชิงนโบาย แผนยทุ ธศาสตร์ แผนปฏิบตั ิราชการของกรม และแผน
เฉพาะดา้ นทเ่ี กีย่ วข้อง
(2) ดำเนินการเก่ียวกบั การบริหารงบประมาณของกรม
(3) ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านตามนโยบายและยุทธศาสตร์
(4) ดำเนนิ การเกย่ี วกบั งานวิเทศสัมพนั ธ์ การพัฒนาและประสานความรว่ มมือระหวา่ ง
ประเทศเกยี่ วกับนโยบาย พนั ธกรณี อนสุ ญั ญา และความตกลงระหว่างประเทศ
(5) จดั ทำและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรม
(6) ปฏิบตั ิงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอื่นทเี่ กี่ยวข้องหรือท่ีได้รับมอบหมาย
4. กองส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปน้ี
(1) พัฒนาวิชาการ มาตรฐาน มาตรการ และกลไกในการส่งเสริมความเสมอภาคและความ
เทา่ เทยี มระหว่างเพศ การคุม้ ครอง การพฒั นาศักยภาพ และการพทิ กั ษส์ ทิ ธิสตรีและผู้แสดงออกท่ีแตกต่างจาก
เพศโดยกำเนิด
(2) ส่งเสริม และสนับสนุนความเข้มแข็งขององค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อคุ้มครองพิทักษ์สิทธิสตรี
และผู้แสดงออกทีแ่ ตกตา่ งจากเพศโดยกำเนดิ
(3) ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา
สถานภาพสตรีแห่งชาติ และงานธุรการและงานวิชาการของคณะกรรมการส่งเสรมิ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ
และคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยการเลือกปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ป็นธรรมระหวา่ งเพศ

6

(4) บริหารจัดการกองทนุ ส่งเสริมความเทา่ เทยี มระหว่างเพศ
(5) ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับหรอื สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย
5. กองสง่ เสริมสถาบันครอบครัว มีหนา้ ท่ีและอำนาจ ดังต่อไปนี้
(1) พัฒนาวิชาการ มาตรฐาน มาตรการ และกลไกเกี่ยวกับสถาบันครอบครัว ตลอดจนกำกับ
ดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนในการสร้างหลักประกันความมั่นคงให้แก่
บุคคลในครอบครัว การคุม้ ครองสวสั ดิภาพของบุคคลในครอบครัว และการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของครอบครวั
(2) ดำเนนิ การเกีย่ วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตรค์ รอบครวั แห่งชาติ
(3) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความรว่ มมือกับทุกภาคส่วน และองค์กรระหว่างประเทศ
เพื่อดำเนินการตามนโยบาย พันธกรณี อนุสัญญา และความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมและ
พัฒนาสถาบันครอบครวั
(4) เสริมสร้างมาตรการ แนวทาง และกระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพบุคคลในครอบครัว
รวมทั้งประสานความร่วมมือกับสหวิชชีพและหน่วยงานที่เกีย่ วข้องทุกภาคส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ความรุนแรงในครอบครวั
(5) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอืน่ ที่เก่ียวข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย
6. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน มีหนา้ ทแี่ ละอำนาจ ดงั ต่อไปน้ี
(1) ดำเนนิ การเก่ยี วกบั การตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชขี องกรม
(2) ปฏบิ ตั ิงานร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอืน่ ท่เี ก่ียวข้องหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย
7. กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร มีหน้าทแี่ ละอำนาจ ดังตอ่ ไปน้ี
(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่อธิบดีเก่ียวกบั ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในกรม
(2) ติดตาม ประเมนิ ผล และจัดทำรายงานเกย่ี วกับการพฒั นาระบบราชการภายในกรม
(3) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพฒั นาระบบราชการร่วมกบั หน่วยงานกลางต่าง ๆ
และหนว่ ยงานภายในกรม
(4) ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอืน่ ท่ีเก่ียวข้องหรอื ที่ได้รบั มอบหมาย

7

สว่ นท่ี 2 ข้อมูลศูนย์เรียนรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครวั ภาคใต้ จังหวดั สงขลา

ประวัติความเปน็ มา

“ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา” เดิมชื่อ “ศูนย์สงเคราะห์และ
ฝกึ อาชีพสตรีภาคใต้ จังหวัดสงขลา” เปน็ หน่วยงานทจี่ ดั ต้งั ขึ้นบนพืน้ ท่ีประมาณ 60 ไร่ (5,279.05 ตารางเมตร) เน่ืองจาก
กรมประชาสงเคราะห์ได้เลง็ เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาความรู้พืน้ ฐานในการประกอบอาชีพให้แก่เยาวสตรี
และสตรีที่ขาดโอกาสทางการศึกษา ได้มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถช่วยเหลือตนเอง
และครอบครัวให้ดำรงอยู่ได้อย่างมีความสุข อีกทั้งเป็นการป้องกันปัญหาการไปประกอบอาชีพในทางที่
ไม่เหมาะสม ถูกล่อลวง หรือตกเป็นเครื่องมือของผู้แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ และป้องกันการอพยพย้ายถิ่น
ที่จะส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมตามมาในอนาคต โดยเริ่มให้บริการเมื่อปี 2533 และเปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่
9 สิงหาคม 2534 มีพื้นที่รับผิดชอบ 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา กระบี่ ภูเก็ต

นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา
ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ซึ่งมีภารกิจ
ในการให้วิชาความรู้ ฝึกทักษะด้านอาชีพ
ให้ทุนสงเคราะห์ด้านการประกอบอาชีพ
และจัดหางานให้หลังเรียนจบ ทั้งน้ี
การดูแลผู้เข้าอบรมมีลักษณะคล้าย
โรงเรียนประจำที่มีที่พักอาศัยกินอยู่ฟรี
พร้อมของใช้ประจำตัว การรักษาพยาบาล
และทุนชว่ ยเหลือสงเคราะห์

ต่อมาเมื่อปี 2545 ได้มีการปฏิรูประบบราชการครั้งใหญ่ ศูนย์ฯ จึงได้ย้ายมาสังกัดกรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ และเพิ่มหลักสูตร แผนกปักจักร แผนกคอมพิวเตอร์ และแผนกนวด
แผนไทย เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนและเหมาะสมกับยุคสมัย ในปี 2555 เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ
ในภาคใต้ ทำให้โรงงานต้องปิดตัวลง ส่งผลต่อปัญหาการว่างงาน โดยเฉพาะกลุ่มเหยื่อหญิงหม้ายที่ต้องเลี้ยงดูลกู
ได้รับผลกระทบเปน็ อย่างมาก ประกอบกบั การเตรยี มความพร้อมรับมือกบั สังคมผ้สู ูงอายุ จึงไดม้ กี ารปรับหลกั สูตร
เปิดขยายฐานกลุ่มเป้าหมาย โดยให้กลุ่มบคุ คลทัว่ ไปได้มีโอกาสเข้าเรียนหลักสูตรฝึกอาชพี เพื่อนำไปใช้ในการทำมา
หาเลี้ยงตนเองและครอบครัวให้มีรายได้ดีขึ้น ต่อมา ปี 2556 ได้มีการปรับหลักสูตรอีกครั้ง เพื่อรองรับ
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการพัฒนาศักยภาพ แต่มีเวลาในการเรียนรู้น้อย ต้องการประกอบอาชีพให้ได้เร็วที่สุด
ศูนย์ฯ จึงได้เปิดเป็นหลักสูตรระยะสั้น 1 เดือนเพิ่มขึ้นมา เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถเลือกเรียนและนำไปประกอบ
อาชีพได้ตามความต้องการ นอกจากนี้ ในปี 2557 ได้มีการจัดตั้งมูลนิธิสงเคราะห์เด็ก สตรี และผู้ด้อยโอกาส
ภาคใต้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื สนับสนนุ ภารกิจของศนู ย์เรยี นรฯู้ ในการให้ความช่วยเหลอื กลมุ่ เสีย่ งเหล่านี้

8

เมือ่ วันที่ 6 มีนาคม 2558 ได้มกี ารปรับโครงสร้างและบทบาทภารกิจของกระทรวงฯ อีกคร้งั ตาม
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558 ศูนย์สงเคราะห์ฯ จึงได้เปลี่ยนเป็นช่ือ
“ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา” สังกัดกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 14 จังหวัดภาคใต้ พร้อมท้ัง
มีการปรับเปลี่ยนภารกิจหน้าที่ให้เหมาะสมสอดคล้องตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และความต้องการ
ของผู้รับบริการ ที่รับผิดชอบดูแลทั้งกลุ่มเยาวสตรี สตรี ผู้ด้อยโอกาสที่เป็นบุคคลทั่วไป รวมทั้งกลุ่มที่อยู่ภายใต้
ความคุ้มครองตามกฎหมาย เช่น กลุ่มส่งต่อทางสังคมจากหน่วยงานเครือข่ายทุกภาคส่วน กลุ่มผู้ถูกกระทำ
ความรนุ แรง กลุ่มคนไรท้ ี่พ่ึง เป็นตน้ จากน้ันไดม้ ีการพัฒนาบริการใหส้ อดคล้องกบั บริบทของประชากรในพื้นที่
เรื่อยมา โดยเฉพาะเรื่องการให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว การปรับปรุงหลักสูตรการฝกึ
ทักษะอาชีพ และการส่งเสริมศักยภาพเครือข่าย เป็นต้น นอกจากนี้ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวมีประกาศในปี
2561 ให้ศนู ยฯ์ ทำหนา้ ทเี่ ปน็ สถานท่ีควบคุมตวั สถานแรกรับ สถานคุม้ ครองและพฒั นาอาชีพ และศนู ย์ใหก้ ารชว่ ยเหลือสตรี
และครอบครวั ท่ปี ระสบปัญหาทางสังคม

