การตดิ ตามความก้าวหน้าผลการปฏิบตั ิงาน
ตามประเด็นแผนการตรวจราชการ
ของผู้ตรวจราชการกรมพฒั นาฝีมือแรงงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
รอบที่ 2.
ของผู้ตรวจราชการกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
(นางจิรวรรณ สุตสนุ ทร)
สถาบันพัฒนาฝมี อื แรงงาน 7 อบุ ลราชธานี
วันศกุ ร์ที่ 4 มีนาคม 2565
ณ ห้องประชมุ โสตทศั นปู กรณ์ สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงาน 7 อุบลราชธานี.
ข้อมูล ณ วนั ท่ี 15 กุมภาพนั ธ์ 2565
1
สารบญั เอกสารประกอบการตรวจราชการ
ลาดับ รายละเอยี ดข้อมลู แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม หนา้
2
1 ข้อมูลจงั หวดั 11
๒ โครงสรา้ งบุคลากร ขอ้ มลู ทวั่ ไปของหนว่ ยงาน 17
18
๓ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานของกรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ 23
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม 25
(1) โครงการพัฒนาบุคลากรรองรับอตุ สาหกรรมโลจสิ ติกส์ (กพร.ตร.๑-๒) 26
(2) โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ/ผลิตภาพ (กพร.ตร.๑-๔)
(3) โครงการยกระดับเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพฝมี ือและสมรรถนะแรงงาน (กพร.ตร.๑-๕) 27
(4) กจิ กรรมทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานแห่งชาติ (กพร.ตร.๑-๖)
(5) กิจกรรมเพม่ิ ประสิทธิภาพของเครอื ข่ายการดาเนนิ งานเกยี่ วกับมาตรฐานฝมี ือแรงงาน 29
แห่งชาติ (กพร.ตร.๑-๗) 31
(6) กิจกรรมส่งเสริมสถานประกอบกิจการดาเนนิ การพัฒนาฝีมือแรงงานตาม พระราชบัญญัติ 32
ส่งเสริมการพฒั นาฝมี อื แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ (กพร.ตร.๑-๘) 33
(7) กิจกรรมขับเคลื่อนการพัฒนาแนวทางการดาเนนิ งานของ กพร.ปช. (กพร.ตร.๑-๙)
(8) กจิ กรรมเพิม่ ทักษะอาชพี แก่นกั เรียนที่ไม่ได้เรียนตอ่ หลังจบการศึกษาภาคบงั คบั (กพร.ตร.๑-๑๐) 34
(9) กจิ กรรมพัฒนาฝมี ือแรงงานสตรีเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต (กพร.ตร.๑-๑๑) 36
(๑0) โครงการพัฒนาศกั ยภาพช่างเช่ือมไทยสู่ระดับสากล (กพร.ตร.๑-๑๒)
๓.๒ การตรวจติดตามนโยบายสาคัญ/ภารกิจท่ีได้รับมอบหมายจากกระทรวงแรงงาน/กรม/จังหวัด 38
(๑) ๑ โครงการ ๑ จงั หวดั ๑ หลักสูตร (กพร.ตร.๒-๑) 39
(2) แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมท่ีไดร้ ับงบประมาณจากจังหวดั (กพร.ตร.๒-๓)
๓.๓ การตรวจติดตามผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ 40
(๑) งบประมาณปกติ (กพร.ตร.๓-๑)
(๒) งบประมาณจากหนว่ ยงานอนื่ (งบเงนิ กู้ฯ/งบจงั หวดั ) (กพร.ตร.๓-๒) 43
๓.๔ การตรวจติดตามการป้องกันทุจริตประพฤตมิ ิชอบของเจ้าหนา้ ที่ 44
(๑) การขอมหี นังสือรบั รองความรูค้ วามสามารถ (กพร.ตร.๔) 45
๓.๕ การตรวจราชการในประเดน็ อ่ืนๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 46
(๑) การดาเนินการตามขอ้ สงั เกตของกลุ่มตรวจสอบภายในสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ (กพร.ตร.๕-๑) 47
(๒) การดาเนินงานร่วมกับกระทรวงศกึ ษาธิการ/ภาครัฐ ภาคเอกชนอ่ืนๆ (กพร.ตร.๕-๒)
(๓) การทาสื่อวีดิทัศน์ประชาสัมพนั ธภ์ ารกิจกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน (กพร.ตร.๕-๓)
(๔) การตดิ ตามประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิจากการฝึกอบรม (กพร.ตร.๕-๔)
๔ แผน/ผลการพฒั นาฝมี อื แรงงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
2
1. ขอ้ มลู จังหวัด
๑.๑ ความเป็นมา
1
จังหวัดอุบลราชธานีแห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ช่ือว่าเป็นเมืองดอกบัวอันมีแม่นามูลแม่นาชีไหล
พาดผ่านดุจเสมือนเส้นชีวิตของชาวเมืองในสมัยก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ท้าวคาผงท้าวทิศพรหม และท้าวก่า
บุตรพระวอพระตาหนีภัยสงคราม “พระเจ้าสิริบุญสาร” เจ้าแห่งนครเวียงจันทน์เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและในสมัยนันเมืองอุบลราชธานี ยังเป็นเพียงชุมชนท่ีกลุ่มชนอพยพเข้ามาตังถิ่นฐาน
อยู่ท่ีเวียงดอนกองแขวงจาปาศักดิ์เท่านัน ยังไม่ได้สถาปนาเป็นเมืองอุบลราชธานีจนถึงสินรัชสมัยสมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราช และในสมัยกรุงรตั นโกสินทรต์ อนต้น พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงมีพระราชประสงค์ที่จะ
รวมพลเมอื งเพ่ือเป็นกาลังของประเทศ โดยทรงมพี ระราชกาหนดว่า หากเจ้าเมอื งใดหรือบุคคลใดรวมไพรพ่ ลได้มาก
ตังเมืองเป็นปึกแผ่นมั่นคงก็จะได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตังให้เป็นเจ้าเมืองพระปทุมสุรราช (ท้าวคาผง) จึงอพยพ
