The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8.เอกสารประกอบการอบรม GDPO#1_เล่มสมบูรณ์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookvo65, 2023-02-23 23:10:49

8.เอกสารประกอบการอบรม GDPO#1_เล่มสมบูรณ์ (1)

8.เอกสารประกอบการอบรม GDPO#1_เล่มสมบูรณ์ (1)

Keywords: 8.เอกสารประกอบการอบรม GDPO#1_เล่มสมบูรณ์ (1)

1 ( ( ( ) 2 ( 1 ( ( ( . .


3 1. . 2562 2. 3. 4. 4 1 2566 2566 2566 2566 23 2566 ( ( -


( 1 2 4 9.00-12.00 . - . . 13.00- . 2566 9.00-12.00 . ( ( . 13.00- . 12 . 2562 3 2566 9.00-12.00 . ( . . 13.00- . 4 ( 2 2 4 16 2566 9.00-12.00 . ( . ( ) 13.00- . 5 23 2566 9.00-12.00 . ( Workshop 6 13.00- . (1 – (


(1 (2 70 (3 4 ( - ( (


1 กฎหมายว ่ าด ้ วยการค ุ ้ มครอง ข ้ อม ู ลส ่ วนบ ุคคลและกฎหมาย อ ืˑ นท ีˑ เก ีˑ ยวข ้ อง ผศ.ดร.ประพันธ์พงษ์ข ํ าอ่อน รองคณบดีฝ˳ายวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 1. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตวิาดวยการกระทําความผิด ทางคอมพิวเตอรพ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม 2. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตการริ ักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรพ.ศ. 2562 3. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตขิอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 4. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตการบริ ิหารงานและการ ใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 5. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตวิาดวยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกสพ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม 6. หลักการและมาตราที่สาคํ ัญของพระราชบัญญัตบิัตรประจําตัวประชาชน พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม 7. สรุปความสําคัญและความเกี่ยวของของกฎหมายฉบับตาง ๆ กับการ คุมครองขอมูลสวนบุคคล 2 Learning Content (LC) 1: กฎหมายตาง ๆ ที่มีความ เกี่ยวของกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล Learning Content (LC) 2: หลักการและสาระสําคัญของ พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล 1. ที่มา ความสําคัญ ภาพรวมของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 และความเชื่อมโยงกับธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ 2. คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบุคคล 3. หลักการสําคัญของพระราชบัญญตัิคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 4. หนาที่และความรับผิดชอบของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล (Data Controller) และผู ประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Data Processor) 5. มาตราสําคัญของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบคคลุพ.ศ. 2562 6. สิทธิของเจาของขอมูลและการจัดการคํารองขอของเจาของขอมูล (Data Subject Right and Subject Access Request) 7. หลักเกณฑการพิจารณาอนุมัติหรือปฏเสธคิ ํารองขอ 8. การตรวจสอบการดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล 9. การสงโอนขอมูลตามขอกําหนดของกฎหมายหรือหนวยงานกากํ ับดูแลที่เกี่ยวของ 10. สาระสําคัญของกฎหมายลําดบรองภายใต ั พ.ร.บ.ฯ ที่มีการบังคับใชแลว


34


56


7 ที่มาของรูป: www.brandbuffet.in.th 8 + ในปค.ศ. 2018 Facebook สงขอมูลสวนบุคคลของ User มากกวา 50 ลาน คนใหบริษัท Cambridge Analytica ซึ่งเปนบริษัทวิเคราะหความคิดเห็นของ ประชาชนดานการเมือง โดยที่ไมไดขอความยินยอมจาก User กอน ปค.ศ. 2019 ประเทศตางๆ มีคําตัดสินดังนี้ + Federal Trade Commission ปรับ Facebook $5,000 ลาน + องคกรคุมครองขอมูลสวนบุคคลของอิตาลีปรับ Facebook € 1 ลาน + องคกรคุมครองขอมูลสวนบุคคลของอังกฤษปรับ Facebook £ 500,000


9 10


11 12


13 14


15 Maximillian Schrems v Data Protection Commissioner Schrems I (2015) Screms II (2020) + Schrems ในฐานะผูใชบัญชี facebook เชื่อวาขอมูลที่เขาโพสตลง ใน facebook ถูกสอดแนมโดยสํานักงานความมั่นคงของสหรัฐฯ + ศาลยุโรปตัดสินวาการสอดแนมของรัฐบาล US ในขอมูลสวนบุคคล ใน Facebook ที่โอนจาก EU ไปถึง US ละเมิดสิทธิในความเปนสวนตัว และทําใหความตกลงโอนขอมูลสวนบุคคลระหวาง US และ EU เปน โมฆะ (Safe Harbour จากผลของคําตัดสิน Schrems I และ US-EU Privacy Shield จากผลคําตัดสินของ Schrems II) 16 Google v. AEPD and Gonzáles 2014 ECJ Ruling C-131/12 (Right to be forgotten) + Gonzáles ขอศาลใหบริษัท Google ลบขอมูลที่บงบอกวา Gonzáles เปน บุคคลลมละลายซึ่งในปจจุบันไมเปนความจริงอีกตอไป + ศาลยุโรปตัดสินวา บริษัท Google ในฐานะผูควบคุมขอมูลมีหนาที่ตองลบขอมูล สวนบุคคลที่ไมถูกตอง หรือไมครบถวนตามจริง (inaccurate, inadequate, irreverent or excessive) ถาหากขอมูลสวนบุคคลเชนวานั้นสามารถนําไป ประมวลผลไดเมื่อบริษัท Google เพิกเฉยตอหนาที่นี้ถือวาละเมิดกฎหมาย สหภาพยุโรปวาดวยการคุมครองขอมูลสวนบุคคล


17 พรบ.คุมครองขอมูลสวนบุคคล (PDPA): หลักการ พรบ.อื่น ๆ ที่มีการกําหนดการคุมครองขอมูลสวนบุคคล • พรบ. วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรพ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม • พรบ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรพ.ศ. 2562 • พรบ. ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • พรบ. การบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 • พรบ. วาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสพ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม • พรบ. บัตรประจาตํ ัวประชาชน พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม PDPA เปนกฎหมายกลางดานการคุมครองขอมูลสวนบุคคล PDPA ม. 3: กําหนดใหบังคับใช PDPA เปนการเพิ่มเติมในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ถึงแมจะซํ้ากับกฎหมายอื่น ตัวอยาง: พรบ.ขอมูลขาวสารฯ กําหนดใหหนวยงานของรัฐจัดระบบการเก็บรวบรวมและใชขอมูลสวนบุคคลไดเทาที่จําเปน และตองมีมาตรการดานความมั่นคงปลอดภัย แตไมไดอธิบายวามาตรการเหลานั้นตองทําอยางไร ซึ่งกฎหมาย PDPA จะมี รายละเอียดในมาตรการเหลานั้น ทําใหหนวยงานของรัฐตองดําเนินการตาม PDPA เปนการเพิ่มเติม 18 ปองกันการใชคอมพิวเตอรในทางที่ผิด ปองกันการลวงรูขอมูลหรือทําลายขอมูลโดยมิชอบ แกปญหาการการใชคอมพิวเตอรหรือการดําเนินการทาง คอมพิวเตอรที่กอใหเกิดความเดือดรอนและเปนอันตรายตอ บุคคลอื่น ปองกันการใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลาย ขอมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ ปองกันการใชระบบคอมพิวเตอรเผยแพรขอมูลอันเปน เท็จ ปองกันใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพร ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ หลักการ


19 ปองกันการใชคอมพิวเตอรในทางที่ผิด มิติดานการคุมครองขอมูล (Data Protection) กําหนดหามกระทําการละเมิดดานความมั่นคงปลอดภัย (Security) ของระบบ • มาตรา 5: หามการเขาถึงโดยมชอบิเชน การ Hack ระบบ (โทษ: จําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) • มาตรา 6: หามการเปดเผยมาตรการความปลอดภัยโดยมิชอบ เชน เปดเผย password ของผูอื่น ทําใหผูอื่นเสียหาย (โทษ: จําคุกไมเกิน 2 ปหรือปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) หามการกระทําที่เปนการเปลี่ยนแปลงขอมูลของผูอื่น • มาตรา 9: หามทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ (โทษ: จําคุกไมเกิน 5 ปหรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) • มาตรา 11: หามหลอกลวงใหผูอื่นหลงเชื่อในขอมูลที่สงผานในระบบคอมพิวเตอรเชน หลอกผูรับขอมูลวาเปนขอมูลที่มาจากบริษัทที่นาเชื่อถือทําใหผูรับ ขอมูลหลงเชื่อจนเกิดความเสียหาย (โทษ: ปรับไมเกิน 100,000 บาท) • มาตรา 11 วรรค 2 (แกไขป 2560): กําหนดโทษสําหรับการสงขอมูล หรือ Email ที่สรางความรําคาญ และไมเปดโอกาสใหผูรับปฏิเสธ เชน การไมเปด โอกาสให Unsubscribe (โทษ: ปรับไมเกิน 200,000 บาท) หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ 20 ปองกันการใชระบบคอมพิวเตอรเผยแพรขอมูลอันเปนเท็จ • มาตรา 14: กําหนดโทษสําหรับการนําเขาขอมูลที่เปนเท็จในระบบคอมพิวเตอรที่ นาจะเกิดความเสียหายตอประชาชน/ เปนภัยตอความมั่นคง/ มีลักษณะลามาก อนาจาร เชน การเผยแพรขอมูล Fake news ตอสาธารณะ (โทษ: จําคุกไมเกิน 5 ปหรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ


2. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรพ.ศ. 2562 21 คุมครองความปลอดภัยทางไซเบอร (Cybersecurity) หนวยงาน CII คุมครองความปลอดภัยของเครือขายไซเบอร (Cybersecurity) จากภัยคุกคามทางไซ เบอรเชน ภัยคุกคาม Malaware ไวรัส รวมถึงอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรที่จะทําให ระบบของหนวยงานโครงสรางพื้นฐานที่สาคํ ัญ (Critical Information Infrastructure: CII) ไมสามารถทํางานไดปกติหรือกระทบตอการใหบริการประชาชน ประกอบดวย 7 ดาน ไดแกดานความมั่นคงภาครัฐ ดานบริการภาครัฐที่สําคัญ ดาน การเงินการธนาคาร ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม ดานการขนสงและโลจิ สติกสดานพลังงานและสาธารณูปโภค และดานสาธารณสุข หลักการ 2. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอรพ.ศ. 2562 22 คุมครองความปลอดภัยทางไซเบอร (Cybersecurity) มิติดานการคุมครองขอมูล (Data Protection) • มาตรา 43: กําหนดใหมี“นโยบายและแผนปฏิบัติการวาดวยการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร 2565-2570” เพื่อกําหนดมาตรการจัดการดาน Cybersecurity ของประเทศ และกําหนดกไกการประสานงานระหวางรัฐและเอกชน และสรางความ ตระหนักดาน Cybersecurity • มาตรา 63-64: กําหนดกระบวนการการเผาระวัง การปกปอง กาารับมือ และการลด ความเสี่ยงจากภัยไซเบอรใน 3 ระดับ ภัยระดับไมรายแรง ภัยระดับรายแรง และภัย ระดับวิกฤติ (โทษ: สําหรับหนวยงานที่ไมแกไขภัยคุกคามโดยไมมีเหตุอันควร จะมี การปรับไมเกิน 300,000 บาท หรือจําคุก 1-3 ป) • มาตรา 73: กําหนดใหหนวยงาน CII ตองรายงานเหตุละเมิดดาน Cybersecurity ถา ไมรายงานโดยไมมีเหตุอันควรจะมีโทษ (ปรับไมเกิน 200,000 บาท) • มาตรา 70-71: พนักงานเจาหนาที่ที่ลวงรูขอมูลจากการปฏิบัติ หนาที่แลวไปเปดเผยตอ (จําคุกไมเกิน 3 ปหรือปรบไม ั เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) • มาตรา 72: ผูใดลวงรูขอมูลที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาจากการ ปฏิบัติงาน และไปเปดเผยตอ (จําคุกไมเกิน 2 ปหรือปรับไม เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ) มิ • หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ


3. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 23 ความโปรงใสของการใหขอมูลจากหนวยงานของรัฐ การคุมครองขอมูลความลับของราชการ ใหหนวยงานของรัฐทําขอมูลขาวสารของราชการใหประชาชนไดรับรูเพื่อใหเกิดความ โปรงใส กําหนดมาตรการคุมครองขอมูลความลับของราชการ และคุมครองขอมูลขาวสารสวน บุคคล หลักการ 3. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 24 ความโปรงใสของการใหขอมูลจากหนวยงานของรัฐ มิติดานการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ (Personal Data Protection) • มาตรา 7-9: หนวยงานของรัฐตองจัดใหประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารของราชการที่ สําคัญไดเชน ผลคําวินิจฉัย แผนงาน โครงการ งบประมาณ วิธีปฏิบัติงานที่มี ผลกระทบตอสิทธิหนาที่ของเอกชน ฯลฯ • มาตรา 23: หนวยงานของรัฐตองจัดระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลใหมีการเก็บรวบรวมและใชเทาที่จําเปน ตามวัตถุประสงคตรวจสอบแกไขใหขอมูลถูกตอง เสมอ และจัดระบบการรักษาความปลอดภัย • มาตรา 24: การเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลไปใหหนวยงานของรัฐอื่นจะตองขอความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน เวนแตเปนการใชเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคของการจัดใหมีขอมูลนั้น หรือเปนการปองกันการฝาฝนกฎหมาย • มาตรา 40: การไมปฏิบัตตามคิ ําสั่งของคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ที่เรียกใหเจาหนาที่มาใหขอมูล หรือหลักฐานการประกอบการพิจารณา จําคุกไมเกิน 3 เดือน หรือปรับไมเกิน 5,000 บาท หรือทั้งจําและปรับ มิ • หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ


4. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติการบริหารงานและการ ใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 25 การเชื่อมโยงขอมูลของหนวยงานของรัฐ Open Government Data กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเชื่อมโยงขอมูลภาครัฐเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใหบริการภาครัฐและเพื่ออํานวยความสะดวก ใหประชาชน กําหนดใหหนวยงานของรัฐจัดทําขอมูลและบริการในรูปแบบดิจิทัล และมีการเปดเผยขอมูลในรูปแบบ Open Government Data หลักการ ศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลาง กําหนดใหมีศูนยแลกเปลี่ยนขอมูลกลางเพื่อแลกเปลยนขี่อมูล ดิจิทัลและทะเบียนดิจิทัลระหวางหนวยงานของรัฐเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใหบริการตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้า 4. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติการบริหารงานและการ ใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 26 มิติของการกําหนดใหมีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มิติของการใหบริการในรูปแบบดิจิทัลที่ตองมระบบความมีนคงั่ ปลอดภัย (Security) มาตรา 5: กําหนดใหมีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพื่อกําหนดกรอบ และทิศทางการบริหารงานภาครัฐ และจัดทําบริการในรูปแบบ ดิจิทัล มาตรา 4: การบริหารงานภาครัฐและการใหบริการของหนวยงาน ภาครัฐทางดิจิทัลจะตองมีการพัฒนามาตรฐาน สรางระบบความ มั่นคงปลอดภัยในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล มาตรา 12: ใหหนวยงานของรัฐดําเนินการใหมีระบบการรักษา ความมั่นคงปลอดภัย (Security) ในการเขาสูบริการดิจิทัลที่เปนไป ตามธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ (Data Governance) หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ มิติของการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Personal Data Protection) มาตรา 16: การเชื่อมโยงขอมูลสวนบุคคลเพื่อประโยชนในการ บริการแผนดินระหวางหนวยงานของรัฐ สามารถขอขอมูลสวน บุคคลระหวางกัน หรือเชื่อมโยงขอมูลกันได


5. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติวาดวยธุรกรรมทาง อิเล ็ กทรอนิกสพ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม 27 รับรองผลทางกฎหมายของขอมูลอิเล็กทรอนิกส กําหนดมาตรฐานเรื่องลายเซ็นตและรหัสทางดจิิทัล • รับรองผลบังคับทางกฎหมายของขอมูลอิเล็กทรอนิกส • หามปฏิเสธการรับฟงขอมูลอิเล็กทรอนิกสเปนพยานหลักฐาน ในชั้นศาล • กําหนดมาตรฐานและรับรองลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส • กําหนดมาตรฐานและรับรองความถูกตองของรหัสดิจิทัลที่ทํา ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส หลักการ พัฒนาธุรกิจ e-service ปรับปรุงขอกําหนดการลงทะเบียนสําหรับธุรกิจ e-service 5. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติวาดวยธุรกรรมทาง อิเล ็ กทรอนิกสพ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม 28 มิติการมีผลบังคับใชของขอมูลอิเล็กทรอนิกส มิติของการมีผลบังคับใชของลายเซ็นตอิเล็กทรอนิกส • มาตรา 7 และมาตรา 11: หามปฎิเสธการรับฟงพยานหลักฐานที่ เปนขอมูลอิเล็กทรอนิกส • มาตรา 35: การอนุญาต คําสั่งทางปกครอง หรือการดําเนินการใด ๆ ของหนวยงานของรัฐในรูปแบบอเลิ ็กทรอนสกิ สามารถใช  ไดถา ดําเนินการตามมาตรฐานที่กําหนดไว • มาตรา 9 และมาตรา 26: ลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกสมีผลบังคับ ใชไดถาสามารถระบุตัวตนของคนนั้น และทําโดยวิธีการที่สามารถ ยืนยันตัวตนของเจาของลายมือชื่อได หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ มิติของการคุมครองขอมูลสวนบุคคลเรื่องการทําขอมูลให ถูกตอง (Data Accuracy) และสิทธิในการเขาถึงขอมูล (Data Access) • มาตรา 28: ผูใหบริการออกใบรับรองลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกสจะตองดําเนินการใหขอมูลที่เกี่ยวกับการ ยืนยันตัวตนทางดิจิทัลเปนขอมูลที่ถูกตองและสมบูรณ และจัดใหมีวิธีการเขาถึงใหคูกรณีที่เกี่ยวของตรวจสอบ ขอเท็จจริงได