และวันที่ 3 พฤศจิกายน 2564 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้ประกาศกำหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ของศูนยเ์ รียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครวั ภาคใต้ จงั หวัดสงขลา กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว และสถานคุ้มครอง
และพัฒนาอาชีพ ซึ่งศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด
ประกอบด้วย จังหวดั กระบ่ี จังหวดั ตรงั จังหวดั นครศรีธรรมราช จงั หวัดนราธวิ าส จงั หวดั ปัตตานี จงั หวดั พัทลงุ จังหวัดยะลา
จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล โดยให้ยกเลิกประกาศกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวเรื่อง ให้ศูนย์ฯ ทำหน้าที่เป็น
สถานที่ควบคุมตัว สถานแรกรับ สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ และศูนย์ให้การช่วยเหลือสตรีและครอบครัวที่ประสบ
ปัญหาทางสังคม และมอบหมายให้ศูนย์ฯ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ให้การช่วยเหลือสตรีและครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ฯ มีหน้าที่และอำนาจให้การช่วยเหลือสตรีและครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม
ตามระเบียบกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ว่าด้วยการช่วยเหลือสตรีหรือครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม
พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยมาตรการทางบริหารสำหรับการช่วยเหลือ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคมของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
และกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ หรือคำส่ังทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการช่วยเหลอื สตรีหรือครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม

9

วิสัยทัศน์

“เป็นทีพ่ ง่ึ ของสตรแี ละครอบครวั สูค่ วามเขม้ แข็ง ม่ันคง”

คำขวัญ

“ดูแลดัง่ ลกู ปลกู ฝงั คุณธรรม หนนุ นำอาชีพ”

ค่านิยม

“เสมอภาค ทวั่ ถงึ และเปน็ ธรรม ใฝร่ ู้ จติ มงุ่ บริการ ทำงานเป็นทีม”

พันธกิจ

1. พัฒนาศักยภาพสตรีและครอบครวั ใหส้ ามารถพึง่ พาตนเองได้
2. ปอ้ งกัน คุ้มครองพิทักษส์ ิทธแิ ละสวสั ดิภาพ และการจดั สวสั ดิการสังคมแก่สตรีและครอบครวั
3. การสง่ เสริม สนบั สนนุ องค์กรเครือข่าย และกลไกท่เี ก่ียวข้อง
4. พัฒนาระบบการบริหารจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ

หนา้ ท่ีและอำนาจ

1. จัดบริการสวัสดิการสังคม และดำเนินการให้ความช่วยเหลือ คุ้มครอง แก้ไข เยียวยา บำบัด ฟื้นฟู
พัฒนาอาชีพ การสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ผู้ประสบปญั หาทาง
สังคม และครอบครัว

2. พัฒนาวิชาการ ระบบและรูปแบบการให้บริการสวัสดิการ และกำหนดมาตรฐานการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชพี แกผ่ ปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม และครอบครัว

3. เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ การสร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพ การฝึกอาชีพ การพัฒนา
คุณภาพชีวิต การพัฒนาศัยภาพและสถานภาพสตรีและครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม หรือผู้ที่
ตอ้ งไดร้ บั การคมุ้ ครองสวัสดิภาพ

4. เปน็ ศูนยใ์ หก้ ารช่วยเหลอื สตรแี ละครอบครัวท่ปี ระสบปัญหาทางสังคมในเขตพ้ืนทรี่ ับผิดชอบ
5. จดั ทำมาตรฐานการดำเนนิ งาน การตดิ ตามประเมินผล และรายงานผลการปฏบิ ัติงาน
6. ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ งหรือทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

เปา้ ประสงค์

1. ฝึกอาชีพแก่เยาวสตรีและสตรีที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ขาดโอกาสทางการศึกษา ไม่มีงานทำให้มี
ความรแู้ ละทักษะในการประกอบอาชีพ

2. ค้มุ ครองสวัสดิภาพสตรีไม่ให้ถกู ล่อลวงไปประกอบอาชีพในทางท่เี สอ่ื มเสีย
3. พัฒนาสตรใี ห้มคี วามสามารถในการพึง่ พาตนเองอันเป็นการพัฒนาสงั คมอย่างยัง่ ยนื
4. เพม่ิ รายไดแ้ ละพัฒนาคณุ ภาพชีวิตให้แกป่ ระชาชนเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐในการพัฒนาประเทศ
5. สง่ เสรมิ ให้ครอบครัวมคี วามเข้มแข็ง

10

กลุ่มเป้าหมาย

▪ กลุ่มสตรี ประชาชนทั่วไป ครอบครัว และผู้ประสบปัญหาสังคม เช่น กลุ่มเสี่ยงที่อาจเข้าสู่การค้าประเวณี
ผู้ประสบปัญหาการค้าประเวณี ผู้ที่ถูกศาลสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ ผู้แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกำเนิด ผู้ได้รับ
ผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัว ผู้ว่างงาน/ถูกเลิกจ้าง/ไม่มี
อาชีพ/ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา ผ้ไู ม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรชายขอบ
และผู้ได้รับผลกระทบปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ (สำหรับกรณีงานด้านการพัฒนาศักยภาพสตรีและบุคคลใน
ครอบครวั เนน้ กลุ่มอายุ 15 ปขี ้ึนไป

▪ กลุ่มที่ได้รับการส่งต่อจากหน่วยงานในสังกัด พม. และ
หน่วยงานอื่น ๆ

โดยมพี ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบครอบคลุม 9 จังหวัด ได้แก่ กระบี่
นครศรีธรรมราช ตรัง พทั ลงุ สตลู สงขลา ปัตตานี ยะลา
และนราธิวาส

เครอื ข่ายท่สี ำคัญ เช่น

▪ หน่วยงานในสงั กัดกระทรวง พม. (ทีม One Home)
▪ เครือข่ายสตรีกลุ่มอาชีพ
▪ โรงเรียน สถานีตำรวจ โรงพยาบาล ตา่ ง ๆ
▪ สำนักงานคณะกรรมการอสิ ลามประจำจังหวดั สงขลา
▪ มสั ยิดต่าง ๆ เชน่ มัสยดิ บา้ นเหนอื
▪ สมาคมสตรีมสุ ลิมจงั หวัดสงขลา
▪ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
▪ คณะเภสัชศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
▪ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ผู้นำทอ้ งถน่ิ
▪ ศนู ย์พฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) เช่น ศพค.เขาพระ ศพค.ท่าชะมวง ศพค.ควนรู ศพค.บางเหรียง

ศพค.นาทวี ศพค.ย่านซือ่

▪ อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)

▪ NGOs เช่น มูลนธิ เิ พอ่ื นหญิงภาคใต้ จังหวัดสงขลา (ศูนยป์ ระสานการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ และเดก็ )
▪ สำนักงานเหลา่ กาชาดจังหวดั สงขลา
▪ หน่วยงานภาคเอกชน เช่น สถานประกอบการตา่ ง ๆ
▪ สภาเด็กและเยาวชน
▪ ศูนย์สาธติ ฝึกอาชีพเศรษฐกจิ พอเพียง
▪ การเคหะชุมชนนครศรธี รรมราช

11

▪ คลินิกนมแมโ่ รงพยาบาลหาดใหญ่
▪ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลคูเตา่ จ.สงขลา
▪ คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ จ.สงขลา
▪ สำนักงานอยั การจังหวดั สงขลา
▪ มลู นิธเิ พื่อนหญิง
▪ เครือขา่ ยวทิ ยากรในพน้ื ที่

กฎหมาย กฎ ระเบียบทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

▪ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม
(มาตราทเ่ี ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ มาตรา 4, 5, 26, 28, 30, 34, 53 และ 80)

▪ พระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี พ.ศ. 2539
▪ พระราชบัญญตั ปิ ้องกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม
▪ พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองผู้ถกู กระทำด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550
▪ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาและคุ้มครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 และพระราชกำหนด