ครอบครัวไพร่พลจากเวียงดอนกองมาตังหลักแหล่งบริเวณห้วยแจระแม จนต่อมาพระปทุมสุรราชสามารถยกทัพ
ปราบกบฏได้ชัยชนะพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรดเกล้าแต่งตังพระปทุมสุรราชเป็น
พระปทุมวรราชสุริยวงศค์ รองเมืองอุบลราชธานี และเปน็ เจา้ เมอื งคนแรกของอุบลราชธานี ให้ยกฐานะบ้านแจระแม
ขึนเป็น “เมืองอุบลราชธานี” ในปี พ.ศ. 2335 และภายหลังได้ย้ายไปตังเมืองใหม่ท่ี “ดงอู่ผึง” อันเป็นที่ตังเมือง
อุบลราชธานีในปัจจุบัน เหตุท่ีมี “ราชธานี” ต่อท้ายนันเป็นเพราะว่ามีเจ้าเมืองสืบต่อมาถึง 4 คน และในสมัย
กรุงรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้นจังหวดั อุบลราชธานี มีฐานะเป็นเมืองสาคญั เมอื งหนงึ่ เป็นที่ตังกองบัญชาการมณฑลอีสานมา
โดยตลอดจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ.2468 ได้มีการยุบเลิกมณฑลอุบลราชธานี
จงึ นบั ไดว้ ่าจงั หวัดอุบลราชธานี ไดร้ ับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง จนกลายเป็นจังหวัดที่มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียม
จงั หวัดตา่ ง ๆ ของไทยหลายจังหวัด
3
ภาพแสดงทตี่ ัง และอาณาเขตของจังหวดั อบุ ลราชธานี
4
สญั ลกั ษณ์ ตราประจาจงั หวดั และอกั ษรยอ่
ตราประจาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นรูปดอกบัวตูมและดอกบัวบาน ชูช่อก้านใบเหนือหนองนา
เป็นสญั ลกั ษณร์ ะลกึ ถึงชาวเมืองหนองบวั ลาภู ภายใต้การนาของพระวอ และบตุ รหลานพระตาท่ีอพยพหนีภัยสงคราม
กับเมืองเวียงจันทร์ลงมาตังรกรากในเขตจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อประมาณ พ.ศ. 2312 ต่อมาชุมชนได้รับการยก
ฐานะขึนเป็น “เมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัย” เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 1 ค่า ปชี วด พ.ศ. 2335 ในรัชกาลของ
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช องคป์ ฐมบรมราชจักรวี งศ์
จงั หวัดอุบลราชธานี ใชอ้ กั ษรยอ่ ว่า “อบ”
คาขวญั ของจังหวัดอุบลราชธานี
เมอื งดอกบวั งาม แม่นาสองสี
มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหนิ
ถ่ินไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎรใ์ ฝธ่ รรม
งามลาเทยี นพรรษา ผาแตม้ ก่อนประวัติศาสตร์
ฉลาดภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ดนิ แดนอนุสาวรีย์คนดศี รีอบุ ล
สญั ลักษณ์ ดอกไม้ และต้นไมป้ ระจาจงั หวดั
ดอกไม้ประจาจังหวดั อบุ ลราชธานี คือ ดอกบวั
ตน้ ไม้ประจาจงั หวดั อุบลราชธานี คือ ยางนา ช่ือวิทยาศาสตร์ Dipterocarpus alatus
5
ผา้ ประจาจงั หวัด
"ผ้ากาบบัว" เป็นช่ือผ้าในวรรณกรรมโบราณอีสาน ซึ่งไม่อาจทราบหรือพบในปัจจุบันแล้ว สีของ
ผ้ากาบบัวหรือกลีบบัว จะไล่กันไปจากสีอ่อนไปถึงแก่ คือ ขาว ชมพู เทา เขียว นาตาลและชื่อของผ้ากาบบัว จะมี
ความหมาย และเหมาะสมกบั ช่อื ของจงั หวัดอุบลราชธานี
1.2 ลักษณะทางกายภาพ
1.2.1 ขนาดและทีต่ ัง
จงั หวัดอุบลราชธานี ตงั อย่สู ุดชายแดนตะวนั ออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศติดกับสาธารณรัฐ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และกัมพูชาประชาธิปไตย อยหู่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร 630 กโิ ลเมตร มเี นือท่ปี ระมาณ
10.0 ลา้ นไร่ คดิ เป็นร้อยละ 9.5 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และอาณาเขตติดตอ่ ดังนี
ทศิ เหนือ ติดจงั หวดั อานาจเจริญ จังหวดั ยโสธร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทศิ ใต้ ตดิ ประเทศกัมพชู าประชาธิปไตย และจังหวดั ศรสี ะเกษ
ทิศตะวนั ตก ตดิ จงั หวัดศรสี ะเกษและจังหวัดยโสธร
ขนาดพืนท่ี
ตารางที่ ๑ แสดงพืนทขี่ องจังหวัดอบุ ลราชธานี
จังหวดั ตารางกิโลเมตร เนอื ที่
อุบลราชธานี ๑๕,๗63.41 ไร่
๙,๘52,131.25
ทีม่ า : สว่ นวจิ ัยและพฒั นาระบบ รปู แบบและโครงนา้ ง สานกั พัฒนาระบบ รูปแบบและโครงสรา้ ง
กรมการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕62
6
1.2.2 ภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
จังหวัดอุบลราชธานี ตังอยู่บริเวณท่ีเรียกว่า แอ่งโคราช โดยสูงจากระดับนาทะเล เฉลี่ยประมาณ
68 เมตร (227 ฟุต) ลักษณะโดยทั่วไปเปน็ ทีส่ ูงๆ ต่าๆ จัดเปน็ ท่ี
ราบสูง ลาดเอียงไปทางตะวันออก มีแม่นาโขงเป็นแนวเขตกัน
จังหวดั อุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว มี
แม่นาชีไหลมาบรรจบกับแม่นามูลท่ีอาเภอเมืองอุบลราชธานี ซึ่ง
แม่นามูลไหลผา่ นกลางจงั หวัดจากทิศตะวันตกมายังทิศตะวนั ออก