6. หลักการและมาตราที่สําคญของพระราชบั ัญญัติบัตรประจําตัว ประชาชน พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม 29 หลักการของกฎหมาย มิติของการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Personal Data Protection) กําหนดวิธีการ และรายละเอียดในการจัดทําบัตรประชาชน • มาตรา 7: ขอมูลที่อยูในบัตรจะตองประกอบไปดวย ชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยู ตามทะเบียนบาน รูปถาย และเลขประจําตัวประชาชน สวนขอมูลศาสนาจะมีหรือไม ก็ได • มาตรา 7/1: ขอมูลในหนวยความจํา (นอกเหนือจากที่ปรากฎบนบัตร) เชน ขอมูล ทะเบียนสมรถ ทะเบียนหยา หรือประวัติการเปลี่ยนชื่อ สกุล ฯลฯ จะไมสามารถ เปดเผยตอบุคคลภายนอกไดเวนแตเปดเผยตอหนวยงานของรัฐที่จําเปนตองทราบ ขอมูลนั้นโดยไดรับความยินยอมจากผูถือบัตร หรือเพื่อประโยชนของรัฐ หรือเพื่อ ความสงบเรียบรอยของบานเมือง หลักการ และ มาตราทีˑ สําคัญ 7. สรุปความสําคญและความเกั ี่ยวของของกฎหมายฉบับตาง ๆ กับการ คุมครองขอมูลสวนบุคคล 30 1. พระราชบัญญัติวาดวยการกระทาความผํ ิดทางคอมพิวเตอรพ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม มิติดานการคุมครองขอมูล (Data Protection) • หามการกระทําที่เปนการเปลี่ยนแปลงขอมูลของผูอื่น เชน การทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ • หามการลอกลวงใหผูอื่นหลงเชื่อในขอมูลที่สงผานในระบบคอมพิวเตอร มิติดานความมั่นคงปลอดภัย (Security) • ปองกันการเขาถึงหรือการเปดเผยโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร • มิ • สรุป หลักการ 2. พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภยไซเบอร ั พ.ศ. 2562 มิติดานการคุมครองขอมูล (Data Protection) • กําหนดหามพนักงานเจาหนาที่ที่ลวงรูขอมูลจากการปฏิบัติหนาที่แลวไปเปดเผยตอกับผูอื่น สรุป หลักการ 3. พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 3 มิติดานการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Personal Data Protection) • หนวยงานของรัฐตองจัดระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลใหมีการเก็บรวบรวมและใชเทาที่จําเปน ตามวัตถุประสงคตรวจสอบแกไขใหขอมูลถูกตองเสมอ และจัดระบบการ รักษาความปลอดภัย • การเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลไปใหหนวยงานของรัฐอื่นจะตองขอความยินยอมจากเจาของขอมูลเสียกอน เวนแตเปนการใชเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการจัดให มีขอมูลนั้น หรือเปนการปองกันการฝาฝนกฎหมาย • สรุป หลักการ


7. สรุปความสําคญและความเกั ี่ยวของของกฎหมายฉบับตาง ๆ กับการ คุมครองขอมูลสวนบุคคล 31 4. พระราชบัญญัติการบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดจิิทัล พ.ศ. 2562 มิติดานการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Personal Data Protection) • การเชื่อมโยงขอมูลสวนบุคคลเพื่อประโยชนในการบริการแผนดินระหวางหนวยงานของรัฐ สามารถขอขอมูลสวนบุคคลระหวางกัน หรือเชื่อมโยงขอมลกูันได มิติดานความมั่นคงปลอดภัย (Security) • การบริหารงานภาครัฐและการใหบริการของหนวยงานภาครัฐทางดิจิทัลจะตองมีการพัฒนามาตรฐาน สรางระบบความมั่นคงปลอดภัยในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล • ใหหนวยงานของรัฐดําเนินการใหมีระบบการรักษาความมั่นคงปลอดภัย (Security) ในการเขาสูบริการดิจิทัลตามธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ (Data Governance) ม • • สรุป หลักการ 5. พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกสิ พ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม มิติของการคุมครองขอมูลสวนบุคคลเรื่องการทําขอมูลใหถูกตอง (Data Accuracy) และสิทธิในการเขาถึงขอมูล (Data Access) • ผูใหบริการออกใบรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสจะตองดําเนินการใหขอมูลที่เกี่ยวกับการยืนยันตัวตนทางดิจิทัลเปนขอมูลที่ถูกตองและสมบูรณและจัดใหมีวิธีการ เขาถึงใหคูกรณีที่เกี่ยวของตรวจสอบขอเท็จจริงได สรุป หลักการ 6. พระราชบัญญัติบัตรประจําตวประชาชน ัพ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม 3 มิติดานการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Personal Data Protection) • ขอมูลที่อยูในบัตรจะตองประกอบไปดวย ชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยูตามทะเบียนบาน รูปถาย และเลขประจําตัวประชาชน สวนขอมูลศาสนาจะมีหรือไมก็ได • ขอมูลในหนวยความจํา (นอกเหนือจากที่ปรากฎบนบัตร) เชน ขอมูลทะเบียนสมรถ ทะเบียนหยา หรือประวัติการเปลี่ยนชื่อ สกุล ฯลฯ จะไมสามารถเปดเผยตอ บุคคลภายนอกไดเวนแตเปดเผยตอหนวยงานของรัฐที่จําเปนตองทราบขอมูลนั้นโดยไดรับความยินยอมจากผูถือบัตร หรือเพื่อประโยชนของรฐ หรั ือเพื่อความสงบ เรียบรอยของบานเมือง • สรุป หลักการ 7. สรุปความสําคญและความเกั ี่ยวของของกฎหมายฉบับตาง ๆ กับการ คุมครองขอมูลสวนบุคคล 32 พรบ.คุมครองขอมูลสวนบุคคล (PDPA): หลักการ พรบ.อื่น ๆ ที่มีการกําหนดการคุมครองขอมูลสวนบุคคล • พรบ. วาดวยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรพ.ศ. 2550 และที่แกไขเพิ่มเติม • พรบ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรพ.ศ. 2562 • พรบ. ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • พรบ. การบริหารงานและการใหบริการภาครัฐผานระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 • พรบ. วาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสพ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม • พรบ. บัตรประจาตํ ัวประชาชน พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติม PDPA เปนกฎหมายกลางดานการคุมครองขอมูลสวนบุคคล PDPA ม. 3: กําหนดใหบังคับใช PDPA เปนการเพิ่มเติมในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ถึงแมจะซํ้ากับกฎหมายอื่น ตัวอยาง: พรบ.ขอมูลขาวสารฯ กําหนดใหหนวยงานของรัฐจัดระบบการเก็บรวบรวมและใชขอมูลสวนบุคคลไดเทาที่จําเปน และตองมีมาตรการดานความมั่นคงปลอดภัย แตไมไดอธิบายวามาตรการเหลานั้นตองทําอยางไร ซึ่งกฎหมาย PDPA จะมี รายละเอียดในมาตรการเหลานั้น ทําใหหนวยงานของรัฐตองดําเนินการตาม PDPA เปนการเพิ่มเติม


33 หลักการและสาระสําคัญของพระราชบัญญัติค ุ  มครองข  อม ู ลสวนบ ุ คคล 34 Learning Content (LC) 2: หลักการและสาระสําคัญของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล 1. ที่มา ความสําคัญ ภาพรวมของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 และความเชื่อมโยงกับธรรมาภิบาลขอมูล ภาครัฐ 2. คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบุคคล 3. หลักการสาคํ ัญของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 4. หนาที่และความรับผิดชอบของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล (Data Controller) และผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Data Processor) 5. มาตราสําคัญของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 6. สิทธิของเจาของขอมูลและการจัดการคํารองขอของเจาของขอมูล (Data Subject Right and Subject Access Request) 7. หลักเกณฑการพิจารณาอนุมัติหรือปฏิเสธคํารองขอ 8. การตรวจสอบการดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล 9. การสงโอนขอมูลตามขอกาหนดของกฎหมายหรํ ือหนวยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวของ 10.สาระสําคัญของกฎหมายลําดับรองภายใตพ.ร.บ.ฯ ที่มีการบังคับใชแลว


35 36 1980 2010 2011-2012 2016 2019-2023 OECD Malaysia PDPA APEC ASEAN Thailand Years OECD Guidelines on the Protection of Privacy and Transborder Flows of Personal Data Personal Data Protection Act Cross-Border Privacy Rules (CBPR) 2011 Personal Data Protection Framework Personal Data Protection Act (PDPA 2019) Philippines Data Privacy Act 2012 Singapore EU General Data Protection Regulation (GDPR) Personal Data Protection Act 2012 Indonesia Personal Data Protection Act (PDPA 2022)


37 สร้างความเชืÉอมนัÉ (Trust) ยกระดบการธรรมาภั ิบาลข้อมลู (Better data governance) ยกระดบสั ่มาตรฐานสากล ู (Connecting with global standards) ความสําคัญในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ 38


คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ 39 คํานิยามของ: Data Privacy (ความเปนสวนตัวของขอมูล) v. Personal Data Protection (การคุมครองขอมูลสวนบุคคล) Data Privacy: สิทธิของปจเจกในการควบคุมการใชงานและการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของตน รวมถึงการ ใหองคกรใชงานขอมูลสวนบุคคลของตนใหปลอดภัย Personal Data Protection: การจัดการ (Management) การใชขอมูลสวนบุคคลใหเปนไปตามหลักเกณฑ ที่นโยบายองคกรและตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งตองสะทอนถึงการเคารพสิทธิในขอมูลสวนบุคคลของปจเจก EU (GDPR), Thailand (PDPA): Personal data protection คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ 40 คํานิยาม ของขอมูล สวน บุคคล ขอมูลสวนบุคคล Standard • ชื่อ นามสกุล • เพศ • อายุวันเดือนปเกิด • สถานภาพการสมรส • IP address • อีเมลสวนตัว พรบ. คุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA): ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให ํ สามารถระบุตัวบุคคลนั้น ไดไมวาทางตรงหรือทางออม แตไม รวมถึงขอมูลของผถูึงแกกรรมโดยเฉพาะ ขอมูลสวนบุคคล ขอมูลสวนบุคคลที่ออนไหว • เชื้อชาติ • ความคิดเห็นทางการเมือง • ความเชื่อในลัทธิศาสนา หรือปรัชญา • พฤติกรรมทางเพศ • ขอมูลสุขภาพ • ขอมูลพันธุกรรม • ขอมูลชีวภาพ • ขอมูลสหภาพแรงงาน • ประวัติอาชญากรรม ทั้ง Offline และ Online


คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ 41 ขอมูลดังตอไปนี้ถือเปนขอมูลสวนบุคคลหรือไม 1. ผูชายชาวไทย อายุ40 ป Discussion#1 2. ผูชายชาวไทย อายุ 40 ปมีตําแหนงเปนอาจารยกฎหมาย และรองคณบดีฝายวิชาการ คณะนิติศาสตรม. หอการคาไทย คํานิยามของการคุมครองขอมูลสวนบคคลุ 42 กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับการใชขอมูลสวนบุคคลที่ออนไหว พนักงานโรงพยาบาลหลายสิบคนเขาดูผลตรวจโรคของบุคคลผูมชีื่อเสยงในประเทศเนเธอร ี แลนดจนเรื่องไปสูสาธารณะวาบุคคลที่มีชื่อเสียงนนเป ั้ นโรคอะไร ทําใหบุคคลนั้นไดรับ ความอับอายและเสียชื่อเสยงี โรงพยาบาลจึงถูกปรับเพราะไมมีมาตรการดานองคกรในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Organisational measures) ที่จะปองกันไมใหขอมูลที่เปน Sensitive Data รั่วไหลออกไปสูคนภายนอก Haga Hospital in the Netherlands € 450,000 (17.6 Million THB) Basis: Insufficient technical and organisational measures to ensure information security


43 44 Data protection authority Data controller Data processor Data subject หนวยงานผูกํากับดูแล – สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ขอมูลสวนบุคคล (สคส.) ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล ผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล เจาของขอมูลสวนบุคคล


45 Data controller ขอมูลสวนบุคคลของ ผูรับบริการ ขอมูลสวนบุคคลของ ขอมูลสวนบุคคลของ คนที่มาติดตอ/คูสัญญา พนักงาน ยกตัวอยาง - บริษัทหรือหนวยงานภายนอกที่ Data Controller สั่ง หรือจางใหสํารวจ (Survey) ความพึงพอใจของ ผูรับบริการใหกับ Data Controller Data Processor สั่งการให Data Processor: ขอมูลสวนบุคคลของ ผูรับบริการ ขอมูลสวนบุคคลของ ขอมูลสวนบุคคลของ คนที่มาติดตอ/คูสัญญา พนักงาน เจาของขอมูลสวนบุคคล (Data Subject) ของ Data Controller บุคคลหรือนิติบุคคลที่มีอานาจํ “ตัดสินใจ” เก็บรวบรวม ใช หรือเปดเผยขอมลสูวนบคคลของุ : บุคคลหรือนิติบุคคลที่ดําเนินการ “ตามคําสั่งของ” Data Controller ในการเก็บรวบรวม ใชหรือเปดเผย ขอมูลสวนบุคคลของ Data Subject ของ Data Controller 46 ఎการใชขอมูลสวนบุคคลโดยสวนตัว (เพื่อประโยชนสวนตน: personal use) หรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของ บุคคล ఎการใชขอมูลสวนบุคคลเพื่อการดําเนินการของหนวยงานของรัฐที่มีหนาท ี่ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือความ ปลอดภัยของประชาชน ఎการใชขอมูลสวนบุคคลเพื่อกิจการสื่อมวลชน งานศิลปกรรม หรืองานวรรณกรรมอันเปนไปตามจริยธรรมแหงการ ประกอบวิชาชีพหรือเปนประโยชนสาธารณะ ఎการใชขอมูลสวนบุคคลเพื่อการดําเนินของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา รวมถึงคณะกรรมาธิการ ఎการใชขอมูลสวนบุคคลเพื่อการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล และการดําเนินงานตามกระบวนการยุติธรรม ఎการใชขอมูลสวนบุคคลเพื่อการดําเนินการกับขอมูลของบริษัทขอมูลเครดิตและสมาชิกตามกฎหมายวาดวยการ ประกอบธุรกิจขอมูลเครดิต ขอมูลสวนบุคคลที่เก็บไวกอนที่ PDPA มีผล บังคับใช(ม. 95) Data Controller สามารถเก็บรวบรวมและใช ขอมูลสวนบุคคลที่เก็บรวบรวมไวกอนวันที่ PDPA บังคับใชไดแตตอง: • เก็บรวมรวมและใชตามวัตถุประสงคเดิม • กําหนดวิธีการยกเลิกความยินยอม และ ประชาสัมพันธวิธีการยกเลิกความยินยอม ดังกลาวเพื่อใหคนที่ไมประสงคให Data Controller เก็บรวมรวมและใชขอมูลฯ เพื่อ วัตถุประสงคดังกลาวมาแจงยกเลิกไดโดยงาย *ถึงแมกิจกรรมขางตนจะไดรับยกเวน แตหนวยงานตองจัดใหมีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลใหเปนไปตามมาตรฐาน PDPA ไมใชบังคับกับ: Grandfathering Rule


การถายรูปเพื่อนรวมงานไปลงใน Social Media โดยเพื่อนรวมงาน ยินยอมแลว เรื่องนี้เขาขายตองดําเนินการใดๆ ภายใต PDPA หรือไม? ขอควรพิจารณา: Discussion#2 • เขาขอยกเวนเรื่องการใชขอมูลสวนบุคคลโดยสวนตัว (personal use) หรือไม? คําตอบ: เขาขอยกเวน (ซึ่งหมายถึง PDPA ไมบังคับใชในกรณีนี้) • แตถาเจาของขอมูลสวนบุคคลมาขอใหลบรูป ก็ควรเคารพสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคลดวย 47 YouTuber ที่ทํา Content ลง YouTube เปนอาชีพ ถายทํารายการ “กินแหลก” แตมีภาพของคนอื่น ๆ ที่มาทานอาหารใน Clip จํานวนหนึ่ง ที่มีภาพที่เห็นหนาและอิริยาบถของคนเหลานั้นชัดเจน YouTuber นั้น ตองเขาขายปฏิบัติตาม PDPA หรือไม? ขอควรพิจารณา: Discussion#3 • เขาขอยกเวนเรื่องการใชขอมูลสวนบุคคลโดยสวนตัว (personal use) หรือไม? คําตอบ: ไมเขาขอยกเวน (ซึ่งหมายถึง PDPA บังคับใชในกรณ  ีนี้) • YouTuber ถือเปน Data Controller ที่จะตองพิจารณาถึงความเปนสวนตัวของคนอื่น ๆ ที่ ติดมาจากการถายทํา เชน การเบลอหนาคนที่ไมเกี่ยวของ Photo source: thaismescenter.com 48


49 50 PDPA 1. Lawful processing and transparency มีความชอบ ธรรมและความโปรงใสในการ ประมวลผลขอมูลสวนบุคคล 2. Necessity and Purpose Limitation ใชขอมูลสวนบุคคลตาม วัตถุประสงคและเทาท ี่จําเปน 3. Data Accuracy ตองทําขอมูล สวนบุคคลใหถูกตองและเปน ปจจุบัน 4. Limitation of Storage มีระยะเวลาในการเก็บขอมูลสวน บุคคลที่แนนอน 5. Security มีมาตรการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม 6. Data Subject Rights เคารพสิทธิของเจาของ ขอมูลสวนบุคคล


