The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเภทของงานวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kpanyawan, 2022-04-19 03:04:12

ประเภทของงานวิจัย

ประเภทของงานวิจัย

Keywords: ประเภทของงานวิจัย,ตัวแปร

ประเภทของงานวจิ ยั

หนว่ ยวจิ ยั ทางการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่
โทร. 36114

วตั ถปุ ระสงค์

 เพอื่ ให้ผูเ้ รียนทราบถงึ การจาแนกประเภทวจิ ยั ท่ีพจิ ารณาตามเกณฑต์ า่ งๆ
 เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนทราบถงึ ประเภทของขอ้ มูลการวจิ ยั
 เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นทราบถงึ ลกั ษณะของการวิจยั ทางการพยาบาล
 เพื่อให้ผู้เรยี นทราบถึงวธิ ีการเลอื กการออกแบบการวิจยั
 เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถตง้ั คาถามการวจิ ัยได้

การจาแนกประเภทการวจิ ยั

งานวิจยั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็นประเภทตามคุณลักษณะของงานวิจัย การจดั
ประเภทเป็นไปตามการจัดจาแนกตามเกณฑต์ ่างๆ ดังน้ี
➢ พจิ ารณาจากประโยชน์ หรอื ความต้องการทีจ่ ะไดร้ ับจากการวจิ ัย
➢ พจิ ารณาจากลักษณะของข้อมลู
➢ พิจารณาจากระดับของการศึกษาตวั แปร
➢ พจิ ารณาจากชนดิ ของข้อมลู
➢ พิจารณาจากการควบคมุ ตัวแปร
➢ พิจารณาจากระเบยี บการวจิ ยั

พจิ ารณาจากประโยชนห์ รอื ความต้องการทจ่ี ะไดร้ บั จากการวจิ ยั

การวจิ ยั บรสิ ุทธ์ิ (Pure Research)

01 หรือ การวิจยั พ้นื ฐาน (Basic Research) เปน็ การวิจยั เพอื่ หาทฤษฎี สูตร
หรอื สรา้ งกฎ เพือ่ เปน็ พืน้ ฐานในการศกึ ษาเร่ืองอน่ื ๆ ตอ่ ไป

การวจิ ยั ประยกุ ต์ (Applied Research)
เปน็ การวจิ ยั เพ่อื นาผลไปทดลอง ใชแ้ กไ้ ขปญั หาอ่นื ๆต่อไป เช่น
02 การวิจยั ทางแพทย์

การวจิ ยั เชงิ ปฎบิ ตั ิ (Action Research)
เปน็ การวิจัยประยุกตใ์ นลักษณะ หน่ึงทีม่ ุง่ แก้ปัญหา
03 เฉพาะหน้าเป็นเรื่อง ๆ ไป ผลของการวิจยั น้ใี ช้ไดใ้ น

ขอบเขตของปญั หานั้น ๆ เท่านนั้ ไม่สามารถนาไปใชใ้ น

สถานการณ์ อน่ื ๆ

พจิ ารณาจากลกั ษณะของขอ้ มลู

เชิงปริมาณ (Quantitative Research) เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research)

เปน็ การวจิ ยั ทจี่ ะไดข้ อ้ มลู ทอี่ ยใู่ นลกั ษณะของตวั เลข เป็นการใชข้ อ้ มลู เชงิ คณุ ลกั ษณะ และไมไ่ ดใ้ ชค้ ณติ ศาสตร์ หรือ
และตอ้ งใชว้ ิธกี ารทางสถติ มิ าวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพือ่ สถติ เิ ขา้ มาชว่ ย การเกบ็ ขอ้ มลู ทาไดโ้ ดย การใชก้ ารสงั เกต การ
สรุปผลการวจิ ยั วธิ ีการรวบรวมขอ้ มลู สว่ นใหญ่ จะ สัมภาษณ์ การบนั ทกึ วิเคราะหโ์ ดยการพรรณนา และสรปุ เปน็
ใช้แบบสอบถาม ความคดิ เหน็ มีการใชคั า่ สถติ ไิ ดเ้ ลก็ นอ้ ยในเชงิ ร้อยละ เป็นตน้