แกไ้ ขพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาและคมุ้ ครองสถาบันครอบครวั พ.ศ. 2562
▪ พระราชบญั ญัตคิ วามเท่าเทียมระหวา่ งเพศ พ.ศ. 2558
▪ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการจดั สวัสดิการสงั คม พ.ศ. 2546 (มาตรา 5)
▪ พระราชบญั ญัติคุม้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
▪ พระราชบัญญตั ิคุ้มครองเด็กทเ่ี กดิ โดยอาศัยเทคโนโลยีชว่ ยเจริญพันธ์ทุ างการแพทย์ พ.ศ. 2558
▪ พระราชบญั ญตั ิแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27)
▪ พระราชบญั ญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครัวและวธิ ีพิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. 2553
▪ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination

of Discrimination against Women – CEDAW)
▪ เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals – SDGs)
▪ ระเบียบกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ว่าด้วยการช่วยเหลือสตรีหรือครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม

พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยมาตรการทางบริหารสำหรับ
การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2561 และ
ทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม
▪ ระเบียบกรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว วา่ ดว้ ยเงินอดุ หนุน พ.ศ. 2563 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ
▪ ประกาศกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 เรื่อง ศูนย์เรียนรู้การพัฒนา
สตรีและครอบครวั มีภารกิจทำหนา้ ที่สถานที่ควบคุมตวั สถานแรกรับ สถานคมุ้ ครองและพฒั นาอาชีพ
และศนู ยใ์ ห้การช่วยเหลอื สตรีและครอบครัวท่ปี ระสบปัญหาทางสงั คม และประกาศกรมกจิ การสตรีและ
สถาบันครอบครัว ลงวนั ท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2564 เร่ือง ให้ศนู ย์เรยี นรูก้ ารพฒั นาสตรแี ละครอบครัวทำหน้าที่
ศนู ยใ์ หก้ ารชว่ ยเหลอื สตรีและครอบครวั ท่ีประสบปญั หาทางสังคม พ.ศ. 2564

12

ภารกจิ สำคัญในปัจจุบนั ของศูนย์ฯ

1. ด้านการพัฒนาศักยภาพสตรแี ละบุคคลในครอบครัว
เป็นการเน้นพัฒนาศักยภาพบุคคลกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการฝึกอบรมด้านอาชีพ เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพ

มรี ายไดส้ ามารถพึง่ พาตนเอง และช่วยเหลอื ครอบครวั ได้ โดยมีเป้าหมายในการฝึกอาชีพ คือ
1) ดำเนนิ การฝกึ อาชพี ให้แก่สตรแี ละบุคคลทวั่ ไปทุกเพศ อายุ 15 ปขี นึ้ ไป ใน 14 จังหวัดภาคใต้ ปลี ะ

500 คน มที ัง้ พกั ประจำในศนู ยฯ์ และไป-กลับ
รนุ่ ท่ี 1 ดำเนนิ การฝึกอาชพี ระหวา่ งเดือนตลุ าคม - มีนาคม
รนุ่ ท่ี 2 ดำเนนิ การฝึกอาชีพ ระหว่างเดือนเมษายน – กันยายน

2) ดำเนินการฝึกอาชีพให้กลุ่มที่สนใจ ได้แก่ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรีในชุมชน และนักเรียน
ดำเนนิ การฝกึ ท้งั ภายในและภายนอกศูนยฯ์

สำหรับการให้บริการของศูนย์ฯ ได้พัฒนาหลักสูตรให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ โดยปัจจุบัน ศูนย์ฯ
ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ คือ เพิ่มหลักสูตรอบรมระยะสั้นให้ผู้เรียนได้เลือกตาม
ความต้องการ ปจั จบุ นั จึงมหี ลักสูตร 3-10 วัน 1 เดือน 3 เดอื น 6 เดือน และหลกั สูตรอน่ื ๆ ตามความตอ้ งการ
ของกล่มุ เป้าหมาย พรอ้ มท้งั ได้มีการจัดบริการสวัสดิการสงั คมแก่เดก็ สตรี และครอบครวั ทีป่ ระสบปัญหาทั้งใน
สถาบันและในชุมชน

รวมถึงการให้บรกิ ารทั้งเชิงรุกท่ีเปิดกลุ่มฝกึ อาชีพในชมุ ชน ซึ่งไม่มีโอกาสไดเ้ ขา้ มาเรียนที่ศูนยฯ์ และ
การเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งทางธุรกิจ เพื่อยกระดับคุณภาพสินคา้ ให้ได้รับการยอมรับ และสามารถเข้าสู่ตลาด
ได้อย่างรวดเร็ว และเชิงรับท่ีเปดิ สอนอบรมในศนู ย์เรียนรู้ฯ ทง้ั นี้ เพ่อื ใหเ้ ยาวสตรี สตรี รวมท้ังบุคคลทั่วไปอายุ
15 ปขี นึ้ ไป ทมี่ ศี กั ยภาพในการประกอบอาชพี ขาดโอกาสทางการศกึ ษาและมฐี านะยากจน ตอ้ งการมีอาชีพ ได้มี
ความรู้ ทักษะ เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพช่วยเหลือตนเองและครอบครัวให้ดำรงอยู่ได้อย่างมีความสุข โดย
ปัจจุบันมีหลักสตู รทีเ่ ปิดให้บริการฝึกอาชพี เช่น

1. ตัดเยบ็ เสอื้ ผ้าพ้ืนฐาน
2. ตดั เย็บเส้ือผา้ ยกระดับ
3. ปกั จักร
4. อาหารและโภชนาการ
5. คอมพิวเตอร์
6. เสริมสวยสตรี
7. เสริมสวยและตดั ผมชาย
8. ตกแต่งและซอ่ มแซมเสอื้ ผา้
9. แผนไทยเพื่อสุขภาพ (โดยในปี 2563 ศูนย์ฯ ได้ผ่านการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข
ใน 2 หลกั สตู ร ได้แก่ หลักสตู รนวดไทยเพ่ือสขุ ภาพ 150 ช่ัวโมง และหลักสูตรนวดฝ่าเท้าเพ่ือสุขภาพ 60 ช่ัวโมง)
10. การทำเบเกอร่ี
11. การทำขนมไทย
12. การทำอาหารว่างและอาหารจานเดียว

13

13. ตัดผมชาย
14. แต่งหนา้ เกล้าผม
15. การเชอื่ มเหล็กพื้นฐาน
16. การทำอาหารคลีนเพื่อสุขภาพ
นอกจากนี้ ศนู ยฯ์ ไดร้ ่วมทำงานในการแก้ไขปัญหาความมัน่ คง ซง่ึ เป็นหนึง่ ในยุทธศาสตร์ท่ีถูกบรรจุ
อยู่ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่มีกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
กลุ่มที่เป็นนโยบายเร่งด่วน และกลุ่มที่ประสบภัยพิบัติ ให้ได้รับการช่วยเหลือและเข้าสู่กระบวนการอาชีวบำบัด
และพฒั นาฝกึ อาชีพ

2. ดา้ นการเสริมสรา้ งครอบครัวเขม้ แขง็
มกี ารดำเนินการท่สี ำคญั ในการสร้างครอบครัวอบอนุ่ เชน่
- การสนบั สนุนการดำเนนิ งานของศนู ย์พฒั นาครอบครัวในชุมชนในพืน้ ทท่ี ่รี บั ผิดชอบ
- การขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนครอบครัว ประกอบด้วย หลักสูตรการเตรียมความพร้อมก่อนสมรส
หลักสูตรพ่อแม่มือใหม่ หลักสตู รการสรา้ งสัมพันธภาพในครอบครัวหลักสูตรการดูแลผูส้ ูงอายุในครอบครวั
- การส่งเสรมิ สมั พันธภาพของครอบครวั (คา่ ยครอบครวั )
- การส่งเสริมต้นกล้าครอบครัว เพอื่ ปอ้ งกนั และช่วยเหลือกลมุ่ เส่ียงในการคา้ ประเวณี
- การปอ้ งกันและดูแลกลุ่มคุณแม่วยั ใส การสรา้ งเครอื ข่ายแกนนำเยาวชน เพ่ือปอ้ งกันปญั หาท้องไม่พร้อม
และการป้องกันการถูกล่อลวง
- การชว่ ยเหลอื ค้มุ ครองผถู้ กู กระทำความรุนแรงในครอบครวั
- การเป็นศนู ย์ใหค้ ำปรกึ ษาช่วยเหลอื ทางสังคมพหุวัฒนธรรม (คลินิกครอบครัว)
- การสนบั สนุนเงินสงเคราะหค์ รอบครัวผมู้ รี ายได้น้อย ผ้ไู รท้ พี่ งึ่ และผ้ไู ดร้ บั ผลกระทบจากภัยพิบัติ
ส่งเสริมศกั ยภาพและประสานการทำงานร่วมกันกับภาคีเครอื ขา่ ยดา้ นสตรีและครอบครวั

3. ดา้ นการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ

มีการให้ความรู้สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหญิงชายและผู้มีสถานะแตกต่างจากเพศสภาพเดิม รวมทั้ง
การให้บริการด้านคำปรึกษา รวมถึงการพิจารณาผลเบื้องต้นในกรณีมีผู้รับบริการใน 14 จังหวัดภาคใต้มายื่น
ขอรบั เงินกองทุนสง่ เสริมความเท่าเทยี มระหว่างเพศ และสง่ เสนอแก่กลุ่มบรหิ ารกองทุนส่งเสริมความเท่าเทียม
ระหวา่ งเพศ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ต่อไป