• มีความโปรงใส (Transparency) ไดแกการแจงวัตถุประสงค การเก็บรวบรวมขอมูลใหกับ Data Subject • เก็บเทาที่จําเปนและเปนไปตามวัตถุประสงค(Necessity and Purpose) CUDS CUDS Data Life Cycle Management: C-U-D-S (การจัดการตามวงจรชวีิตของขอมลู ) เก ็ บ ใช เก ็ บรักษา เปดเผย • ใชขอมูลสวนบุคคล (ประมวลผล) โดยชอบธรรม (Lawful processing) • ใชขอมูลสวนบุคคลเทาที่จําเปนและเปนไปตาม วัตถุประสงคที่ไดแจงไวกับ Data Subject (Necessity and Purpose) • ทําขอมูลสวนบุคคลใหเปนขอมูลที่ถูกตอง (Data Accuracy) • เปดเผยโดยชอบธรรม (Lawful processing) • เปดเผยเทาที่จําเปนและเปนไปตามวัตถุประสงคที่ไดแจงไวกับ Data Subject (Necessity and Purpose) • เปดเผยอยางมีความมั่นคงปลอดภัย (Security) • เก็บรักษาขอมูลสวนบุคคอยางมั่นคงปลอดภัย (Security) • กําหนดระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวน บุคคล (Limitation of storage) เคารพสิทธิ Data Subject Rights บทบาท หนาที่และความรับผิดชอบของ Data Controller 51 52 ฐานทางกฎหมายสําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Lawful basis) ฐานทางกฎหมายสําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Lawful basis) หมายถึงการที่ Data Controller ตองสามารถอางความชอบธรรม (Lawful Basis) ในการประมวลผลขอมูลสวนบคคลใหุไดวาในแตละกิจกรรมที่ Data Controller ดําเนินการนั้นมีฐานการประมวลผลที่ชอบธรรมตามที่กม. PDPA กําหนดไวอยางไรဨ กม. PDPA กําหนดให Data Controller ตองมี Lawful Basis ในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล • Lawful basis สําหรับประมวลผลขอมูลสวนบุคคลแบบทั่วไป กําหนดใน ม. 24 • Lawful basis สําหรับประมวลผลขอมูลสวนบุคคลที่ออนไหว กําหนดใน ม. 26 โทษสําหรับ Data Controller ที่ไมมี Lawful basis ในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลนั้น ไดแก • สูงสุด 3 ลานบาท สําหรับการไมมี Lawful basis ในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลแบบทั่วไป (ม. 83) • สูงสุด 5 ลานบาท สําหรับการไมมี Lawful basis ในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลที่ออนไหว (ม. 84)


53 ฐานทางกฎหมาย (Lawful basis) สําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลทั่วไป (ม.24) ฐานการขอความยินยอม Consent #01 ฐานการระงับอันตรายตอชีวิต Vital Interest #02 ฐานการจัดทําเอกสารประวัติศาสตรเพื่อประโยชนสาธารณะหรือการวิจยั Historical Archive & Research #03 ฐานจําเปนเพื่อปฏิบัติตามสัญญา Contract #04 ฐานปฏิบัติตามกฎหมาย Legal Obligation #05 ฐานผลประโยชนอันชอบธรรมที่ไมละเมิด สิทธิขั้นพื้นฐานของ Data Subject Legitimate Interest #06 ฐานภารกิจรัฐหรือฐานเพื่อประโยชนสาธารณะ Public Task #07 54 ฐานทางกฎหมาย (Lawful basis) สําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล • กระทรวงยุติธรรมเก็บขอมูลประชาชนเพื่อภารกิจการใหคําปรึกษาปญหากฎหมายแกประชาชน และตองมีการเปดเผยขอมูลสวน บุคคลไปใหบุคลากรในกระทรวงเพื่อใหคําปรึกษาปญหากฎหมายแกประชาชนดังกลาว • กระทรวงยุติธรรมใชขอมูลสวนบุคคลตามฐานความชอบธรรมในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Lawful Basis) ฐานใด? Discussion#4 ตอบ: ฐานภารกิจรัฐ (Public Task)


55 ฐานทางกฎหมาย (Lawful basis) สําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล การใชกลอง CCTV ตรวจตราความเรียบรอยขององคกรในการปองกันเหตุอันไมพึงประสงคเปนการใชขอมูลสวนบุคคลตามฐาน ความชอบธรรมในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Lawful Basis) ฐานใด? Discussion#5 ตอบ: ฐานผลประโยชนอันชอบธรรม (Legitimate Interest) ซึ่งการใชขอมูลสวนบุคคลในกิจกรรมนี้ตองไมละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของ Data Subject 56 ฐานทางกฎหมาย (Lawful basis) สําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลที่ ออนไหว (ม. 26) ฐานการขอความยินยอมโดยชัดแจง Explicit Consent #01 ฐานการระงับอันตรายตอชีวิต Vital Interest #02 ฐานจําเปนเพื่อปฏิบัติตามสัญญากับ ผูประกอบวิชาชีพทางการแพทย Medical Contract #04 ฐานจําเปนเพื่อกอตั้งสิทธิเรียกรอง ตามกฎหมาย Claim of Legal Rights #05 ฐานจําเปนในการปฏิบัติตาม กฎหมายเพื่อประโยชนดาน การแพทยดานสาธารณสุข การ คุมครองแรงงาน การศึกษาวิจัย และ ประโยชนสาธารณะที่สําคัญ Legal Obligations with Specific Purposes #06 ฐานการเก็บรวบรวมประวัติอาชญากรรมภายใตการควบคุมของ หนวยงานที่มีอํานาจดานกฎหมาย Criminal Records #07 ฐานดําเนินกิจกรรมโดยชอบดวย กฎหมายที่มีวัตถุประสงคเกี่ยวกับ การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือ สหภาพแรงงาน Special Objectives #03


57 ฐานทางกฎหมาย (Lawful basis) สําหรับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล นาย ก. ไปรักษาโรค Covid 19 ซึ่งโรงพยาบาลตองสงขอมูลนาย ก. ซึ่งเปนคนไขไปใหกรมควบคมโรคุกระทรวงสาธารณสุข ตาม พรบ.โรคติดตอพ.ศ. 2558 เพื่อใหกระทรวงฯ เก็บเปนขอมูล สถิติและวางแผนการลดการแพรกระจายของเชื้อ คําถาม: • โรงพยาบาลมความชอบธรรมี (Lawful Basis) ในการเปดเผยขอมูลการติดเชื้อ Covid 19 ของนาย ก. ใหกับกรมควบคุมโรคหรือไม? Discussion#6 คําตอบ: • มี Lawful basis ในเรื่องฐานจําเปนในการปฏิบัติตาม กฎหมายเพื่อประโยชนดานการแพทยดานสาธารณสขุ (Legal Obligations with Specific Purposes) 58 ดําเนินการตามคําสั่งที่ไดรับจากผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล จัดใหมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม แจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคลให data controller ทราบ ทําบันทึกรายการการประมวลผลขอมูล (RoPA) (ถาเปนไปตามเกณฑตองจัดทํา) Data processor Data controller แตงตั้ง DPO (ถาเปนไปตามเกณฑตองแตงตั้ง) เชน บริษัท A ไดรับการวาจางโดย data controller ใหสํารวจขอมูผูรับบริการของ Data Controller บริษัท A = Data processor หนาที่ของ Data processor ดําเนินการตามคําสั่งที่ไดรับจากผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล จดใัหมมาีตรการรักษาความมั่นคงปลอดภยทั ี่เหมาะสม แจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคลใหdata controller ทราบ ทําบันทึกรายการการประมวลผลขอมูล (RoPA) (ถาเปนไปตามเกณฑตองจัดทํา) แตงตั้ง DPO (ถาเปนไปตามเกณฑตองแตงตั้ง) หนาที่ของ Data processor “สั่งการ หรือจางให Data Processor ดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล”


59 • หนวยงาน ก. จางบริษัท ABC ใหเปน Data Warehouse (เก็บขอมูลของผูรับบริการของหนวยงาน ก. ไวในฐานขอมูลทั้ง Online และ Offline) เนื่องจากหนวยงาน ก. ไมมีสถานที่เก็บขอมูล • ตอมามีขโมยมาบุกรุกโกดังเก็บขอมูลของบริษัท ABC เนื่องจากบริษัทไมไดลอกกุญแจโกดังไวและเอา ขอมูลใบสมัคร+สําเนาบัตรประชาชนของผูรับบริการของหนวยงาน ก. ไปไดถึง 5,000 ราย และตอนนี้ ตามหาขอมูลเหลานั้นคืนมาไมได • หนวยงาน ก. บอกวาบริษัท ABC ในฐานะผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคลมความผี ิดตาม PDPA ดวย แต บริษัท ABC บอกบริษัทแคเก็บขอมูล ไมไดมีการประมวลผล จึงไมถือเปนผูประมวลผลขอมลสูวนบุคคล ตาม PDPA จึงไมตองรับผิด Discussion #7 คําถาม: บริษัท ABC มีความผิดตาม PDPA หรือไม คําตอบ: บริษัท ABC มีความผิดตาม PDPA ในฐานะผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล เนื่องจากมีหนาที่ตองมีมาตรการ รักษาความมั่นคงปลอดภัย (Security) ที่เหมาะสม 5. มาตราสําคัญของพระราชบญญั ัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 60