พจิ ารณาจากระดบั ของการศกึ ษาตวั แปร

1. การวจิ ยั เชงิ สารวจ 1.1 การวจิ ยั เพ่ือตรวจสอบตวั แปร (Identified Variable)
(Exploratory Study) 1.2 การวจิ ยั สหสมั พนั ธ์ (Correlation research) เป็นการศึกษาเพื่อ
บรรยายความสัมพนั ธข์ องตวั แปรอสิ ระ และตวั แปรตาม

2. การวจิ ยั เพอื่ ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน 2.1 เปน็ การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งทฤษฎี เพอื่ ทจี่ ะนาไปใชใ้ นการทานาย การวจิ ยั
(Hypothesis Testing Study) ชนดิ นมี้ กี ารตงั้ สมมตุ ฐิ าน และตรวจสอบดวู า่ สมมตุ ฐิ านทตี่ งั้ ขน้ึ ว่าถกู ตอ้ ง
หรอื ไม่

พิจารณาจากชนิดของขอ้ มลู

เชงิ ประจกั ษ์ (Empirical Research)
เป็นการวิจยั ทหี่ าความจรงิ จากขอ้ มลู ปฐมภมู ิ โดยมกี ารเกบ็
ข้อมลู และใชส้ ถติ ใิ นการวิเคราะห์

เชิงไม่ประจกั ษ์ (Nonempirical Research)
เป็นการวิจยั ทหี่ าความรคู้ วามจริงจากขอ้ มลู เอกสาร และ
วรรณกรรม ไม่การใชส้ ถติ มิ าวเิ คราะห์

พจิ ารณาจากการควบคมุ ตัวแปร

เชงิ สารวจ (Survey Research) การวิจัยเชงิ บรรยาย
เช่น การสารวจทศั นคติ เพอ่ื หา (Descriptive research)
ขอ้ เทจ็ จรงิ
เป็นการศกึ ษาเพอื่ บรรยาย
การวิจยั สหสมั พนั ธ์ ปรากฏการณท์ ่รี ะบุ
(Correlation research) ขอบเขตของการศกึ ษาอยา่ ง
เปน็ การศกึ ษาเพอื่ บรรยาย เฉพาะเจาะจง
ความสมั พนั ธข์ องตวั แปร อิสระและตวั
แปรตาม

พิจารณาจากการควบคมุ ตวั แปร

(ท่คี วบคมุ ตัวแปรแทรกซอ้ นไดม้ ากทส่ี ดุ )

การวิจยั แบบทดลอง (Experimental research) การวจิ ยั แบบกงึ่ ทดลอง
(Quasi experimental research)
เปน็ การวจิ ยั ทมี่ ุ่งสร้างสภาพการณ์ขน้ึ แล้วศกึ ษาผลที่
เกดิ ขนึ้ ตามมา ซง่ึ ทาได้ โดยการควบคมุ ตวั แปรอื่นๆท้ังหมด เป็นการทาวจิ ยั ท่มี กี ารจัดกระทากับตัวแปร เช่นเดียวกับ
แล้วปลอ่ ยให้ตวั แปรอสิ ระ (independent variable) การวิจัยแบบทดลอง แต่เป็นการทดลองที่กระทากับกลุ่ม
เท่านั้นท่มี ีผลตอ่ ตัวแปรตาม (dependent variable) ตัวอย่างที่ไม่ได้มีการสุ่มเข้ากลุ่ม และ /หรือการควบคุม
จากนั้นจึงทาการวดั ผลทต่ี วั แปรตาม ซ่ึงเกดิ จากอิทธิพล สถานการณต์ า่ งๆในการทดลองทาได้ไมเ่ ตม็ ท่ี
จากตัวแปรอสิ ระ

พจิ ารณาจากระเบยี บการวจิ ัย

การเปรยี บเทยี บเชงิ สาเหตุ วิจัยเชงิ ทดลอง
(Cause comparative research) (Experimental Research)