ภารกจิ อนื่ ๆ/ โครงการ/กิจกรรมพิเศษของศูนยฯ์

การดำเนินการของศูนย์ฯ มุ่งเน้นการขับเคลื่อนงานโดยการบูรณาการการทำงานทุกภาคส่วน และให้
ความสำคัญกับการขยายกลุ่มเป้าหมายเพื่อการพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวให้มี
ภูมคิ ุ้มกัน ซง่ึ มโี ครงการ/กิจกรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดแ้ ก่

- โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพคณุ ภาพการดำเนนิ งานด้านสตรแี ละครอบครัว (Learning Center)
- โครงการขับเคลอื่ นการจัดสวัสดิการแม่เลยี้ งเด่ียวและครอบครวั

14

- กิจกรรมอบรมเพื่อพัฒนาเครือข่ายและขยายผลดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้าประเวณี
ผ่านกลไกชมรมคบเด็กสร้างบา้ น (อบอนุ่ ) ในโรงเรียน/พ้นื ท่ี

- คลินิกให้คำปรกึ ษาสำหรบั หญิงไทยในสงั คมพหุวัฒนธรรม
- การลงพื้นที่เยี่ยมบ้านประเมินพิจารณาการช่วยเหลือสตรีหรือครอบครัวที่ประสบปัญหาทางสังคม เพื่อให้

คณะกรรมการกำกับดูแลการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม (One Home) พิจารณาอนุมัตใิ ห้ความชว่ ยเหลือ
- โครงการพฒั นาแปลงเกษตรเพือ่ เปน็ แหลง่ เรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
- การรณรงคส์ ร้างเครอื ข่ายการทำงาน
- การจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (กศน.) ใหแ้ ก่ผรู้ ับบรกิ ารและสมาชิกในครอบครวั

15

16

17

18

ส่วนท่ี 2 สถานการณ์ทางสงั คม

สถานการณ์ประชากรไทย

• จำนวนประชากรไทย
ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรอ่ื ง จำนวนราษฎรท่วั ราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ

วันที่ 31 ธ .ค.2563 พบว่า จำนวนราษฎรทั้งประเทศที่มีทั้งสัญชาติไทยและไม่ได้สัญชาติไทย รวมทั้งสิ้น
66,186,727 คน จำแนกเป็น เพศชาย จำนวน 32,375,532 คน เพศหญิง จำนวน 33,811,195 คน ส่วนทไ่ี มไ่ ด้
สัญชาติไทยจำนวน 756,907 คน เป็นผู้ชาย 396,368 คน ผู้หญิง 360,539 คน โดยพื้นที่ที่มีจำนวนราษฎรมาก
ท่สี ุดคือ กรุงเทพมหานคร จำนวน 5,588,222 (ทีม่ า : สำนักงานทะเบียน กรมการปกครอง)

ในปี 2563 เมอ่ื เปรยี บเทียบรายจังหวดั ในภาคใตม้ สี ถติ ิการจดทะเบียนสมรสสงู 3 อันดับแรก ได้แก่
สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ตามลำดับ และสถิติการจดทะเบยี นหย่าสูง 3 อันดับแรก ได้แก่ สงขลา
นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ตามลำดับ รายละเอยี ดตามตารางด้านลา่ ง
จำนวนประชากรจากการทะเบยี น ชายหญงิ และบ้าน ปี พ.ศ.2563 สถิติการจดทะเบยี นสมรส และสถติ กิ ารจด
ทะเบยี นหยา่ ปี 2562 -2563

ท่ีมา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

18

จำนวนการเกิดจากทะเบียน จำแนกตามเพศ ภาค และจงั หวดั พ.ศ.2559 – 2563

จำนวนการตาย จากการทะเบยี น จำแนกตามเพศ ภาค และจังหวดั พ.ศ. 2559 - 2563

ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

19

ทั้งนี้ เมื่อจำแนกจำนวนและสัดส่วนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ (วัยเด็ก
วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) เพศ ภาค และจังหวัด ในปี 2563 ตามข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ในภาคใต้ อยู่ในวัยแรงงาน จำนวนประชากรในจังหวัดที่มีมากที่สุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ นครศรธี รรมราช สงขลา และสรุ าษฎร์ธานี รายละเอียดตามกลุม่ อายุ ดังแผนภูมภาพด้านล่าง

จาํ นวนปราะชากรทั่วราชอาณาจักร ปี 2563 จาํ นวนประชากรภาคใต้ ปี 2563

หญิง ชาย รวม หญิง ชาย รวม

ระบไุ ม่ได้ 40000000 80000000 ระบไุ ม่ได้ 5,000,000 10,000,000
ผสู้ งู อายุ (60 ปีขนึ้ ไป) ผสู้ งู อายุ (60 ปีขนึ้ ไป)

แรงงาน (15-59 ปี) แรงงาน (15-59 ปี)
เดก็ (0-14 ปี) เดก็ (0-14 ปี)
รวม รวม

0 0

จํานวนประชากร ชาย หญงิ แยกรายจงั หวดั ภาคใต้ ปี 2563

นราธิวาส 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000
ยะลา รวม ชาย หญิง

ปัตตานี
พทั ลงุ

ตรงั
สตลู
สงขลา
ชมุ พร
ระนอง
สรุ าษฎรธ์ านี
ภเู กต็
พงั งา
กระบ่ี
นครศรีธรรมราช

-

20

จานวนประชากรวยั เดก็ (อายุ 0-14 ป)ี ชาย หญงิ จานวนประชากรวัยทางาน (อายุ 15-59 ป)ี ชาย หญิง
แยกรายจงั หวัด ภาคใต้ ปี 2563 แยกรายจังหวดั ภาคใต้ ปี 2563

นราธิวาส 200,000 400,000 600,000 นราธิวาส 1,000,000 2,000,000
ยะลา รวม ชาย หญิง ยะลา

ปัตตานี ปัตตานี
พทั ลงุ พทั ลงุ

ตรงั ตรงั
สตลู สตลู
สงขลา สงขลา
ชมุ พร ชมุ พร
ระนอง ระนอง
สรุ าษฎรธ์ านี สรุ าษฎรธ์ านี
ภเู ก็ต ภเู กต็
พงั งา พงั งา
กระบ่ี กระบ่ี
นครศรธี รรมราช นครศรีธรรมราช

0 0

รวม ชาย หญิง

จานวนประชากรวยั สูงอายุ (อายุ 60 ปขี นึ้ ไป) จานวนประชากรแยกอายไุ มไ่ ด้
ชาย หญงิ แยกรายจังหวดั ภาคใต้ ปี 2563 ชาย หญิง แยกรายจงั หวัด ภาคใต้ ปี 2563

นราธิวาส 200,000 400,000 600,000 นราธิวาส 8
ยะลา รวม ชาย หญิง ยะลา

ปัตตานี ปัตตานี
พทั ลงุ พทั ลงุ

ตรงั ตรงั
สตลู สตลู
สงขลา สงขลา
ชมุ พร ชมุ พร
ระนอง ระนอง
สรุ าษฎรธ์ านี สรุ าษฎรธ์ านี
ภเู ก็ต ภเู กต็
พงั งา พงั งา
กระบ่ี กระบ่ี
นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช

0 0246

Series 1 Series 2 Series 3

21

สถานการณ์สงั คมภาพรวม
จากข้อมลู ภาวะสังคมไทยไตรมาส 2 ปี 2564 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

ไดร้ ายงานข้อมลู ทางสงั คม โดยสรุปไดด้ ังน้ี

ความเคลอ่ื นไหวทางสงั คม
1. การมีงานทำ การวา่ งงาน และรายได้

22

1. แรงงาน
สถานการณ์แรงงานไตรมาสสอง ปี 2564 ตลาดแรงงานปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ซึ่งเป็นช่วงของการล็อคดาวน์ประเทศเพื่อลดการแพร่ระบาดของ COVID-19 อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การระบาดของ
COVID-19 ที่รุนแรง และมาตรการควบคุมการระบาดของรัฐส่งผลให้ตลาดแรงงานได้รับผลกระทบที่รุนแรงขึ้น ทั้งนี้
ในไตรมาสสอง ปี 2564 การจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการจ้างงาน ภาคเกษตรกรรม
เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 2.4 จากการเคลื่อนย้ายเขา้ ไปทางานของแรงงานที่วา่ งงานและถูกเลกิ จ้าง ประกอบกับราคาสนิ ค้าเกษตร
ที่จงู ใจ โดยในไตรมาส 2 ปี 2564 ดชั นีราคาที่เกษตรกรขายได้เพ่ิมขึ้นร้อยละ 12.8 และดชั นรี ายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ
15.2 สำหรับนอกภาคเกษตรกรรมการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 โดยสาขาที่มีการจ้างงานเพิ่มขึ้นมาก ได้แก่ สาขา
ก่อสร้าง สาขาโรงแรม/ภัตตาคาร สาขาการขนส่ง/เก็บสินค้า มีการขยายตัวร้อยละ 5.1 5.4 และ 7.1 ตามลำดับ ส่วน
สาขาการผลิต และการขายส่ง/ขายปลกี การจ้างงาน หดตวั ร้อยละ 2.2 และ 1.4 ซ่งึ การจ้างงานท่ีหดตวั ในสาขาการผลิต
เป็นการหดตัวในสาขาที่ใช้แรงงานเข้มข้น เป็นหลัก ขณะที่สาขาที่ผลิตเพื่อการส่งออกมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
อาทิ สาขาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ยานยนต์ และผลติ ภณั ฑ์ยาง