แล้วไหลลงสู่แม่นาโขงที่อาเภอโขงเจียม และมีลานาใหญ่ๆ
อีกหลายสาย ได้แก่ ลาเซบก ลาโดมใหญ่ ลาโดมนอ้ ย และมีภูเขา
สลับซับซ้อนหลายแห่งทางบริเวณชายแดนตอนใต้ท่ีสาคัญคือ
เทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาพนมดงรัก ซ่ึงกนั อาณาเขตระหว่างจังหวัดอุบลราชธานี กบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาวและราชอาณาจักรกมั พชู า
๑.3 ข้อมลู การปกครอง / ประชากร
เขตการปกครอง ประชากรและการบรหิ าร
จังหวัดอุบลราชธานี แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค ออกเป็น 25 อาเภอ 219 ตาบล 2,704 หมู่บ้าน มี
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง คือ เทศบาลนครอุบลราชธานี โดยได้รับการยกฐานะเป็น
เทศบาลบนครเมอ่ื วนั ท่ี 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 เทศบาลเมือง 4 แหง่ เทศบาลตาบล 54 แห่ง องค์การบรหิ ารส่วน
ตาบลบ จานวน 179 แหง่ โดยมีอาเภอ 25 อาเภอ ดงั นี
1.อาเภอเมืองอบุ ลราชธานี 8.อาเภอตระการพืชผล 15.อาเภอโพธไ์ิ ทร 22.อาเภอเหล่าเสอื โกก้
2.อาเภอกดุ ขา้ วปุ้น 9.อาเภอตาลสมุ 16.อาเภอม่วงสามสบิ 23.อาเภอนาตาล
3.อาเภอเขมราฐ 10.อาเภอทุ่งศรีอุดม 17.อาเภอวารนิ ชาราบ 24.อาเภอสวา่ งวีระวงศ์
4.อาเภอเข่ืองใน 11.อาเภอนาจะหลวย 18.อาเภอศรเี มอื งใหม่ 25.อาเภอนาข่นุ
5.อาเภอโขงเจียม 12.อาเภอนายืน 19.อาเภอสาโรง
6.อาเภอดอนมดแดง 13.อาเภอบุณฑรกิ 20.อาเภอสิรินธร
7.อาเภอเดชอดุ ม 14.อาเภอพบิ ูลมังสาหาร 21.อาเภอนาเยีย
ตารางท่ี 2 จานวนอาเภอ ตาบล หม่บู า้ นและประชากรของจงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๕๕9
จงั หวัด เขตการปกครอง จานวนประชากร
อาเภอ ตาบล หม่บู า้ น เทศบาล อบต. (คน)
อบุ ลราชธานี ๒๕ ๒๑9 ๒,704 ๕๙ ๑๗๙ ๑,๘๕8,618
ท่ีมา : ส่วนวจิ ัยและพัฒนาระบบ รูปแบบและโครงน้าง สานกั พัฒนาระบบ รปู แบบและโครงสร้าง
กรมการปกครองส่วนทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕62
7
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละประชากรในจงั หวัดอบุ ลราชธานี จาแนกตามเพศ (ปี พ.ศ. 2556-2560)
ปี จานวนประชากร ชาย หญิง
(คน)
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
2560 1,869,633 936,052 51.50 933,581 49.90
2559 1,858,618 931,169 50.10 927,449 49.90
2558 ๑,๘๕๗,๔๒๙ 930,701 50.11 ๙26,728 49.89
2557 1,844,669 925,427 50.17 919,242 49.83
2556 1,836,523 921,576 50.18 914,947 49.82
จดุ เนน้ การพฒั นาของจงั หวัดอบุ ลราชธานี
1. การพฒั นาเมืองน่าอยูท่ นั สมัย
1) การขับเคล่ือนให้จงั หวัดอุบลราชธานีเป็นศนู ย์กลางสขุ ภาพ (Medical Hub) เปน็ ศนู ยก์ ลางการรักษา
ผปู้ ่วยทีเ่ ดน่ ชดั และโดดเดน่ เฉพาะดา้ น
2) การพัฒนาเปน็ เมืองสขุ ภาวะดี มคี วามพร้อมในการตอบสนองทุกความตอ้ งการของผู้อยู่อาศัยในทุกดา้ น
และมีสิง่ อานวยความสะดวก
3) พัฒนาระบบความปลอดภัยและโครงสร้างพืนฐาน
4) สง่ เสริมการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาการเขา้ ถึงบริการทางดา้ นการศกึ ษาอยา่ งเท่าเทยี ม
5) การรกั ษาความมัน่ คงของชาตแิ ละความปลอดภัยของประชาชน
6) การพฒั นาพลังงานทดแทนและพลังงานสะอาด
7) การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
2. การสง่ เสรมิ เกษตรปลอดภัยมูลคา่ สงู
1) สง่ เสรมิ การผลติ การแปรรปู และบรหิ ารจดั การสนิ คา้ เกษตร มูลคา่ สูงสู่สากล
2) ส่งเสริมพฒั นาเกษตรกร สถาบนั เกษตร และวิสาหกิจชุมชน เปน็ ผู้ประกอบการธุรกิจสมัยใหม่
อย่างครบวงจร
3) สร้างภูมคิ ุ้มการทางการเกษตรตอ่ การเกิดภยั พิบัติทางธรรมชาตแิ ละโรคระบาด
4) สง่ เสริมพลังงานทดแทนเศรษฐกิจฐานราก และอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟทู รัพยากรดินและนาเพื่อการเกษตร
เพอื่ การทาเกษตรมูลค่าสงู
3. การสง่ เสรมิ เศรษฐกิจชวี ภาพ
1) ถา่ ยทอดเทคโนโลยี ผลงานวจิ ัยและนวตั กรรม ให้แกเ่ กษตรกร กลมุ่ เกษตรกรและผ้ปู ระกอบการ
เพอื่ ให้สามารถแปรรปู และใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรทางชวี ภาพของพนื ที่ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
2) สรา้ งและพัฒนาโครงสรา้ งพนื ฐาน สง่ เสริมมาตรฐาน และส่งเสริมการเข้าถงึ การตรวจสอบและ
รับรองมาตรฐานการแปรรปู ผลติ ผลสาคัญจากฐานชีวภาพสู่สากล
3) สร้างผลิตภัณฑม์ ลู ค่าสงู เพ่อื เป็นผลิตภัณฑห์ ลักของจังหวดั อุบลราชธานี (Ubon Premium Products)
ดว้ ยงานวจิ ยั และนวตั กรรม
4) เสรมิ สรา้ งการตลาดและการผลิตใหแ้ ก่อุตสาหกรรมบนฐานชวี ภาพของเพ่ือผลักดันใหอ้ ุบลราชธานี
เป็น Bioeconomy Hub ของพนื ที่
4. การพัฒนาศูนยก์ ลางการคา้ การลงทนุ