สามารถศกึ ษายอ้ นหลงั ทม่ี กี ลมุ่ ควบคมุ เป็นการศกึ ษาตวั แปร เพือ่ ทราบ
เรยี กวา่ case control studies สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ผล
เพอ่ื ศกึ ษาจากผลไปหาเหตุ โดยมี
การศกึ ษาในสภาพแวดลอ้ มธรรมชาติ วจิ ยั เชิงพรรณนาหรือการวจิ ยั เชงิ บรรยาย
โดยไมม่ กี ารจดั กระทาสง่ิ ทดลอง หรือ (Descriptive Research)
การศกึ ษาความคบื หนา้
Prospective studies หรอื เปน็ การศกึ ษาเพอื่ บรรยายปรากฎการณต์ า่ ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ
Cohort studies เพ่อื หาคาตอบวา่
ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในปจั จบุ นั มผี ล
ตอ่ เนอ่ื งไปยงั อนาคตอยา่ งไร

วจิ ยั เชงิ พรรณนาหรอื การวิจยั เชงิ บรรยาย

(Descriptive Research)

แบ่งเปน็
การวจิ ัยเชงิ สารวจ
การวิจยั เชิงเหตุผลเปรยี บเทียบ
การวจิ ยั เชงิ สหสัมพันธ์
การวิจยั เชิงสังเกต
การศกึ ษาเฉพาะกรณี

พิจารณาตามลกั ษณะของการ
เก็บรวบรวมขอ้ มลู

● การศกึ ษาภาคตัดขวาง (Cross-sectional study)
● การศึกษาระยะยาว (Longitudinal Study) ทาได้ 2 แบบ

ศึกษาไปขา้ งหนา้ (Prospective Study)
ศกึ ษาย้อนหลงั (Retrospective Study)

ข้อมลู ของการวจิ ยั

ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primary Source) ได้แก่ เร่ืองราวท่ีได้จากตน้ ตอจริง ๆ ไดแ้ ก่ เอกสาร
ทผ่ี ู้อยใู่ นเหตกุ ารณเ์ ขยี นขนึ้ ตามความจริง หรอื จากซากวัตถโุ บราณ (Remains of
Relies) หรือ จากการบอกเล่าเรอื่ งราวของผูอ้ ยู่ในเหตกุ ารณ์ (Oral History)

ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Source) ไดแ้ ก่ เรอ่ื งราวต่าง ๆ ท่ีได้ถูกรวบรวมขึน้
โดยที่ผรู้ วบรวมไมไ่ ดอ้ ยู่ในเหตกุ ารณจ์ รงิ แต่ไดร้ ับการบอกเลา่ จากผสู้ ังเกตการณ์
ในเหตกุ ารณน์ ั้น ๆ อีกทอดหน่งึ หรือ รวบรวมจากแหลง่ ทตุ ิยภมู อิ ่ืน ๆ เช่น ตารา
บทความ เอกสาร รูปภาพ (History Test Bodies) หรอื บรรณานกุ รม

การวจิ ยั ทางการพยาบาล (Nursing research)

การวจิ ัยทางการพยาบาล เป็นการ คน้ ควา้ หาคาตอบทีเ่ ป็น

ข้อสงสยั หรือเปน็ ประเดน็ ปัญหาทางการพยาบาล โดยใช้

Nursing research กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือให้ได้องคค์ วามรใู้ หมท่ ี่มี
ความ น่าเชอ่ื ถือและสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ในการ

พัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล รวมทง้ั พฒั นางาน ที่

เกยี่ วข้องกบั การปฏิบตั กิ ารพยาบาล การบรหิ ารการ

พยาบาล และการศึกษาพยาบาล (บญุ ใจ, 2553)

ลักษณะของการวจิ ยั ทางการพยาบาล

1. การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล (Nursing Practice) เป็นการวจิ ยั เพอ่ื หา

แนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ ผรู้ บั บรกิ าร เช่น

❖ เปรยี บเทยี บวธิ กี ารหยอดยาขยายรมู า่ นตา ต่อประสทิ ธิภาพการขยายของ
รมู า่ นตาในผู้ปว่ ยนอกแผนกตา หู คอ จมกู

❖ การพฒั นาคณุ ภาพการดแู ลผู้ปว่ ยเบาหวานโรงพยาบาลสริ นิ ธร

❖ ผลของการพยาบาลระบบสนบั สนนุ และใหค้ วามรตู้ อ่ ความเครยี ดและ
ความสามารถของผู้ดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หาในระบบประสาท

2. การบรหิ ารการพยาบาล (Nursing Administration)

เปน็ การวจิ ยั เกยี่ วกบั ผบู้ รหิ ารและกระบวนการบรหิ ารการพยาบาล โดยเป้าหมายสดุ ทา้ ย คือ
ทาให้ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ บั การพยาบาลที่มคี ณุ ภาพ เชน่

การพัฒนาระบบบริการพยาบาลโดยใชร้ ปู แบบการบรหิ ารจดั การ
โรคเชงิ บรู ณาการ และแนวคดิ การจดั การผปู้ ว่ ยรายกรณี สาหรับ

ผปู้ ่วยโรคความดนั โลหติ สงู เครอื ข่ายบรกิ ารสขุ ภาพ

3. การศึกษาพยาบาล (Nursing Education)

เปน็ การวจิ ยั เกย่ี วกบั ระบบการศกึ ษาซงึ่ ประกอบดว้ ย
หลกั สตู รผเู้ รยี น ผสู้ อน การเรยี น การสอน เพอื่ พัฒนา
ผู้เรยี นใหเ้ ป็นพยาบาลทด่ี มี คี วามรคู้ วามสามารถตาม
ตอ้ งการ เช่น

เจตคติตอ่ วชิ าชพี การพยาบาลของนักศกึ ษา
พยาบาล มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

ตวั อยา่ ง “การดแู ลตนเองและการดแู ลทารกแรกเกดิ ของมารดาทตี่ ดิ เชอ้ื เอชไอวี”

สามารถจัดเปน็ วิจัยประเภทต่างๆ ดงั น้ี

01 -พิจารณาจากแหลง่ ขอ้ มลู -พิจารณาจากการควบคมุ

การวิจยั จากข้อมูลปฐมภมู ิ ตวั แปร 04

การวิจัยแบบไม่ทดลอง

02 - พิจารณาจากประโยชน์ -พิจารณาตามลกั ษณะของ

การวิจยั พ้นื ฐาน (Basic การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 05

Research) ศึกษาไปข้างหน้า (Prospective Study)

03 - พิจารณาจากลักษณะของขอ้ มลู -พิจารณาจากชนดิ ของขอ้ มลู

เชิงคณุ ภาพ (Qualitative เชิงประจกั ษ์ (Empirical 06
Research)
Research)



วธิ ีการเลอื กการออกแบบการวิจัย?

สิ่งสาคญั บางประการที่คณุ ต้องพจิ ารณา ตัวอยา่ งเช่น-
• ปญั หาหรือหวั ขอ้ การวจิ ัยของคุณคืออะไร?
• วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาวจิ ยั คอื อะไร?
• และโดยพื้นฐานแล้วระเบยี บวิธวี ิจยั ของคณุ คืออะไร?
เม่ือคณุ ระบุสงิ่ ตา่ งๆข้างตน้ และทราบเกี่ยวกับประเภทของการออกแบบ
การวจิ ัย จากนั้นคณุ สามารถเลือกการออกแบบการวิจยั ของคุณได้เลยคะ่

ตวั อย่างวิจยั ทางการพยาบาลทใี่ ช้บ่อย

วจิ ัยเชงิ พรรณนาหรือการวจิ ยั เชิงบรรยาย (Descriptive Research) : การมสี ่วนร่วมของผดู้ แู ลใน