23

การว่างงานยังอยู่ในระดับสูงจากผลกระทบของ COVID-19 โดยอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 1.89 ลดลง
เล็กน้อยจากร้อยละ 1.96 ในไตรมาสก่อน คิดเป็นผู้ว่างงาน 7.3 แสนคน แบ่งเป็นผู้ไม่เคยทำงานมาก่อน (ผู้จบการศึกษาใหม่)
2.9 แสนคน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.04 และผู้วา่ งงานทีเ่ คยทำงานมากอ่ นมจี ำนวน 4.4 แสนคน ลดลงร้อยละ 8.38

ประเดน็ แรงงานทีต่ ้องติดตามในปี 2564
1) ผลกระทบต่อแรงงานจากการระบาดที่มีความรุนแรงมากขึ้น และมาตรการควบคุมการระบาดที่ส่งผล

ตอ่ ความสามารถในการหารายได้ของแรงงาน
2) การออกมาตรการช่วยเหลือเพ่ิมเติมจากภาครัฐเพื่อประคับประคองใหผ้ ูป้ ระกอบการสามารถรักษาการ

จา้ งงาน และการประกอบกิจการ
3) การปรับตัวของแรงงานที่ได้รับผลกระทบทั้งในกลุ่มที่เคยทำงานแต่กำลังว่างงาน และผู้จบการศึกษา

ใหม่ สถานการณ์ว่างงานปัจจุบันพบว่าแรงงานมีแนวโน้มว่างงานยาวนานขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้จบการศึกษาใหม่
ขณะเดียวกันแรงงานมีแนวโน้มเคลื่อนย้ายกลับสู่ภูมิลำเนาเดิมทำให้ผู้ว่างงานในต่างจังหวัดเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจมี
มาตการฝึกอบรมในระดับพื้นที่ที่แรงงานสามารถเข้าถึงได้สะดวกเพื่อเพิ่มโอกาสในการหารายได้ในช่วงรอการ
ฟ้ืนตวั และกลบั มาทำงานได้ตามปกติ
2. หนสี้ นิ ครวั เรอื น

หนี้สินครัวเรือนในไตรมาสหนึ่ง ปี 2564 เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
โดยมมี ลู คา่ 14.13 ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 4.6 เทยี บกบั ร้อยละ
4.1 ในไตรมาสกอ่ น หรอื คดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 90.5 ต่อผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศ (GDP) ซงึ่ การขยายตวั ของหนีส้ ินครัวเรอื นส่วนหน่ึง
เป็นผลมาจากมาตรการเลื่อนและพักชำระหนี้ที่ทำให้ยอดหนี้คงค้าง

24

ไม่ลดลง รวมทั้งครัวเรือนที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 มีการก่อหนี้เพิ่มขึ้น หนี้สินเพื่อการอุปโภค
บริโภคส่วนบุคคลของครัวเรือนเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะหนี้บัตรเครดิต อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันสถาบันการเงินได้ดำเนิน
มาตรการช่วยเหลือครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ลดภาระทางการเงิน และ
ชะลอการเสื่อมถอยคุณภาพของสินเช่ือ ซ่ึงจะมีส่วนช่วยป้องกันการเป็น NPLs การตดิ เครดิตบโู ร รวมทั้งการฟ้องร้องคดีในศาล

ประเดน็ ทตี่ ้องติดตามในระยะถดั ไป
1. ผลของมาตการช่วยเหลือลูกหนี้เดิมและการออกมาตการเพิ่มเติม โดยต้องอาศัยความร่วมมือจากสถาบัน

การเงินทุกแห่งเพื่อประคับประคองสถานะทางการเงินของครัวเรือนโดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากการระบาด
ระลอกใหม่ และจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดไมใ่ ห้เปน็ หนีเ้ สีย ชะลอการฟอ้ งร้องคดี และการยึดทรัพย์ รวมถงึ
ต้องระวังไม่ให้เกิดพฤติกรรมทีท่ ำให้ลกู หนด้ี ีไม่ชำระหน้ตี ามปกติ (moral hazard)

2. รายได้ ความสามารถในการชำระหนี้และการก่อหนี้นอกระบบของครวั เรือน ควรมีมาตรการรกั ษาการจ้าง
งานควบคู่ไปกับการปรับโครงสร้างหนี้ โดยอาจใช้กลไกสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐในการปรับโครงสร้างหนี้เพื่อ
ช่วยเหลอื กลุ่มเปราะบาง

3. การเฝ้าระวังกลุ่มมิจฉาชีพที่ให้สินเชื่อผ่าน online platform ล่าสุดก็ได้มีการประกาศกำหนดอัตรา
คา่ ธรรมเนียมในการทวงถามหนฉี้ บับใหม่ เพ่ือช่วยเหลือลกู หนใี้ ห้ไดร้ ับความเป็นธรรมยงิ่ ข้ึน
3. สุขภาพและการเจบ็ ปว่ ย

ไตรมาสสอง ปี 2564 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเฝ้าระวังโดยรวมลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา
จาก 54,948 ราย เหลือ 37,128 ราย หรือลดลงร้อยละ 32.4 เป็นการลดลงในเกือบทุกโรค ยกเวน้ โรคมอื เท้า ปาก

25

สำหรับการแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่มีแนวโน้มผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิต
ของประชาชนมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มที่มี ปัญหา
สุขภาพจิตเดิม กลุ่มผู้ตกงาน/รายได้น้อย/ธุรกิจ
ประสบปัญหา ครอบครัวที่มีผู้พึ่งพิง กลุ่มที่กักตัว
อยู่ที่บ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งเสี่ยง
ภาวะเครียดสงู เสย่ี งซึมเศร้า และเสี่ยงฆา่ ตวั ตาย และ
พบมากในพื้นที่เกิดการระบาดมากหรือถูกล็อกดาวน์
อย่างเขม็ งวด

4. การบริโภคเครื่องดมื่ แอลกอฮอลแ์ ละบหุ ร่ี

แม้ว่าพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่จะมีแนวโน้มลดลง แต่ยังต้องเฝ้าระวัง
1) ความรุนแรงในครอบครัวจากการดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งขาดการยั้งคิดและมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น การ
ใช้คำพูดกล่าวหา ด่าทอ นำไปสู่การทะเลาะกันรุนแรง หรือทาร้ายร่างกายบุคคลในครอบครัว จากข้อมูลสถิติ
จำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ พบว่า ความรุนแรงในครอบครวั มแี นวโน้มเพ่ิมข้ึน ซ่ึงร้อยละ 43 มสี าเหตุมาจากการ
เมาสุรา/ยาเสพติด และเมื่อพิจารณาตามประเภทความรุนแรงพบว่ากว่าร้อยละ 55 เป็นความรุนแรงทาง
ร่างกายและประมาณร้อยละ 34 เป็นความรุนแรงทางจิตใจ สอดคล้องกับสถานการณ์ความเข้มแข็งของ
ครอบครัว ปี 2563 ที่พบว่าความเข้มแขง็ ของครอบครัวในด้านสัมพันธภาพ โดยเฉพาะเรือ่ งการแสดงความรกั และเอา
ใจใส่ระหว่างกัน และเรื่องการสื่อสารระหว่างกันอย่างมีคุณภาพมีค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งของครอบครัวที่ต่ำกว่า
เกณฑ์ที่กำหนด ขณะที่ ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2564 เกิดเหตุความรุนแรงในครอบครัวทั้งสิ้น 866 เหตุการณ์
โดยกว่าร้อยละ 45 มีสาเหตุมาจากการเมาสุรา/ยาเสพติด เมื่อพิจารณาตามประเภทความรุนแรงพบกว่าร้อยละ
52 เปน็ ความรนุ แรงทางร่างกาย และประมาณร้อยละ 37 เปน็ ความรุนแรงทางจติ ใจ ทัง้ นี้ กว่ารอ้ ยละ 70 ของ
เหตุการณ์ความรุนแรงเกิดที่บ้านตนเอง 2) ปริมาณการสูบบุหรี่ต่อวันในกลุ่มแรงงานยังสูง จากรายได้ท่ี
ลดลงและคำใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น แต่ปริมาณการสูบบุหรี่ต่อวันยังอยู่ในระดับสูงที่ 6 -10 มวน ซึ่งนอกจากจะเป็น
สาเหตุให้เสยี ชีวติ แล้ว การสบู บุหรใ่ี นช่วงโควิดระบาดยังทำให้เกิดความเส่ียงท้งั ตดิ เชอื้ และแพร่กระจายเช้ือโรค
มากขึ้น รวมทั้งยังทำให้ประสิทธิภาพของวัคซีนได้ผลน้อยลงจากประเด็นดังกล่าวข้างต้น ทุกภาคส่วน