1) การเสรมิ สร้างศกั ยภาพการค้าชายแดน
2) ส่งเสรมิ ผู้ประกอบการและ SMEs เพอื่ เพิม่ ขดี ความสามารในการแขง่ ขัน
8
3) พัฒนาผ้ปู ระกอบการและแรงงานด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
4) สร้างโอกาสเข้าถึงตลาดและขยายชอ่ งทางการตลาดทงั ในและตา่ งประเทศ
5. การส่งเสริมเมอื งท่องเท่ียวแหง่ ความสุข หลายมติ ิ สู่สากล
๑) การพัฒนาโครงสรา้ งพนื ฐาน และส่ิงอานวยความสะดวก เพอ่ื รองรบั การขยายตวั ของอตุ สาหกรรม
การทอ่ งเท่ียวสสู่ ากล
๒) การพัฒนาคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทีย่ ว สนิ คา้ และบรกิ าร รูปแบบการทอ่ งเทย่ี วที่หลากหลาย
ใหเ้ กิดความสมดุลและย่ังยืน
๓) การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรด้านการท่องเท่ียวและสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชน
ในการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว
๔) การประชาสมั พนั ธ์และการตลาดด้านการทอ่ งเทย่ี ว การสง่ เสรมิ วถิ ีและวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ และการสรา้ ง
ความเช่อื มน่ั ของนักทอ่ งเท่ียว
๕) การสง่ เสริมการบรู ณาการการบริหารจัดการการท่องเทย่ี วและสนับสนนุ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ
9
10
11
๒. โครงสร้างบุคลากร ขอ้ มลู ทัว่ ไปของหนว่ ยงาน
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี
ความเป็นมา
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี เป็นชื่อท่ีได้รับการแต่งตังใหม่เมื่อวันท่ี
22 กรกฎาคม 2559 ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2559
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนที่ 61 ก ส่งผลให้เกดิ การปรับโครงสร้างของกระทรวง ทบวง กรมใหม่
จากเดมิ คอื สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงานภาค 7 อบุ ลราชธานี
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี ก่อตังขึนโดยรัฐบาลญี่ปุ่นได้ตกลงให้ความช่วยเหลือ
แบบให้เปล่าแก่รัฐบาลไทย ซ่ึงได้ลงนามในหนังสือแลกเปล่ียน เม่ือวันท่ี 18 กันยายน 2530 มีมูลค่า
ความช่วยเหลือ 2,337 ล้านเยน (ประมาณ 465 ล้านบาท) แบง่ เป็นค่าก่อสร้าง อาคารที่ทาการโรงฝึกงาน หอพัก
และลงนามความช่วยเหลือทางด้านวิชาการต่อสถาบันฯ เป็นเวลา 5 ปี (2531 – 2536) มูลค่า 50 ล้านบาท
โดยรัฐบาลไทยมีข้อมูลผูกพันในการจัดหาท่ีดิน ปรับถมท่ีติดตังระบบสาธารณูปโภค บ้านพักเจ้าหน้าที่ บุคลากร
งบประมาณในการบริหาร เริ่มก่อสร้างเม่ือต้นปี 2531 และแล้วเสร็จส่งมอบให้กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย
(หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบในขณะนนั ) เมอ่ื วันท่ี 23 มีนาคม 2532
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พลโทสมเด็จ
พระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฏราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนัน) เสด็จแทนพระองค์ทรงเปิดสถาบันฯ และ
ทอดพระเนตรการฝกึ อาชพี เมอ่ื วนั ท่ี 28 กนั ยายน 2532
ทีต่ งั
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี ตังอยู่เลขท่ี 300 หมู่ 11 ถนนคลังอาวุธ ตาบล
ขามใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0 4531 7242-6 โทรสาร 0 4531 7249
หรือ http://www.dsd.go.th/ubonratchathani
12
โครงสร้างการบรหิ าร
สถาบนั พฒั นาฝีมอื แรงงาน 7 อบุ ลราชธานี แบง่ การบริหารออกเป็น 4 กล่มุ 1 ฝา่ ย ดงั นี
1. กล่มุ งานแผนงานและประเมนิ ผล
2. กลุ่มงานพฒั นาฝมี ือแรงงาน
3. กลุ่มงานประเมินและรบั รองความร้คู วามสามารถ
4. กลุ่มงานมาตรฐานฝมี ือแรงงาน
5. ฝา่ ยบริหารทั่วไป
อัตรากาลงั
ปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2565 รวมทังสิน 51 อตั รา
ระดับอานวยการสงู 1 ลูกจา้ งประจา 19
ระดบั ชานาญการพเิ ศษ 4 พนักงานราชการ 3
ระดบั อาวโุ ส 1 ลกู จา้ งกองทุน 2
ระดับชานาญการ 16 พนกั งานราชการเฉพาะกจิ 1
ระดบั ปฏิบัติการ -
ระดับชานาญงาน 3 วทยากรภาษาองั กฤษ
ระดับปฏิบตั งิ าน 1
รวมข้าราชการ 26
(ไม่รวมระดบั ชานาญการ ไปชว่ ยราชการ สนพ.นครพนม จานวน 1 คน )
โครงสรา้ งบคุ ลากร
13
วิสัยทัศน์
กาลังแรงงานจังหวัดอบุ ลราชธานี มีทักษะได้มาตรฐานสากล
พนั ธกิจ
1. พัฒนาฝีมอื แรงงานใหไ้ ดม้ าตรฐาน ศกั ยภาพสูงขึน สนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
2. ส่งเสริม ประสานการมสี ว่ นร่วม และสรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นาศักยภาพกาลังแรงงาน
3. กากับ ดแู ล ให้คาปรึกษาและสนับสนนุ การดาเนนิ งานแกศ่ นู ย์พฒั นาฝมี ือแรงงานจังหวัด