มาตราสําคัญที่กําหนดหนาที่ของ Data Controller ตามกฎหมาย PDPA Data controller จัดใหมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม Appropriate Security (ม.37 (1)) ปองกนมั ิใหบุคคลหรือองคกรอื่นที่รับขอมูลจาก data controller นําขอมูล ไปใชหรือเปดเผยโดยมิชอบ Preventing others from unlawful use or disclosure: (ม.37(2)) มีการตรวจสอบเพื่อลบขอมูลที่ไมจําเปน และมีการจัดการสิทธิเจาของขอมูลสวนบุคคล Data Check and Data Subject Rights Management: (ม.37(3)) แจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคลใหผูกํากับดูแลทราบภายใน 72 ชั่วโมง Breach Notification: ม.37 (4)) ทําบันทึกรายการกจกรรมทิ ี่ใชขอมูลสวนบุคคล Records of Processing Activity (RoPA) (ม.39) ทําสัญญาประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Data Processing Agreement) หนวยงาน B ไดรับการวาจางโดย Data Controller ให สํารวจขอมูลผูรับบริการของ Data Controller บริษัท B = Data processor Data processor แจงวัตถุประสงคการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล Privacy Notice (ม.23) แตงตั้งเจาหนาที่คุมครองขอมูลสวนบุคคล - DPO (ม.41) 1 3 5 6 7 9 10 หนาที่ของ Data Controller ตามกฎหมาย PDPA 1 แจงวัตถุประสงคการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล Privacy Notice (ม.23) 3 มีการตรวจสอบเพ่อลบขื อมูลที่ไมจําเปน และมีการจัดการสิทธิเจาของขอมูลสวนบุคคล Data Check and Data Subject Rights Management: (ม.37(3)) ทําบันทึกรายการกจกรรมทิ ี่ใชขอมูลสวนบุคคล Records of Processing Activity (RoPA) (ม.39) แตงตั้งเจาหนาที่คุมครองขอมูลสวนบุคคล - DPO (ม.41) 9 10 จัดใหมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม Appropriate Security (ม.37 (1)) ปองกนมั ิใหบุคคลหรือองคกรอื่นที่รับขอมูลจาก data controller นําขอมูล ไปใชหรือเปดเผยโดยมิชอบ Preventing others from unlawful use or disclosure: (ม.37(2)) แจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคลใหผกูํากับดูแลทราบภายใน 72 ชั่วโมง Breach Notification: ม.37 (4)) 5 6 7 เปนธรรมและ โปรงใส เก็บ ใชเปดเผยเทาที่ จําเปน และเปนไปตาม วัตถุประสงคที่ไดแจงไว มีความมั่นคง ปลอดภัย มีการกํากับดูแลที่ดตามี การธรรมาภิบาลขอมูล และเคารพสิทธิของ Data Subject เก็บ ใชเปดเผยเทาที่จําเปนและตามวัตถุประสงคPurpose Limitation (ม.22, 27) 4 ทําขอมูลสวนบุคคลใหถูกตอง Data Accuracy (ม.35) 8 2 มีความชอบธรรมในการประมวลผล Lawful basis (ม.24, 26) 61 การลงโทษผ ู ไมปฏิ บ ั ต ิ ตาม 1. ความรับผิดทางแพง (ม.77-78) • (เมื่อมีการเรียกรองโดยผูเสียหายผานกระบวนการทางศาลยุติธรรมเทานั้น) คาสินไหมทดแทนจากความเสียหายที่ไดรับจริง แตไมเกินสองเทาของคาส ินไหม ทดแทนที่แทจริง 2. โทษทางอาญา (ม.79-81) โทษจําคุก 6 เดือน - 1 ปและโทษปรับ 5 แสน - 1 ลานบาท) • (เฉพาะกรณีที่เขาองคประกอบความผิดทางอาญาเทานั้น) มีโทษอาญาถาความผิดเรื่อง (1) แสวงหาผลประโยชนจากขอมูล หรือ (2) ทําใหเกิดการเสียชื่อเสียง ถูกดู หมิ่น เกลียดชัง หรือไดรับความอับอายจากการใชขอมูลสวนบุคคลที่ออนไหว • โทษอาญาสามารถยอมความได 3. การปรับทางปกครอง (ม.82-90) (1-5 ลานบาท) • คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญมีอํานาจสั่งโทษปรับทางปกครองไดโดยคํานึงถึงความรายแรงของพฤติกรรม ขนาดของกิจการ ฯลฯ โดยอาจตักเตือนกอนก็ได (ม. 90) 62


เจาหนาที่หนวยงาน ก. เปนเจาหนาที่ฝาย HR มีการสง Email ที่แนบไฟลเงินเดือนของเจาหนาที่รายอื่นจํานวน 1 ราย ไปยังบุคคลภายนอกที่ไมเกี่ยวของจํานวน 10 ราย จนถูกมิจฉาชีพนําไปปลอมเอกสารทําใหเจาหนาที่รายนั้นดีรับความเสียหาย ในกรณีนี้หนวยงาน ก. ผิด หรือ เจาหนาที่ฝาย HR ที่ทําการสง Email เปนคนผิด? Discussion#8 ประเด็นที่ตองพิจารณาคือ • หนวยงาน ก. รับผิด? • เจาหนาที่ตองรับผิด? คําตอบ: • หนวยงาน ก. รับผิด แตจะมากจะนอย ขึ้นอยูกับมาตรการของหนวยงานในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ประกอบไปดวย หลักฐานดานการดําเนินการ เชน หลักฐานเรื่องการบังคับใชนโยบายคุมครองขอมูลสวนบุคคล หรือหลักฐานการจัดอบรม ฯลฯ • เมื่อหนวยงาน ก. รับผิดไปแลว สามารถไลเบี้ยกับเจาหนาที่ที่กระทําความผิดไดเชน การลงโทษกับเจาหนาที่คน นั้นตามระเบียบภายใน และ/หรือลงโทษทางวินัย • นอกจากนี้หนวยงาน ก. มีหนาที่ตองแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคลนี้ใหสคส. (ตามหนาที่ใน ม. 37 (4)) Photo source: verticalresponse.com 63 ผูที่อาจมีความรับผิด หนวยงาน (ในฐานะ Data Controller หรือ Data Processor): o ถาหนวยงานไมสามารถพิสูจน (โดยหลักฐาน) ไดวา มีมาตรการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่เปนไปตาม PDPA หนวยงาน (ในฐานะ Data Controller หรือ Data แนวทางการลงโทษ หนวยงานตองจัดใหมีมาตรการตามที่กฎหมาย PDPA กําหนด มาตรการที่สคส. จะทํามาพิจารณาโทษปรับปกครอง ดูจากพฤติกรรมของ หนวยงาน (ม. 8. ประกาศฯ เรื่องแนวทางพิจารณาโทษปรับปกครอง) ใน ดานตอไปน:ี้ • เจตนาหรือความจงใจในการกระทําผิด • ความระมัดระวัง • มูลคาความเสียหายและความรายแรงของเหตุ • ระดับความรับผิดชอบและมาตรฐานดาน PDPA ขณะที่เหตุเกิด • การดําเนินการตามแนวปฏิบัติทางธุรกิจ หรือมาตรฐานดานความมั่นคง ปลอดภัย • การเยียวยาและบรรเทาเหตุขณะที่เหตุเกิดขึ้น หนวยงานตองจดใหมมาตรการตามทกฎหมาย   ัใ ี ี่ PDPA กาหนดํ 64 บุคลากรในหนวยงานที่กระทําการใหหนวยงานตองรับผิด: o หนวยงานที่รับผิดไปสามารถไลเบี้ยกับเจาหนาที่ที่ กระทําความผิดไดเชน การลงโทษกับเจาหนาที่คน นั้นตามระเบียบภายใน และ/หรือลงโทษทางวินัย


6. สิทธิของเจาของขอมูลและการจัดการคํารองขอของเจาของ ขอมูล (Data Subject Right and Subject Access Request) 65 เจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิดังตอไปนี้ + สิทธิในการเพิกถอนความยินยอมที่เคยใหไวเมื่อใดก็ได + สิทธิขอเขาถึงขอมูลสวนบุคคลและขอรับสําเนาขอมูลสวนบุคคล (Right of access) + สิทธิในการขอแกไขใหขอมูลสวนบุคคลมีความถกตูอง (Right to Rectification) + สิทธิขอใหลบหรือทําลาย หรือทําใหขอมูลสวนบุคคลเปนขอมูลทไมี่สามารถระบุตัวบุคคล (Right to erasure) + สิทธิในการระงับการใชขอมูลสวนบุคคล (right to restrict processing) + สิทธิในการขอใหโอนขอมูลสวนบุคคลไปยัง data controller อื่น (Right to data portability) + สิทธิขอคัดคานการเก็บรวบรวม ใชหรือเปดเผยขอมูลสวนบุคคล (Right to object) สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล (Data Subject Rights) 66


7. หลักเกณฑการพิจารณาอนุมัติหรือปฏิเสธคํารองขอ 67 Flow ทั่วไปในการจัดการคําขอเรื่องสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล (Data Subject Rights Management) 68