26

ที่เกี่ยวข้องควรจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตระหนักถึงโทษและผลกระทบ
จากการดืม่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์และการสูบบหุ รีท่ งั้ ต่อตนเองและคนรอบข้าง
5. ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ

ไตรมาสสองปี 2564 คดีอาญารวมมีการรับ
แจ้ง 106,476 คดี เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปี
2563 ร้อยละ 11.5 เป็นการรับแจ้งคดียาเสพติด
92,354 คดี เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.3 และคดีประทุษร้าย
ต่อทรัพย์ รับแจ้ง 10,848 คดี เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5
ขณะที่คดีชีวิตร่างกายและเพศรับแจ้ง 3,274 คดี
ลดลงร้อยละ 8.9 และมีประเด็นที่ต้องให้ความสาคัญ
ดังนี้ 1) การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
เนื่องจากมีการผลิตและส่งออกยาเสพติดแบบ
สังเคราะห์ประเภท ‘ยาบ้า’ ออกสู่ตลาดมากขึ้น อีกทั้งมีช่องทางการส่งออกที่สะดวกหลายช่องทาง
2) การเฝ้าระวังการเล่นการพนัน โดยในช่วงการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป “ยูโร 2020” กลุ่ม
นายทุนและเครือข่ายการพนันได้เข้ามาชักจูงให้เล่นพนันทายผล การแข่งขันฟุตบอล ซึ่งมีเด็กและเยาวชนเข้า
มาเล่นพนันเป็นจำนวนมาก ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ
ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจได้ทำการศึกษาในปี 2560 พบว่าคนไทยกว่า 30 ล้านคนติดการพนัน
ออนไลน์และออฟไลน์ โดยมี 700,000 คน เป็นนักพนันหน้าใหม่ 3) สถานการณ์การค้ามนุษย์ของประเทศไทย

จากรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ประจำปี ค.ศ. 2021 ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ลด
ระดับประเทศไทยให้อยู่ระดับ Tier 2 Watch List ประเทศที่ต้องถูกจับตามอง ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านใน
อาเซียน อาทิ บรูไน กัมพูชา และเวียดนาม ด้วยเหตุผลที่รัฐบาลไม่ได้แสดงความพยายามที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมารัฐบาลไทยและทุกภาคส่วนได้ให้ความสำคัญกับการต่อต้านการค้ามนุษย์อย่างจริงจัง
เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อยกระดับมาตรฐานการคุ้มครองดูแลและป้องกันไม่ให้ชาวไทย ชาวต่างชาติ รวมถึง
แรงงานต่างด้าวในไทยตกเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ เพื่อปกป้องคุ้มครองศักดิ์ศรี ความเป็นมนุ ษย์ตาม
หลักสิทธิมนุษยชนและหลักมนุษยธรรม ร่วมมือกับหุ้นส่วนต่าง ๆ ทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อขจัดการค้า
มนุษย์และการบังคับใช้แรงงานในทุกรูปแบบให้หมดสิ้นไป ประเทศไทยได้มีผลการดำเนินการที่สำคัญใน 3
ดา้ น ดงั นี้

27

6. ความปลอดภัยในการสญั จรทางถนน
การเกิดอบุ ัตเิ หตจุ ราจรทางบกเพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 21.5 แต่จำนวนผู้เสยี ชวี ิตลดลงร้อยละ 1.3 อย่างไร

ก็ตาม ยงั ตอ้ งให้ความสำคัญกับการลดอุบตั ิเหตุในกลมุ่ คนเดินเท้าและคนข้ามถนนท่ีมีโอกาสได้รับอันตรายจาก
การสัญจรทางถนน (ส่วนใหญ่เพราะถูกรถจักรยานยนต์ชน โดยเด็ก 0-9 ปี บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุด
รองลงมาคือ กลุ่มผู้ใหญ่วัย 45-59 ปี) โดยให้ความสำคัญกับมาตรการจัดการความเร็ว การออกแบบและ
ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพ้นื ฐานใหเ้ อ้อื ต่อคนเดินเท้า รวมทงั้ การปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจรอยา่ งเครง่ ครัด

7. การคุ้มครองผูบ้ ริโภค
การร้องเรียนผ่านสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ในไตรมาสสอง ปี 2564 ลดลง

ร้อยละ 20.11 (ด้านที่ได้รับการร้องเรียน มากที่สุดคือ ด้านโฆษณา รองลงมาเป็นด้านสัญญา ด้านขายตรงและ
ตลาดแบบตรง และดา้ นฉลาก) ทั้งนี้ สินคา้ และบริการท่ีได้รบั การร้องเรียนมากทส่ี ุดคือ สนิ ค้าและบริการท่ัวไป
843 ราย รองลงมาเป็นอาคารชุด/ คอนโดมิเนียม 415 ราย ผู้ประกอบการทั่วไป 159 ราย บ้านจัดสรร 129
ราย คลนิ ิก/สถาบันเสรมิ ความงาม 129 ราย อุปกรณไ์ ฟฟ้า 127 ราย สินค้าบรโิ ภค 125 ราย รถยนต์ 121 ราย
และเครอื่ งมือสอื่ สาร 109 ราย เป็นต้น

ประเดน็ ทางสงั คมท่ีสำคัญไตรมาสทส่ี อง ปี 2564
1. การพฒั นาคนเพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน IMD ปี 2564 ของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 28 จาก 64

เขตเศรษฐกิจ ดีขึ้น 1 อันดับจากปี 2563 พบว่าปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน เป็นปัจจัยฉุดรั้งการยกระดับ
ความสามารถในการแขง่ ขันของไทย โดยเฉพาะด้านการศึกษาและดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐานด้านเทคโนโลยีทต่ี ้องพัฒนา
สภาพปัญหาของกลไกสนับสนุนด้านการศกึ ษา โครงสรา้ งพ้นื ฐานด้านเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสนับสนนุ การพฒั นา
ทักษะโลกยุคใหม่แต่ยังมีครัวเรือนไทยที่ยังเข้าไม่ถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นอกจากนี้ผลการจัด
อันดับ IMD ด้านทักษะทางดิจิทัลและเทคโนโลยีของไทยที่อยู่ในอันดับที่ 42 สอดคล้องกับงานวิจัย ที่พบว่า

28

“ครัวเรือนไทยร้อยละ 18 มีทักษะความรู้ด้านดิจิทัลต่ำ (Digital Iliterate) ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่ใช้แรงงาน
เป็นหลัก เพราะฉนั้นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันควรพัฒนาคุณภาพคน โดยการพัฒนาด้าน
การศกึ ษาควบค่กู ับยกระดับคุณภาพของแรงงาน ภาครฐั ตอ้ งใหค้ วามสำคัญกับการเอ้ือประโยชนต์ ่อการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ ทั้งการสร้างกลไกให้เกิดการเรียนรู้ การสร้างสภาพแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้
คนทุกกลุ่มสามารถพัฒนาทักษะของตนได้ง่ายขึ้น การมีข้อมูลและกำหนดทิศทางการพัฒนาที่เหมาะสม
สอดคลอ้ งกับความถนัดและความตอ้ งการของประเทศในอนาคต

2. Education Technology: เครือ่ งมอื สำคัญในการเปิดกวา้ งทางการศึกษา
เทคโนโลยีการศกึ ษา (Education Technology:EdTech) เป็นแนวโนม้ ของยคุ ปจั จบุ ันท่นี ำเทคโนโลยี

มาพัฒนาด้านการศึกษาท่ีช่วยเพิม่ คุณภาพของเนื้อหาและการเรียนการสอน สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ที่ทำให้เห็น
ผลลัพธ์ของผู้เรียนจากรการเรียนการสอนที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และการใช้เพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้าน
การศึกษา รวมถึงการช่วยเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาไม่สามารถไปเรียนในโรงเรียน
ตามปกติได้ในช่วงโควดิ -19 รูปแบบเทคโนโลยีการศึกษา (EdTech)

29

3. บทบาทสื่อกบั บริบทสังคมไทย
สอื่ มวลชนมีส่วนสำคัญในการเป็นผู้กำหนดหรือวางระเบยี บวาระการรับรู้เหตุการณ์แก่ประชาชนทั่วไป

(Agenda setting) ซึ่งการนำเสนอข่าวที่มีทั้งประเด็นที่เป็นเชิงบวกและเชิงลบต่อผู้ที่ตกเป็นข่าว ทั้งนี้ การให้
น้ำหนักในการนำเสนอท่ีแตกต่างกนั ย่อมส่งผลต่อสิ่งท่ีประชาชนรับรูต้ ่างกัน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในโลกยุคปัจจุบันท่ี
รูปแบบของสื่อไดม้ ีการวิวัฒนาการจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยแี ละพฤติกรรมการใชส้ ื่อท่ีเปลยี่ นแปลงไป