ในเครอื ขา่ ย
4. สนับสนนุ การดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์จังหวดั และกลุ่มจังหวดั
ค่านิยม
1. มงุ่ ม่นั ทางานเปน็ ทีมเชิงรกุ
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มจี ิตบริการ
4. สานสรา้ งเครอื ข่าย
5. มจี ิตสาธารณะรบั ผิชอบต่อสว่ นรวม
อานาจหนา้ ท่ี
1. ดาเนินการกากับ ดูแล ตดิ ตาม และตรวจสอบใหผ้ เู้ กย่ี วข้องดาเนนิ การให้เป็นไปตามกฎหมายว่า
ดว้ ยการสง่ เสรมิ การพฒั นาฝีมอื แรงงาน และกฎหมายอน่ื ทเี่ กี่ยวข้อง ในเขตพืนที่รบั ผดิ ชอบ
2. จัดทาแผนงานและแนวทางการพัฒนากาลังแรงงานของจังหวัดในเขตพืนท่ีและประสาน
แผนการฝึกอาชีพของทุกหน่วยงานทังภาครัฐและ เอกชน ตลอดจนเป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาทรัพยากร
มนษุ ยด์ ้านพฒั นาฝีมอื แรงงาน ในเขตพืนท่ีรบั ผิดชอบ
3. ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาเก่ียวกับกระบวนการพัฒนาฝีมือแรงงานและกระบวนการวิเคราะห์จาแนก
ตาแหน่งงานหรอื การบริหารค่าจ้างและ ค่าตอบแทน เพ่ือพฒั นาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติของกาลัง
แรงงาน รวมทังภาคส่วนอืน่ เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพของผูป้ ระกอบกิจการ ในเขตพืนที่ รบั ผดิ ชอบ
4. ส่งเสริม ให้คาแนะนาการจัดทามาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพในเขตพืนที่
รับผดิ ชอบ
5. ส่งเสริมและให้คาปรึกษาแนะนาในการรับรองมาตรฐานฝมี ือแรงงาน รวมถงึ ดาเนินการจัดการ
แข่งขันฝีมือแรงงาน ในเขตพนื ทีร่ ับผดิ ชอบ
6. สนับสนุนการใช้หรือปรับปรุงระบบ รูปแบบการฝึกอบรม หลักสูตร อุปกรณ์ช่วยฝึก และ
เทคโนโลยีการพัฒนาฝีมอื แรงงาน รวมถึงการพัฒนาผูฝ้ กึ ใหแ้ กภ่ าครฐั และภาคเอกชนในเขตพนื ที่รับผดิ ชอบ
7. สง่ เสริมและสนับสนุนภาคเอกชนให้มสี ่วนร่วมเก่ียวกับการพัฒนาฝีมอื แรงงาน รวมทังประสาน
การสรา้ งเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงานและ ศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการทงั ในระดับประเทศและระดับ
นานาชาติในเขตพนื ทร่ี ับผิดชอบ
14
8. ส่งเสริม สนับสนุนและดาเนินการให้สถานประกอบกิจการและองค์กรทังภาครัฐ และเอกชน
นามาตรฐานฝมี ือแรงงานไปใชใ้ นระบบการพัฒนา กาลังแรงงานและการจ้างงานในเขตพืนที่รบั ผดิ ชอบ
9. ดาเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน เพ่ือพัฒนาฝีมือแรงงานและ
ศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ และเพื่อสร้างผู้ชานาญการเฉพาะทาง ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับ
การประกันคณุ ภาพในดา้ นต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาฝมี ือแรงงานในเขตพนื ทรี่ ับผิดชอบ
10. ดาเนินการรับรองความรู้ความสามารถตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พ.ศ.2545 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2557 ในสาขาอาชีพ ตาแหน่งงาน หรือลักษณะงานที่อาจเป็น
อันตรายต่อสาธารณะ หรือต้องใช้ผู้มีความรู้ความสามารถซ่ึงต้องดาเนินการโดยผู้ได้รับหนังสือรับรองความรู้
ความสามารถ เวน้ แต่มีองคก์ รตามกฎหมายอ่นื ควบคมุ อยแู่ ลว้
11. ปฏิบัตหิ น้าที่เก่ยี วกบั งานเลขานกุ ารคณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึก
อาชีพจงั หวัด ในเขตพนื ที่รับผดิ ชอบ
12. สง่ เสริมให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์กรอาชีพ จัดตังศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงาน ศูนย์ประเมนิ ความรู้ความสามารถ และสถานทดสอบฝมี ือคนหางาน ในเขตพนื ท่ี
รบั ผิดชอบ
13. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือท่ีได้รับ
มอบหมาย
15
ภารกิจของสถาบนั พฒั นาฝีมอื แรงงาน 7 อบุ ลราชธานี
ภารกิจหลัก 3 ด้าน
1. ด้านการฝึกอบรมฝีมอื แรงงาน
2. ด้านมาตรฐานฝีมือแรงงาน
3. ด้านสง่ เสรมิ และประสานการพัฒนาฝีมือแรงงาน
1. ดา้ นการฝกึ อบรมฝมี ือแรงงาน
1.1 การฝึกเตรียมเข้าทางาน เปน็ การฝกึ อาชีพให้แก่แรงงานใหม่ เพ่ือพฒั นาความรู้ความสามารถ
ในขนั พนื ฐานของสาขาอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนทศั นคตทิ ีด่ ีต่ออาชีพ เพอ่ื เตรียมเข้าสูต่ ลาดแรงงานและใหม้ คี วามพร้อมท่ี
จะทางานในฐานะแรงงานฝีมือระดับต้น (มาตรฐานฝีมือแรงงาน ระดับ 1) โดยฝกึ ใน สพร. ระยะเวลาการฝึก ตังแต่
280 ช่ัวโมง (2 เดือน) จนถึง 1,680 ช่ัวโมง (12 เดือน) และฝึกในสถานประกอบกิจการอีก 1 – 4 เดือน
(แล้วแต่สาขาอาชีพ)
1.2 การฝึกยกระดับฝีมอื เป็นการฝกึ อาชีพใหแ้ กแ่ รงงานทมี่ งี านทาอย่แู ล้วใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ
และทักษะเพ่มิ เติมในสาขาอาชีพที่ปฏิบตั ิงานอยู่ หรือสาขาอาชีพที่เก่ียวข้องหรือเกือหนุนกับงานที่ทาอยู่ให้สามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ซึ่งอาจเป็นการเพ่ิมพูนความรู้
และทักษะเดิมให้สูงขึน หรือเพ่ิมทักษะด้านการบริหารจัดการหรือความรู้เสริมอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องเกือหนุนกับ
สาขาอาชพี นนั ๆ โดยระยะเวลาฝกึ ตงั แต่ 18 ชวั่ โมงขนึ ไป จบแลว้ ไดร้ บั วฒุ บิ ัตรจากกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
1.3 การฝกึ อาชีพเสริม เปน็ การฝึกอาชีพให้กับแรงงานทมี่ ีงานทาอย่แู ล้ว หรอื วา่ งงาน และมคี วาม
ประสงคจ์ ะเปลย่ี นอาชพี ใหม่ หรอื ประกอบอาชพี เพิม่ เติม เพ่ือพัฒนาแรงงานให้มีความรู้ ความสามารถ และทัศนคติ
เพิ่มเติมในสาขาอาชีพที่นอกเหนือจากงานที่ปฏิบัติอยู่ตามปกติ หรืออาชีพที่ทาอยู่ หรือให้สามารถทางานในสาขา
อาชีพอ่ืนได้ โดยฝึกอาชีพให้กับกลุ่มอาชีพต่างๆ ทหารกองประจาการ เด็ก สตรี คนชรา ราษฎรในพืนท่ีโครงการ
พระราชดาริ และกล่มุ ทต่ี อ้ งการพัฒนาศักยภาพตนเอง โดยมีระยะเวลาฝกึ ตงั แต่ 18 ชัว่ โมงขนึ ไป และเปดิ ฝึกอาชีพ
ตามทก่ี ลมุ่ เป้าหมายต้องการ
2. ด้านมาตรฐานฝีมือแรงงาน
2.1 การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เป็นการทดสอบความรู้ ความสามารถตาม
มาตรฐานฝีมือแรงงานท่ีกาหนดแต่ละประเภท โดยแบ่งเกณฑ์การทดสอบออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 1 (ระดับต้น)
ระดับ 2 (ระดับกลาง) และระดับ 3(ระดับสูง) โดยทดสอบทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ ผ่านการ
ทดสอบหางานทาได้ง่ายขึน มีโอกาสเจริญก้าวหน้าในการทางาน และสถานประกอบกิจการ สามารถใช้เป็นเกณฑ์
ในการคัดเลือกพนกั งานเขา้ ทางาน หรอื เลื่อนตาแหนง่ เพม่ิ เงนิ เดือนให้พนกั งาน
2.2 การทดสอบฝีมือคนหางานเพ่ือไปทางานต่างประเทศ เป็นการดาเนินการให้กับผู้ประสงค์
จะเดินทางไปทางานต่างประเทศในงานท่ีต้องใช้ฝมี ือ โดยผู้ท่จี ะไปทางานตอ้ งผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
แห่งชาติ หรือการทดสอบตามแบบทดสอบฝีมือคนหางานเพื่อไปทางานต่างประเทศ หรอื การทดสอบมาตรฐานฝีมือ
แรงงานตามความต้องการของนายจา้ ง
16
2.3 การแข่งขันฝีมือแรงงาน เป็นกิจกรรมที่มุ่งกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันในการพัฒนาศักยภาพ
การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ซ่ึงจะทาให้ผู้ใช้ฝีมือในการทางานได้เร่งพัฒนาตนเอง โดยจัดการแข่งขันทุก 2 ปี
ในระดับภาค ระดบั ชาติ อาเซียน และนานาชาติ
นอกจากนี เพ่ือสร้างโอกาสการมีงานทา สามารถพึ่งพาตนเองได้ของคนพิการ ได้มีการจัดแข่งขัน
ทกั ษะความสามารถทางอาชีพของคนพิการ เพื่อคัดเลือกผ้ชู นะเลิศของแต่ละสาขาอาชพี เป็นตัวแทนในการแข่งขัน
ทกั ษะ ความสามารถทางอาชพี ของคนพกิ ารระดับชาติ และระดบั นานาชาติตอ่ ไป
3. ดา้ นส่งเสริมและประสานการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
3.1 การพฒั นาส่งเสรมิ บคุ ลากร เป็นกิจกรรมทีใ่ ห้บริการการฝึกอบรม เพือ่ พัฒนาบุคลากรฝึกให้กับ
หน่วยงานราชการ สถานประกอบการ หน่วยงานฝึกอบรม ตลอดจนบุคคลท่ัวไป เพื่อให้เป็นผู้สามารถจัดการ
ฝึกอบรม ตลอดจนดาเนินการฝึกอบรมได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบในหลักสูตรต่างๆ เช่น งานด้านการบริการ
และอตุ สาหกรรม เปน็ ตน้
3.2 การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เป็นการให้ภาครัฐ และ
ภาคเอกชนที่ดาเนินงานด้านการฝึกอบรมฝีมือแรงงานได้เข้ามามีส่วนร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคในการ
ใช้ทรัพยากรร่วมกัน คือ กลมุ่ เป้าหมาย วทิ ยากร สถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือ และวัสดกุ ารฝึก ตลอดจน วทิ ยาการและ
เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เพ่ือการพฒั นาศกั ยภาพกาลงั แรงงานอย่างเกดิ ประสิทธภิ าพ
3.3 การสง่ เสริมการพัฒนาฝมี อื แรงงานของภาคเอกชน โดยใช้มาตรการจงู ใจภายใต้พระราชบญั ญัติ
สง่ เสริมการพฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 กาหนดให้นายจา้ ง/เจ้าของสถานประกอบกิจการ ซ่ึงมีการจดั ฝึกอบรม
ฝีมือแรงงาน โดยการฝึกเตรียมเข้าทางาน ให้แก่แรงงานใหม่ท่ีจะรับเข้าทางานหรือฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน หรือ
ฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพให้แก่ลูกจ้างของตนเอง ได้รับการยกเว้นและลดหย่อนภาษีอากร รวมทังได้รับสิทธิประโยชน์
ด้านต่างๆ และมีกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการใช้จ่ายเก่ียวกับการส่งเสริม