การดูแลเด็กปว่ ยทเ่ี ขา้ รับการรกั ษาในโรงพยาบาล และปัจจัยท่เี กยี่ วขอ้ ง

การวิจยั เชิงสหสมั พนั ธ์ (Correlative Research) : ปจั จัยท่มี ีความสมั พันธก์ ับความพรอ้ มในการจาหนา่ ย

จากโรงพยาบาลในผู้ปว่ ย ที่เข้ารับการรกั ษาในโรงพยาบาลตตยิ ภมู ิ

การวจิ ัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research) : ผลของการจดั การผปู้ ว่ ยรายกรณใี นผปู้ ่วยโรคระบบ

ทางเดนิ ปสั สาวะ ตอ่ จานวนวนั นอนและความพงึ พอใจตอ่ บรกิ ารสุขภาพของผู้ป่วย หอผู้ปว่ ยศลั ยกรรมทางเดนิ ปสั สาวะ
โรงพยาบาลราชวิถี

การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (Action Research) : การพฒั นาบันทกึ การพยาบาลโดยใช้การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
การวจิ ยั เชงิ สารวจ (Survey Research) : คุณภาพการใหบ้ ริการของโรงพยาบาลพะเยา

เปน็ ตน้

โครงสร้างของคาถามวิจยั ที่ดคี วรจะตอ้ งมคี วามเฉพาะเจาะจง (specific) เพื่อ
ประโยชนใ์ นการกาหนดทิศทางการศกึ ษาคน้ คว้า (literature review) และ
ออกแบบงานวจิ ยั ได้ตรงประเดน็ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ี ตามเกณฑข์ อง PICO
(S) framework ดังนี้

Patient/Population/Problem

ท่ีเข้าร่วมการศกึ ษาหรอื เปน็ ปญั หาทเี่ ราสนใจ
> ลักษณะของผ้ปู ว่ ยทเ่ี ข้ารว่ มเปน็ อย่างไร? เพศ ช่วงอายุ เชื้อชาติ?
> ลักษณะที่สนใจในผ้ปู ว่ ยมีอะไรบ้าง?
> โรคหรือปัญหาท่ีเป็นร่วม?

เปน็ ตัวแปรตน้ ทเี่ ราใสเ่ ขา้ ไป I = Intervention
อาจเป็นยา หรอื การรกั ษาบางอยา่ ง
> ถ้าเป็นยา ระบชุ อ่ื ยา รูปแบบการใหย้ า ขนาดยา /Exposure
> ถ้าเปน็ การรกั ษา ระบรุ ายละเอยี ดคร่าว ๆ

ลักษณะการใหก้ ารรักษา
> สถานทท่ี ใ่ี หก้ ารรกั ษา โรงพยาบาลศนู ย์

โรงพยาบาลชมุ ชน รพ.สต.

Comparator / Control คอื ส่งิ ท่จี ะนามาเปรยี บเทยี บกบั
intervention อาจเป็นยาหลอก
(placebo) ยาอืน่ ๆ หรอื การ

รกั ษาบางอยา่ งทน่ี ามา
เปรียบเทยี บ

O= Outcome

ผลลพั ธท์ ี่จะทาการวัด
> ระบผุ ลลัพธท์ ี่วัดวา่ เป็น clinical outcome ลกั ษณะใด
วดั efficacy, adverse
> ระบุเคร่ืองมอื ทใ่ี ชว้ ดั outcome (ถ้าม)ี

S = Studies

คือ ประเภทการศกึ ษาทเ่ี ราจะนาเขา้ มาทบทวน
ว่าเปน็ การศึกษาประเภทไหน การเลอื กประเภท
การศกึ ษาที่เหมาะสม จะทาใหก้ ารทบทวนมคี วาม
นา่ เชอ่ื ถอื แมน่ ยา bias /error น้อย

“ความพยายามอยู่ท่ไี หน
ความสาเร็จอย่ทู ่นี ่นั ”

อยา่ ลมื !!ทาแบบทดสอบกนั ด้วยนะคะ


Click to View FlipBook Version