สถานการณเ์ ด็ก

(ข้อมูลจาก รายงานสถานการณ์ด้านเด็กและเยาวชนไตรมาส 4 ประจำปีงบประมาณ 2564
กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์) พบว่า มีเด็กกำพร้าจาก
สถานการณ์ COVID-19 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564) มีจำนวนสะสม 391 คน ในส่วนภูมิภาค 382
คน และในกทม. 9 คน โดยแบ่งเป็น กำพร้าพ่อ 192 คน กำพร้าแม่ 161 คน กำพร้าทั้งพ่อและแม่ 3 คน
ไม่มีผู้ดูแล 35 คน โดยจังหวัดที่มีเด็กกำพร้าสูงสุด 3 อันดับแรกอยู่ในภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี นราธิวาส และ
ยะลา ตามลำดับ และเมือ่ จำแนกชว่ งอายุทพ่ี บเดก็ กำพร้ามากทส่ี ดุ คอื อายุ 6-18 ปี

30

ผลสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ (ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยได้รับ
การสนับสนุนจากยูนิเซฟ ณ 31 มีนาคม 2564) ชี้ให้เห็นว่า เด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้เผชิญปัญหา
โภชนาการ ขาดภูมิคุ้มกันโรค และขาดทักษะเรียนรู้ สำหรับผลสำรวจที่มีแนวโน้มเชิงบวกด้านความเป็นอยู่
ของเด็กในชายแดนภาคใต้ในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนที่มากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
ในชว่ งสิบปที ี่ผ่านมา ซง่ึ สำคัญมากตอ่ พฒั นาการทางสมองของเด็กเลก็ เดก็ ในจงั หวัดชายแดนใต้อยู่อาศัยกับพ่อ
แมม่ ากกว่าเดก็ ในภูมภิ าคอืน่ ๆ ของประเทศไทย ประเดน็ ที่เก่ียวข้องกบั การคุ้มครองเดก็ ในบางด้านกม็ ีแนวโน้ม
ดีขน้ึ เช่น อัตราการมบี ุตรของวยั รุ่น ซึง่ ลดลงในทั้งห้าจังหวัดชายแดนใต้ นอกจากนี้ ผลสำรวจยังชี้ให้เห็นด้วย

31

ว่า ในจังหวัดสงขลา สตูล และยะลา การอบรมเด็กด้วยวิธีรุนแรงที่บ้านมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558
อย่างไรก็ตาม สัดส่วนดังกล่าวแตกต่างกันอย่างมากในจังหวัดใกล้เคียง โดย ในจังหวัดยะลา มีเด็กที่ถูกอบรม
โดยวธิ รี ุนแรงร้อยละ 25 ขณะทใ่ี นจังหวดั นราธวิ าส อัตรานีส้ ูงถึงรอ้ ยละ 89

สถานการณค์ วามรุนแรงต่อสตรีและบุคคลในครอบครัว

32

33

สถานการณค์ รอบครัว

34

35

จากรายงานสถานการณ์ความเข้มแข็งของ
ครอบครวั ไทย ประจำปี 2564 ของกรมกจิ การสตรีและ
สถาบันครอบครัว พบว่า ค่าเฉลี่ยดัชนีความเข้มแข็งใน
ภาพรวมของครอบครัวไทย ภาพรวมทั้งประเทศอยู่ใน
ระดับ 68.40 มีจำนวนครอบครัวที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ
4,493 ครอบครัว (ร้อยละ 8.01) สำหรับภาคใต้ อยู่ใน
ระดับ 86.04 โดยมีจำนวนครอบครัวที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ
636 ครอบครวั (รอ้ ยละ 6.68)

ผลสำรวจความเข้มแข็งครอบครัวไทยใน
ภาคใต้ แตล่ ะมิติ ปี 2564 ดงั ภาพดา้ นขวาและดา้ นลา่ ง

36

คา่ ดชั นีความเข้มแข็งของครอบครวั ปี 2564 จำนวน

พน้ื ท่ี ภาพรวม สัมพันธภาพ บทบาท พงึ่ ตนเอง ทนุ ทาง เหตุการณ์
หนา้ ท่ี สังคม
หลีกเล่ยี ง ความรนุ แรง
ภาวะเสย่ี งฯ ในครอบครัว*

ชมุ พร 87.33 70.09 95.32 85.56 92.46 93.21 19

สรุ าษฎรธ์ านี 56.84 71.64 95.01 83.47 92.3 91.79 71

นครศรธี รรมราช 84.62 68.46 93.23 81.78 89.04 90.58 42

สงขลา 83.78 68 93.18 81.17 88.11 88.42 46

พทั ลุง 88.4 68.94 94.12 84.55 96 98.41 12

ปัตตานี 83.58 65.35 89.19 82.87 88.69 91.78 20

ยะลา 87.64 70.85 97.04 84.77 90.8 94.74 4

นราธิวาส 87.38 74.34 93.46 84.3 89.56 95.24 11

ระนอง 87.29 69.97 93.34 84.69 92.72 95.76 35

พงั งา 88.4 68.94 94.12 84.55 96 98.41 23

ภเู กต็ 79.19 58.6 81.4 81.71 86.93 87.33 43

กระบี่ 88.35 76.3 95.63 89.43 90.24 90.14 42

ตรงั 85.76 70.02 95.22 81.97 90.88 90.72 33

สตลู 86.19 69.79 94.59 82.75 90.63 92.12 25
หมายเหตุ : * ข้อมลู การชว่ ยเหลอื ด้านความรุนแรงในครอบครวั ประจำปี พ.ศ. 2564 (มกราคม - ธันวาคม 2564)

จากศนู ยป์ ฏิบตั ิการเพื่อปอ้ งกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว 77 จงั หวัด

37

ภาวะสงั คมไทยไตรมาสสอง ปี 2564

38

ภาวะสังคมไทยไตรมาสสอง ปี 2564

39

ภาวะสงั คมไทยไตรมาสสอง ปี 2564

40

มุมมองนักสังคมสงเคราะห์ต่อปัญหาและการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ ของกลุ่มเปราะบาง
ในประเทศไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 จากงานเสวนาวิชาการ หัวข้อ “โควิด 19 กับ
ความเหลื่อมล้ำทางสังคม” จัดโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง วันที่ 3 กันยายน 2564
(https://www.law.tu.ac.th/seminar-summary-covid-19-and-social-inequality) อาจารย์พงศยา ภูมพิ ัฒน์โยธิน
ได้กลา่ วถงึ มมุ มองนักสังคมสงเคราะหต์ ่อปญั หาและการเข้าถึงสทิ ธิและสวัสดิการต่าง ๆ ของกลุม่ เปราะบางใน
ประเทศไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้ง 4 ระลอกที่ผ่านมา ในเบื้องต้นต้องพิจารณา
เกี่ยวกับคำจำกัดความเกี่ยวกับ “กลุ่มเปราะบาง” เนื่องจากหากตีความแล้วไม่ครอบคลุมให้เพียงพอก็อาจมี
กลุ่มคนบางส่วนไม่ไดร้ ับการช่วยเหลอื นั่นเอง ความหมายโดยทั่วไปหมายถึง กลุ่มประชากรท่ีมีความสุ่มเสี่ยงท่ี
จะถกู ชกั จูง ครอบงำและคกุ คามจากปจั จัยเส่ยี งดา้ นตา่ ง ๆ เช่น วงจรชวี ิต สขุ ภาพ สงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม
ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ๆ รวมถงึ ขาดศักยภาพหรือขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพในการจดั การกบั ปจั จัยเสี่ยง
ที่เผชิญอยู่และผลกระทบที่ตามมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มประชากรที่ขาดโอกาสทางเศรษฐกิจ คนไร้บ้าน/คน
เร่ร่อน/คนไร้ที่พึ่ง ผู้ไม่มีหลักประกันสุขภาพ เด็กเยาวชนในครอบครัวยากจน ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้มีภาวะ
เจ็บปว่ ยเรือ้ รงั รวมถงึ การเจ็บป่วยทางจติ เปน็ ตน้ โดยกลุ่มเปราะบางท่วั ไปมีความเสี่ยงหรือมโี อกาสท่ีจะติดเชื้อ
โควิด-19 ไดอ้ ยา่ งมาก ในสถานการณ์โรคระบาดโควดิ -19 กลมุ่ เปราะบางท้ังในต่างจังหวัดและในกรงุ เทพมหานคร
มีประมาณ 13 ล้านคนโดยคิดเป็นร้อยละ 17 ของประชาชน จากการศึกษาพบว่าปัจจัยสำคัญคือการขาด
โอกาสและการเขา้ ถงึ ทรัพยากร

ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อกลุ่มเปราะบาง ในเชิงเศรษฐกิจ ส่งผลให้
เกิดการตกงาน การขาดรายได้ และการมีหนี้สินที่เพิ่มขึ้น ส่วนในเชิงสังคม เช่น กรณีเด็กอาจจะส่งผลต่อ
พัฒนาการและสขุ อนามัยของเดก็ เพราะผู้ปกครองอาจต้องทำงานหนักข้ึน หรือขาดรายได้ อันส่งผลต่อการเลย้ี ง
ดูบุตร เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว กล่าวคือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
มีโอกาสเกิดความรุนแรงในครอบครัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากการอยู่บ้านกับผู้กระทำความรุนแรงมากขึ้น หรือ
ความเครียดในครอบครัวที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น ในกรณีของคนไร้บ้าน ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
มีคนไร้บ้านเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 20 อันเนื่องมาจากมาตรการควบคุมการระบาดของรัฐ และคนไร้บ้าน
จะได้รับผลกระทบเนื่องจากไม่มีรายได้หรือการงาน นอกจากนี้ แม้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จะมีการจัดสถานที่พักให้กับกลุ่มคนไร้บ้าน ก็ไม่ได้มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง อีกทั้งคนไร้บ้าน
เองชอบความเป็นอิสระ มาตรการดังกล่าวจึงอาจไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการแก้ไขปัญหากลุ่มคนไร้บ้าน
อย่างไรก็ดี กลุ่มคนไร้บ้านยินดีที่จะรับบริการหรือสวัสดิการอื่น ๆ จากรัฐ แต่รัฐควรจัดให้มีการอำนวยความสะดวก
ในการเข้าถงึ สิทธดิ ังกลา่ ว เช่น การลงทะเบียนควรให้มบี คุ ลากรในการชว่ ยลงทะเบียนให้ เป็นตน้

ในกรณีมาตรการเยียวยากลุ่มเปราะบางของรัฐ แม้รัฐจะมีมาตรการเยียวยาในหลายรอบ แต่ก็มีปัญหา
สำคญั ไดแ้ ก่ ความเส่ยี งที่จะเข้าถึงมาตรการเยยี วยา, ความไมเ่ พยี งพอของเงินเยียวยาที่จะใหส้ ามารถใช้ชีวิตอยู่
ได้อย่างมีคุณภาพ, ความเสี่ยงที่ไม่สามารเข้าถึงการรักษา การตรวจเชื้อและวัคซีนที่มีคุณภาพ เนื่องจากแม้
ได้รับสิทธิ แต่คุณภาพและความเปน็ ธรรมในการให้บรกิ ารไม่ดีอย่างเพียงพอจึงไม่ชักจูงใจให้คนกลุ่มเปราะบาง
เข้าสู่ระบบสาธารณสุข, การเข้าไม่ถึงมาตรการและสวัสดิการต่าง ๆ เนื่องจากมีข้อจำกัดในเรื่องอุปกรณ์ดิจิทัล
และทกั ษะในการใช้อปุ กรณ์ดงั กลา่ ว ซ่ึงรูปแบบการให้บรกิ ารของรฐั ทำแบบออนไลน์ อีกกรณีคอื ปัญหาเกี่ยวกับ
ฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางของรัฐที่ไม่ได้สะท้อนกับความเป็นจริง และฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการให้บริการทาง

41

สังคมที่กระจัดกระจายและไม่เชื่อมโยงถึงกนั และยงั เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมลู อันกระทบต่อการนำฐานข้อมูล
ดังกลา่ วมาใช้

นักสังคมสงเคราะห์หรือจิตอาสาที่เข้ามาช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
เพ่อื ให้เข้าถงึ สิทธิหรือสวัสดิการทีพ่ ึงไดร้ ับ อาจตอ้ งคำนึงถงึ สภาพสงั คมทเ่ี ขา้ มารับบริการว่ามีความซับซ้อนและ
มีความต้องการที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวให้ทันตอ่ ปัญหาและสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป
โดยฉับพลนั ทั้งยงั ตอ้ งคำนึงถึงปญั หาสขุ ภาพจติ ของเจ้าหนา้ ท่ีท่ตี ้องรบั มือกบั สถานการณท์ ห่ี นักข้ึน

ข้อจำกัดในการให้บรกิ ารกลุม่ เปราะบางในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโควิด-19 ทีส่ ำคญั คือทักษะในการ
ใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีของผู้ปฏิบัติงานในฐานะผู้ให้บริการรวมไปถึงกลุ่มเปราะบางในฐานะผู้รับบริการ และ
ข้อจำกัดในเรื่องระบบฐานข้อมูลของรัฐที่ไม่เชื่อมต่อกัน รวมไปถึงปัญหาเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้จาก
ผู้รับบริการ นอกจากนี้ยังเกิดภาวะเปราะบางของผู้ปฏิบัติงานเอง โดยเฉพาะในเรื่องจิตใจของผู้ปฏิบัติงานอัน
เนื่องมาจากการสะสมความเหนื่อยล้าในการปฏิบัติงาน และการลดเงื่อนไขหรือข้อจำกัดที่ไม่จำเป็นในการ
ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกดิ ประสิทธิภาพในการทำหนา้ ทขี่ องผูป้ ฏิบัติงานน่ันเอง

แนวทางการให้ความชว่ ยเหลือประชากรกลุ่มเปราะบางที่สำคัญคือการเตรยี มความพร้อมสำหรับปัญหา
สังคมอื่น ๆ ที่จะตามมา นอกจากการแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าและการสนบั สนุนกลุ่มเปราะบาง ยังรวมถงึ
แนวทางช่วยเหลือในระยะยาว เช่น การศึกษา สุขภาพจิต และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ข้อเสนอมาตรการเพิ่มเติม
1. การอาศัยกลไกท้องถิ่นและนอกภาครัฐ เช่น อสม. ในชุมชน ซึ่งมีความใกล้ชิดกลุ่มเปราะบางบางกลุ่มมาก
ที่สุดในการค้นหา ให้ข้อมูลและดูแลกลุ่มเปราะบาง เพื่อบรรเทาและให้ได้รับการเยียวยาด้วยการให้เกิดการ
ตกหล่นน้อยที่สุดนั่นเอง 2. การส่งเสริมการมีงานทำเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงชพี และ 3. การเตรียมความพร้อมใน
การวางระบบคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมกลุ่มประชากรเปราะบางทุกกลุ่มและทุกคน ส่วนข้อเสนอเชิง
นโยบาย ได้แก่ 1. การเร่งศึกษาผลกระทบทางสังคมต่อกลุ่มเปราะบางเพิ่มขึ้นในช่วงการระบาดระลอกใหม่
2. การมีมาตรการเยียวยาเป็นพิเศษสำหรับกลุ่มเปราะบางและกลุ่มที่เสี่ยงจะเกิดแผลเป็น 3. การมีมาตรการ
เฝ้าระวังการเกิดกลุ่มที่เกิดแผลเป็นทางเศรษฐกิจและสังคม 4. การพิจารณาให้วัคซีนกับกลุ่มเปราะบางที่
รวดเร็วกว่ากลุ่มอื่น และ 5. ในระยะยาวจะต้องทำการปรับปรุงระบบความคุ้มครองทางสังคม ( Social
Protection)

42

43

ส่วนที่ 3 ทศิ ทางการดำเนินงาน

ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาโดยใช้แนวทาง “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และ
ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคใต้ จังหวัดสงขลา กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว มีภารกิจ
ในการพัฒนาศักยภาพและสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่สตรีและครอบครัว ดังนั้น กลุ่มเป้าหมายของ พม. จึงเป็น
กล่มุ เป้าหมายที่ศูนย์ฯ ต้องใหก้ ารบริการและช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เน่ืองจากทุกคน
มีความสัมพนั ธก์ ันเป็น “ครอบครัว” ซึ่งกรอบแนวทางการดำเนนิ งานดา้ นสงั คมจำต้องสอดคลอ้ งกบั ทิศทางของ
ประเทศถ่ายทอดสูห่ น่วยงานที่เกีย่ วข้อง และพื้นที่ช่วยขับเคลื่อนงานให้บรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนด โดยมี
กฎหมาย นโยบาย และยุทธศาสตร์ที่เกีย่ วข้อง สอดคล้องตั้งแต่ระดับประเทศ กระทรวง กรม ส่วนกลาง ลงไป
ถึงระดับพ้ืนท่ี สรุปไดด้ ังนี้

1. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 27 วรรคสาม การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

ต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย
หรือสุขภาพ สถานภาพของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ
ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ และวรรคสี่
มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับ
บุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส ย่อมไม่ถือว่า
เป็นการเลือกปฏิบัติ และมาตรา 48 วรรคสอง บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปี และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ
และบคุ คล ผูย้ ากไร้ย่อมมสี ิทธไิ ด้รบั ความช่วยเหลือท่ีเหมาะสมจากรฐั ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ

หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 วรรคสาม รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี
ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครองป้องกันมิให้
บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมตลอดทั้งให้การบำบัด ฟื้นฟู และเยียวยา
ผู้ถูกกระทำดังกล่าว

2. การปฏริ ปู ประเทศด้านสงั คม
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคมได้กำหนดประเด็นหลักที่ต้องเร่งดำเนินการ 5 เรื่อง ได้แก่

1) การออม สวัสดิการ และการลงทุนเพื่อสังคม 2) การช่วยเหลือและเพ่ิมขีดความสามารถกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม
3) การจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ทางสังคม 4) การพัฒนาระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง และ 5) การสร้าง
การมสี ว่ นร่วม การเรียนรู้ การรับรู้ และการสง่ เสริมกิจกรรมทางสังคม

44


Click to View FlipBook Version