การพัฒนาฝีมือแรงงาน นอกจากนี สถานประกอบกิจการยังสามารถขอจัดตังเป็นศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน/
ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จะออกใบอนุญาตพร้อมเครื่องหมายการเป็น
ศูนย์ฝึกอบรมฯ/ศูนย์ทดสอบฯ ให้ เพ่ือเพม่ิ โอกาสให้สถานประกอบการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เข้าสู่
มาตรฐานสากล
3.4 การรับรองความรู้ความสามารถ พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2557 ผู้ปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ ตาแหน่งงาน หรือลักษณะงานท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะ หรือต้องใช้
ผู้มีความสามารถ ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนด ต้องได้รับหนังสือรับรองความรู้ ความสามารถจึงจะทาง านได้
หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท และผู้จ้างงาน ผู้ไม่มีหนังสือรับรองความรู้ ความสามารถ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 30,000 บาท ปัจจุบันประกาศบงั คับแลว้ 1 สาขาอาชีพ คือ สาขาช่างไฟฟา้ ภายในอาคาร
17
๓.๑. การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – ๒
(๑) โครงการพฒั นาบคุ ลากรรองรบั อุตสาหกรรมโลจิสตกิ ส์
วัตถุประสงค์ : เพ่ือฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพยกระดับแรงงานและปรับเปล่ียนทักษะ (Up Skill/Re Skill ) กลุ่ม
บุคลากรด้านโลจิสติกส์ ในตาแหน่งนักบริหารงาน ผู้ควบคุม ผู้ปฏิบัติงาน พนักงานบริหาร ในคลังสินค้า
(Warehouse) และสร้างบคุ ลากรทมี่ ีความรใู้ ห้มีความรูเ้ ฉพาะทาง (Advance Skill)
กลุม่ เป้าหมาย : ฝกึ อบรมบุคลากรดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ทีท่ างานอยูแ่ ล้วหรือผวู้ ่างงานให้ไดร้ ับการพัฒนาความรู้และ
ทกั ษะฝีมือตามเกณฑก์ ารประกนั คณุ ภาพการพัฒนาฝมี อื แรงงาน
เป้าหมาย : 60 คน งบประมาณ 144,000 บาท
ตวั ชีวัด
เชิงปรมิ าณ : จานวนแรงงานทไ่ี ด้รบั การพฒั นาฝมี ือแรงงานไดไ้ ม่ต่ากวา่ เปา้ หมาย 60 คน
เชงิ คุณภาพ : 1. ร้อยละ 85 ของกาลังแรงงานที่ได้รับการพฒั นาความร้แู ละทกั ษะฝีมือผ่านเกณฑ์การวัดผลและ
ประเมินตามมาตรฐานหลักสตู รของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. ประสิทธภิ าพการผลิตของปจั จัยแรงงานเพมิ่ ขึน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 35
วธิ ีการดาเนนิ งาน :
ประสานความต้องการของสถานประกอบกิจการ แรงงานกลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนการฝึกประจาปี
งบประมาณ ขออนุมัติแผนการฝึก ประกาศ/ประชาสัมพันธ์การรับสมัครฝึก จัดเตรียมหลักสูตรการฝึกอบรม
(30 ช่ัวโมง) ประสานวิทยากร ออกรายการวัสดุฝึก ขออนุมัติดาเนินการฝึก/จ้างวิทยากร/ซือวัสดุฝึก จัดเตรียม
ความพร้อมของวัสดุ ครุภัณฑ์ และสถานที่ฝึกอบรม จัดเตรยี มเอกสารประกอบการฝึกอบรม ดาเนินการฝึกอบรม
วัดและประเมินผลผู้เข้ารับการฝึก ติดตามสอบถามความพึงพอใจ รายงานผลการฝึก ประกาศรายชื่อผู้สาเร็จ
การฝึก จัดทาวุฒิบัตรมอบใหผ้ ู้สาเร็จการฝึกอบรม รวบรวมเอกสารหลกั ฐานประกอบการเบิกจ่าย จัดทาขออนุมัติ
เบกิ คา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรม ติดตามผลสมั ฤทธิ์หลังจบฝึก 90 วัน บันทึกผลการติดตามผ่านระบบสารสนเทศของ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผลการดาเนินงาน :
ผลผลติ :
เปา้ หมายทังปี 60 คน ดาเนินการได้ 58 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 96.67 เทียบกับเป้าหมาย
เบกิ จ่ายได้ 94,501.32 บาท คิดเป็นร้อยละ 65.63 เทียบกับยอดการจัดสรร
ผลสมั ฤทธ์ิ :
1) กาลังแรงงาน จานวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ที่ได้รับการพฒั นาความรแู้ ละทักษะฝีมือ
ผ่านเกณฑก์ ารวัดผลและประเมนิ ตามมาตรฐานหลักสตู รของกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน
2) ประสิทธิภาพการผลิตของปัจจยั ด้านแรงงานเพ่มิ ขึน 20 และอย่รู ะหวา่ งตดิ ตามผลสัมฤทธ์ิ
หลังครบ 90 วัน หลังจบฝกึ อบรม ซงึ่ ครบกาหนดเร่มิ ดาเนินการติดตามผลตังแต่วนั ที่ 25 ม.ค.65 เป็นตน้ ไป
ปญั หา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
--
อยรู่ ะหว่างดาเนินการคาดว่าจะแลว้ เสรจ็ ภายใน 30 กนั ยายน 2565
18
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 4
(๒) โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพ/ผลติ ภาพ
วตั ถุประสงค์ : ๑ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันแก่ผู้ประกอบกิจการ SMEs กลุ่ม OTOP และวิสาหกิจ