ฐานการใชขอมูล (1) ขอถอน ความ ยินยอม (ม.19) (2) ขอเขาถึง ขอมูลสวน บุคคล (ม. 30)* (3) ขอแกไข ขอมูลสวน บุคคลใหถูกตอง (ม.35) (4) ขอลบขอมูลสวนบุคคล (ม.33)* (5) ขอระงับการใชขอมูล (ม.34)* (6) ขอโอนยาย ขอมูลสวนบุคคล (ม.31)* (7) ขอคัดคาน การเก็บรวบรวม ขอมูล (ม.32) ไดรับความยินยอม (ม.24 หรือ ม.26) ได ได ได ได ได ได ได การศึกษาวิจัย หรือสถิติ(ม.24 (1)) N/A ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล ไมได ได***  ระงับอันตรายตอชีวิต (ม.24 (2)) N/A ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล ไมได ไมได เปนการกระทําตามสัญญา (ม.24 (3)) N/A ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล ไดโดยมีเงื่อนไข* ไมได อํานาจรัฐ/ประโยชนสาธารณะ (ม.24 (4)) N/A ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล** ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล** ไมได ได***  ผลประโยชนอันชอบดวยกฎหมาย (ม.24 (5)) N/A ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล** ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล** ไมได ได***  ปฏิบัติตามกฎหมาย (ม.24 (6)) N/A ไมได ได ไมได ไมได ไมได ไมได ทําการตลาดแบบตรง ได ได ได ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปน ในการใชขอมูล ไดเฉพาะกรณีที่หมดความจําเปนในการ ใชขอมูล ไมได ได N/A = ใชไมไดกับทางเลือกนี้ (Not applicable) * คณะกรรมการอาจประกาศหลักเกณฑเพิ่มเติม ** ถาหากจะปฏิเสธคําขอจะตองบันทึกการปฏิเสธพรอมใหเหตุผล *** เวนแตมีเหตุอันชอบดวยกฎหมายที่สําคัญกวาหรือเพื่อปฏิบัติตาม กฎหมายหรือกอตั้งสิทธิเรียกรองตามกฎหมาย และถาผูควบคุมขอมูลปฏิเสธการคัดคาน ตองบันทึกการปฏิเสธพรอมใหเหตุผล 69 8. การตรวจสอบการดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล 70


Protect: 4. Policies (การจัดทํานโยบายในองคกร) 5. Protecting personal data (การคุมครองขอมูลสวนบุคคล) Assess: 3. Data assessment (การประเมินการใชงานและความเสี่ยงของขอมูล) Sustain: 6. Training and awareness (การอบรมและสรางความตระหนัก) 7. Measuring, monitoring, and auditing programme performance (ประเมินผลการดําเนินงาน การติดตาม และปรับปรุงแกไขแผนงาน) Respond: 8. Data subject rights (สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล) 9. Data breach incident plans (แผนการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคล) G-APSR Governance: 1. Policy governance (ออกแผนงานองคกรในการจัดการขอมูล) 2. Applicable laws and regulations (ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของทั้ง PDPA และกฎหมายของ Sector/ business) G-APSR 71 Privacy Operational Life Cycle: G-APSR (การจัดการตามวงจรดานการปฏิบัติการ) Data Governance Framework Checklist Checklist ในการดําเนินงานเพื่อใหกํากับติดตามไดอย างครบถวน กําหนดหนาที่และความ รับผิดชอบของ ผูดําเนินการดาน PDPA ขององคกร ระบุความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้นจากจากการ ดําเนินงาน มีการอบรม บุคลากร มีกระบวนการแจง เหตุละเมิดขอมูล สวนบุคคล ระบุ Gap ในการ จัดการดาน Privacy มีแผนการติดตามการ ดําเนินงานดาน PDPA ขององคกร สื่อสารและ Update นโยบายใหคนในองคกร และบุคคลภายนอก ดําเนินมาตรการที่ PDPA กําหนด มีกระบวนการรับ เรื่องรองเรียนและ การจัดการสิทธิของ เจาของขอมูลสวน บุคคล Governance Assess/ Protect Sustain Respond สํารวจการใชขอมูล ขององคกร 72


9. การสงโอนขอมูลตามขอกาหนดของกฎหมายหรํ ือหนวยงานกากํ ับดูแลที่เกยวขี่อง 73 • มีความโปรงใส (Transparency) ไดแกการแจงวัตถุประสงค การเก็บรวบรวมขอมูลใหกับ Data Subject • เก็บเทาที่จําเปนและเปนไปตามวัตถุประสงค(Necessity and Purpose) CUDS CUDS Data Life Cycle Management: C-U-D-S (การจัดการตามวงจรชวีิตของขอมลู ) เก ็ บ ใช เก ็ บรักษา เปดเผย • ใชขอมูลสวนบุคคล (ประมวลผล) โดยชอบธรรม (Lawful processing) • ใชขอมูลสวนบุคคลเทาที่จําเปนและเปนไปตาม วัตถุประสงคที่ไดแจงไวกับ Data Subject (Necessity and Purpose) • ทําขอมูลสวนบุคคลใหเปนขอมูลที่ถูกตอง (Data Accuracy) • เปดเผยโดยชอบธรรมโดยมีฐานกฎหมายที่ใหเปดเผยได(Lawful processing) • เปดเผยเทาที่จําเปนและเปนไปตามวัตถุประสงคที่ไดแจงไว กับ Data Subject (Necessity and Purpose) • เปดเผยอยางมีความมั่นคงปลอดภัย (Security) • เก็บรักษาขอมูลสวนบุคคอยางมั่นคงปลอดภัย (Security) • กําหนดระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวน บุคคล (Limitation of storage) เคารพสิทธิ Data Subject Rights บทบาท หนาที่และความรับผิดชอบของ Data Controller เปดเผย • เปดเผยโดยชอบธรรมโดยมฐานกฎหมายที่ใหี เปดเผยได(Lawful processing) • เปดเผยเทาที่จําเปนและเปนไปตามวัตถุประสงคที่ไดแจงไวกับ Data Subject (Necessity and Purpose) • เปดเผยอยางมีความมั่นคงปลอดภยั (Security) 74


การโอนข อม ู ลสวนบุคคลข  ามพรมแดน 1. กรณีทั่วไป (ม.28): ประเทศผูรับขอมูลตองมีมาตรฐานคมครองขุ อมูลสวนบุคคลที่เพียงพอตามที่สคส. กําหนด หรือมี มาตรการคุมครองที่เหมาะสมตามที่กฎหมายกําหนด หรือเขาขอยกเวนที่ทําใหโอนขอมูลไปได สงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลขามพรมแดน (กรณีทั่วไป) 1. มาตรฐานคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่เพียงพอของประเทศปลายทาง (Adequacy) หรือ 2. เขาขอยกเวน สงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลระหวางกิจการในเครือ (Intra-Group Transfer) 2. มีมาตรการคุมครองที่เหมาะสม 1. Binding Corporate Rules (BCRs) หรือตางประเทศหรือองคการ ระหวางประเทศ กิจการหรือธุรกิจใน เครือในตางประเทศ ผูควบคุมขอมูลสวน บุคคลในไทย ผูควบคุมขอมูลสวน บุคคลในไทย 1 2 เป็นการปฏบิตัตามกฎหมายิ ไดร้บความยันยอมจากเจิาของข้อมู้ล การปฏบิตัตามสิญญาซังÉึ data subject เป็น ค่สู ญญาัหรอดืาเนํ ินการตามคาขอขอํ data subject ก่อนเขาท้าสํญญาั ทาตามสํญญาระหวัาง่ ผควบคูุ้มขอม้ลกูบบัุคคลหรอนื ิตบิุคคลอÉนื เพÉอประโยชน ื ์ของ data subject เพÉอปื ้องกนหรัอระงืบอันตรายตั ่อชวีติ ร่างกายหรอสืุขภาพ ประโยชน์สาธารณะ ทสÉีาคํญั เป็นการปฏบิตัตามกฎหมาิย ไดร้บความยันยอมจากเจิาของข้อมู้ล การปฏบิตัตามสิญญาซังÉึ data subject เป็น ค่สู ญญาัหรอดืาเนํ ินการตามคาขอขอํ data subject ก่อนเขาท้าสํญญัา ทาตามสํญญัาระหวา่ง ผควบคูุ้มขอม้ลกูบบัุคคลหรอนื ิตบิุคคลอÉนื เพÉอประโยชน ื ์ของ data subject เพÉอปื ้องกนหรัอระงืบอันตรายตัอช่วีติ ร่างกายหรอสืุขภาพ ประโยชน์สาธารณะ ทสÉีาํคญั 2. กรณีโอนขอมูลสวนบุคคลระหวางกิจการในเครอื (ม.29): องคกรจะตองกําหนดนโยบายในการคุมครองขอมูล สวนบุคคล (Binding Corporate Rules) ที่ไดรับการตรวจสอบและรบรองจาก สคสั . หรือมมาตรการที ี่เหมาะสม รวมทั้งมีมาตรการเยียวยาทางกฎหมายที่มประส ีทธิ ิภาพ เชน มีการจัดทําสัญญาโอนขอมูลสวนบุคคลระหวาง องคกร ตองใหสคส. รับรอง 75 10. สาระสําคญของกฎหมายลั ําดับรองภายใตพ.ร.บ.ฯ ที่มีการบังคับใชแลว 76


Timeline of PDPA 2565 2566 PDPA กฎหมายลําดับรอง ประมาณ 20+ ฉบับ แนวปฏิบัติ กฎหมายบังคับใช1 มิ.ย. 2565 ประกาศใชแลว: - เกณฑการยกเวนการบันทึก records of processing activity สําหรับองคกรบาง ประเภทและ SMEs - หลักการบันทึก records of processing activity สําหรับผูประมวลผลขอมูลสวน บุคคล - มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสําหรับผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล - เกณฑการพิจารณาการออกคําสั่งโทษทางปกครอง - หลักการและขั้นตอนการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคล จัดทําโดย สคส. - การขอความยินยอม - การแจงวัตถุประสงคในการเกบ็ รวบรวมขอมูลสวนบุคคล (Privacy Notice) - คูมือ PDPA สําหรับประชาชน - คูมือ PDPA สําหรับ SMEs จัดทําโดยภาคธุรกิจ - Thai bank association - Thai life insurance association - Association of investment management companies - Thai general insurance association - Association of Thai securities companies แนวปฏิบัติ Sector-Specific จัดทําโดย สคส. (อยูใน Timeline สําหรับการ ประกาศใชในป 2566): - Healthcare - Tourism - Education - Transportation - Retail and e commerce - Real estate - Government อยูใน Timeline สําหรับการประกาศใชในป 2566 - หลักการโอนขอมูลสวนบุคคลขามพรมแดน - การจัดตั้ง DPO และคุณสมบัติของ DPO - ฯลฯ 77 กฎหมายลําดับรองภายใตพ.ร.บ.ฯ ที่มีการบังคับใชแลว 1. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง การยกเวนการบันทึกรายการของผูควบคุมขอมูลสวน บุคคลซึ่งเปนกิจการขนาดเล็ก พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันท 21 ี่มิถุนายน 2565 เปนตนไป) 2. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการในการจัดทําและเก็บรักษาบันทึก รายการของกิจกรรมการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลสําหรับผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2565 (มี ผลใชบังคับในวันที่ 17 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) 3. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผูควบคุม ขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป  ) 4. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาออกคําสั่งลงโทษปรับทาง ปกครองของคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) 5. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักการและวิธีการในการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวน บุคคล (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) 78


1. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง การยกเวนการบันทึกรายการของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลซึ่ง เปนกิจการขนาดเล็ก พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) 79 “การบันทึกรายการ” หมายถึงการบันทึกรายการกิจกรรมการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (Records of Processing Activities: ROPA) – ม. 39 ของ PDPA • หนวยงานที่เปนผูควบคุมขอมลสูวนบุคคล (Data Controller) ตองบันทึกกิจกรมการใชขอมูลสวนบุคคลของ หนวยงานเพื่อใหเจาของขอมลสูวนบุคคล หรือ สคส. ตรวจสอบได (กลาวคือ การบันทึกวาแตละกิจกรรมของ หนวยงานมีการใชขอมูลสวนบุคคลอยางไรบาง) โดยในแตละกิจกรรม ตองมีการบันทึกรายการเหลานี้เปนอยางนอย: • ขอมูลสวนบุคคลที่มีการเก็บรวบรวม • วัตถุประสงคของการเก็บรวบรวม • ขอมูลเกี่ยวกับผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล • ระยะเวลาเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล • สิทธิและวิธีการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล • การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลใหบุคคลภายนอก หรือองคกรภายนอก • การปฏิเสธคําขอใชสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล • มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย 1. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง การยกเวนการบันทึกรายการของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลซึ่ง เปนกิจการขนาดเล็ก พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) กิจการขนาดเล็กที่ไดรับการยกเวนไมตองท ําบันทึกรายการ (การประมวลผลขอมูลสวนบคคลุ RoPA) ไดแก • วิสาหกิจขนาดยอมหรือวิสาหกิจขนาดกลางตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม • วิสาหกิจชุมชนหรือเครือขายวิสาหกิจชุมชน • วิสาหกิจเพื่อสังคมหรือกลุมกิจการเพื่อสังคม • สหกรณชุมนุมสหกรณหรือกลุมเกษตรกรตามกฎหมายวาดวยสหกรณ • มูลนิธิสมาคม องคกรศาสนา หรือองคกรที่ไมแสวงหากําไร • กิจการในครัวเรือนหรือกิจการอื่นในลักษณะเดียวกัน 80


2. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการในการจัดทําและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลขอมูลสวน บุคคลสําหรับผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับในวันที่ 17 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) ผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล ตองจัดทําบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ • ชื่อและขอมูลเกี่ยวกับผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล • ชื่อและขอมูลเกี่ยวกับผูควบคุมขอมลสูวนบุคคลที่ผประมวลผลขู อมูลสวนบุคคลรับจางดําเนินการให • ชื่อและขอมูลเกี่ยวกับเจาหนาที่คุมครองขอมูลสวนบุคคล (ถาเขาขายตองมีตามกฎหมายลาดํ ับรองประกาศ) • ประเภทหรือลักษณะของกิจกรรมการประมวลผล รวมถึงขอมูลสวนบุคคล และวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวม ใชหรือเปดเผย • ประเภทของหนวยงานที่ไดรับขอมูล ในกรณีที่มีการสงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลไปยงตั างประเทศ • คําอธิบายเกี่ยวกับมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย 81 82 3. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) มาตรการดาน Security ตองครอบคลุมประเด็นตอไปนี้ 1. มาตรการดานการรักษาความมั่นคงปลอดภยทั ั้งมาตรการเชิงองคกร (Organizational Measures) และมาตรการเชิงเทคนิค (Technical Measures) รวมถึง • การแฝงขอมูล (Pseudonymization) หรือการเขารหัส (Encryption) • มีการธํารงไวซึ่งความลับของขอมูล (Confidentiality) ความถูกตองของขอมูล (Integrity) และสภาพที่พรอมใชงาน (Availability) • มีการทดสอบและประเมินความมีประสิทธิภาพของมาตรการเชิงองคกร (Organizational Measures) และมาตรการเชิงเทคนิค (Technical Measures) 2. มาตรการจัดการดานการเข าถึง (Access) รวมถึง • ตองควบคุมการเขาถึงอุปกรณ • มีการอนุญาตการเขาถึงของผูใช (User) • มีการบริหารจัดการการเขาถึงได • กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของผูใช (User) • มีวิธีการตรวจสอบยอนหลังไดวาใครเขาถึง เปลี่ยนแปลง ลบ หรือโอนขอมูล 3. แจงมาตรการ Security นใหี้แกบุคลากร พนักงาน ลูกจาง หรือคนที่เกี่ยวของ และสรางความตระหนักรูใหเห็นถึงความสําคัญ


83 4. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาออกคําสั่งลงโทษปรับทางปกครองของคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) 84 4. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาออกคําสั่งลงโทษปรับทางปกครองของ คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565 (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2565 เปนตนไป) ผูที่อาจมีความรับผิด หนวยงาน (ในฐานะ Data Controller หรือ Data Processor): o ถาหนวยงานไมสามารถพิสูจน (โดยหลักฐาน) ไดวา มีมาตรการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่เปนไปตาม PDPA หนวยงาน (ในฐานะ Data Controller หรือ Data แนวทางการลงโทษ หนวยงานตองจัดใหมีมาตรการตามที่กฎหมาย PDPA กําหนด มาตรการที่สคส. จะทํามาพิจารณาโทษปรับปกครอง ดูจากพฤติกรรมของ หนวยงาน (ม. 8. ประกาศฯ เรื่องแนวทางพิจารณาโทษปรับปกครอง) ใน ดานตอไปนี้: • เจตนาหรือความจงใจในการกระทําผิด • ความระมัดระวัง • มูลคาความเสียหายและความรายแรงของเหตุ • ระดับความรับผิดชอบและมาตรฐานดาน PDPA ขณะที่เหตุเกิด • การดําเนินการตามแนวปฏิบัติทางธุรกิจ หรือมาตรฐานดานความมั่นคง ปลอดภัย • การเยียวยาและบรรเทาเหตุขณะที่เหตุเกิดขึ้น หนวยงานตองจดใหมมาตรการตามทกฎหมา   ัใ ี ี่ย PDPA กาหนํด บุคลากรในหนวยงานที่กระทําการใหหนวยงานตองรับผดิ: o หนวยงานที่รับผิดไปสามารถไลเบี้ยกับเจาหนาที่ที่ กระทําความผิดไดเชน การลงโทษกับเจาหนาที่คน นั้นตามระเบียบภายใน และ/หรือลงโทษทางวินัย


1 2 3 Data Controller รับทราบ เหตุและประเมินแลววามี Data Breach DPO แจง สคส. และ/หรือ Data Subject ตาม (1) หรือ (2) พรอมบันทึกรายละเอียดเหตุที่ เกิดขึ้น DPO รายงานผูบริหาร และรวมกับฝายที่เกี่ยวของเพื่อประเมินความเสี่ยงที่มี ผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของเจาของขอมูลสวนบุคคล (1) มีความเสี่ยง: - DPO ตองแจง สคส. พรอมรายละเอียด (2) มีความเสี่ยงสูง: - DPO ตองแจง สคส. + Data Subject พรอมรายละเอียดและแนวทางการเยียวยา ภายใน 72 ชั่วโมง ไมมีความเสี่ยง: - DPO ไมมีหนาที่ตองแจง สคส. 5. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักการและวิธีการในการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคล (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) 85 5. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักการและวิธีการในการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคล (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) 86


5. ประกาศคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เรื่อง หลักการและวิธีการในการแจงเหตุละเมิดขอมูลสวนบุคคล (มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 เปนตนไป) 87 88 THANK YOU. ผศ.ดร.ประพนธั พงษขําออน รองคณบดีฝายวิชาการ คณะนิติศาสตรมหาวิทยาลัยหอการคาไทย


Click to View FlipBook Version