ชุมชนผา่ นกระบวนการเพิ่มผลติ ภาพแรงงาน ผลักดนั ให้เกดิ ความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ นวัตกรรมแปลกใหม่ และการ
ประยุกต์ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี เพื่อรองรับการพัฒนาสู่ SMEs ๔.๐
๒ เพ่ือขยายการให้บริการภาครัฐ เกี่ยวกับการให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน
ใหแ้ กผ่ ู้ประกอบกิจการ SMEs กลุ่ม OTOP วิสาหกิจชมุ ชน ผู้ท่ีขึนทะเบียนรบั การช่วยเหลือจากภาครัฐ แรงงานใน
ระบบ แรงงานนอกระบบ และผู้เก่ียวข้อง ให้ได้รับบริการอย่างทั่วถึง ผ่านกลไกการประสานความร่วมมือตาม
แนวทาง“ประชารัฐ”
๓ เพ่ือสร้างความเชื่อมน่ั ในกระบวนการให้คาปรึกษาการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน และขับเคลื่อนการ
พัฒนาผู้ประกอบกิจการ SMEs กลุ่ม OTOP วิสาหกิจชุมชน เพ่ือสร้างความเข้มแข็งกับเศรษฐกิจฐานรากของ
ประเทศ
กลุ่มเปา้ หมาย :
1. ใหค้ าปรึกษาเพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงานใหแ้ กผ่ ู้ประกอบกจิ การ SMEs กลุ่ม OTOP วสิ าหกิจชุมชน หรือ
กลมุ่ สหกรณท์ ม่ี ีสมาชกิ ไมเ่ กิน 200 คน และไม่เคยเข้ารว่ มโครงการ หรอื เขา้ ร่วมโครงการแล้วเวน้ ระยะไม่
นอ้ ยกว่า 2 ปี จานวน 3 แหง่ โดยมกี ิจกรรม ดงั นี
1.1 พฒั นาศักยภาพแรงงานเพื่อเพ่ิมผลติ ภาพแรงงาน จานวน 120 คน
1.2 พฒั นาผปู้ ระกอบกจิ การเพือ่ เพมิ่ ผลิตภาพแรงงาน จานวน 90 คน
2. กลมุ่ เปา้ หมายของโครงการเพ่มิ ผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 ประจาปีงบประมาณ 2565 ดาเนินการ
โดยนกั พัฒนาผลิตภาพแรงงาน จานวน 3 แหง่ ดงั นี
2.1 สถานประกอบกิจการ SME ที่มจี านวนพนกั งานไม่เกนิ 200 คน จานวน 2 แห่ง
2.2 กลุ่ม OTOP วสิ าหกจิ ชมุ ชนหรือกลุ่มสหกรณ์ท่ีมสี มาชิกไมเ่ กนิ 200 คน จานวน 1 แห่ง
เป้าหมาย : 210 คน งบประมาณ 405,000 บาท
ตัวชวี ัด
เชงิ ปริมาณ :
1. ให้คาปรึกษาเพ่ือเพม่ิ ผลิตภาพแรงงานให้แกผ่ ู้ประกอบกิจการ SMEs กล่มุ OTOP วสิ าหกจิ ชุมชน
หรอื กลุม่ สหกรณ์ จานวน 3 แห่ง
2. พฒั นาผูป้ ระกอบการ และพัฒนาศกั ยภาพแรงงาน จานวน 210 คน
เชิงคณุ ภาพ :
1. เพ่ิมผลติ ภาพแรงงาน ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 10
2. ลดการสญู เสียในวงจรการผลิตหรอื บรกิ าร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
19
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 4
วิธีการดาเนนิ งาน :
กิจกรรมที่ 1 จัดฝกึ อบรมพัฒนาทักษะการเปน็ ผูป้ ระกอบกิจการ เปา้ หมาย 9๐ คน
ขนั ตอนการดาเนนิ งาน
๑) ศกึ ษารวบรวมข้อมลู สภาพแวดลอ้ มในพืนท่ี สถานประกอบกิจการ หรือกลมุ่ เปา้ หมาย
๒) ประสานงานข้อมูลกับหน่วยงานภาคีในพืนที่ทังภาครัฐและเอกชน ผู้นาท้องถิ่น อาทิ สภาอุตสาหกรรม
สภาหอการค้าไทย สานักงานพัฒนาชุมชน สานักงานส่งเสริมสหกรณ์การเกษตร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อประชาสัมพันธ์การฝึกอบรมผู้ประกอบกิจการ SME กลุ่ม OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ ผู้นาชุมชน
ผู้นากลุ่มอาชีพตามโครงการ
๓) เผยแพร่ข้อมูล วัตถุประสงค์ กระบวนการ ขันตอนการดาเนินงาน และผลสัมฤทธ์ิของโครงการ
เพ่ิมผลติ ภาพแรงงาน สู่ SME 4.0 ให้ทกุ ภาคสว่ นได้รบั ทราบข้อมูลข่าวสาร
๔) จัดฝึกอบรมทักษะการเป็นผู้ประกอบกิจการ หลักสูตรการฝึกอาชีพเสริม สาขาการพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบกิจการ (หลักสูตรกลาง) ระยะเวลา 6 ชั่วโมง เพื่อกระตุ้นให้เห็นความสาคัญของการปรับตัว
ของธุรกิจ และให้ความสาคัญกับการเพ่ิมผลิตภาพแรงงานอย่างจริงจัง เพื่อลดต้นทุน เพ่ิมผลกาไร
สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันใหแ้ กผ่ ู้ประกอบกิจการ
๕) ชีแจงแนวทางการดาเนนิ โครงการเพิ่มผลติ ภาพแรงงาน สู่ SME 4.0
๖) จัดเตรียมความพร้อมก่อนการประชุม ข้อมูลที่ใช้สาหรับการประชุม วิทยากร สถานที่
และส่ิงอานวยความสะดวกอื่น ๆ
๗) ดาเนินการจัดฝึกอบรมผู้ประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงานท่ีวางไว้ โดยใช้หลักสูตรกลางของ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่กาหนด จานวน 90 คน
๘) เชิญชวนผู้ประกอบกิจการ SME กลุ่ม OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มสหกรณ์ เข้าร่วมโครงการ
เพม่ิ ผลติ ภาพแรงงาน สู่ SME 4.0
๙) รายงานผลการดาเนินงานให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทราบเป็นระยะ ๆ ผ่านระบบสารสนเทศ
ของหน่วยงานโดยใหด้ าเนินการแล้วเสรจ็ ภายในเดอื นเมษายน พ.ศ. 2564
กจิ กรรมท่ี 2 ให้คาปรึกษาเพิ่มผลติ ภาพแรงงานแกส่ ถานประกอบกิจการ SME กลมุ่ OTOP กล่มุ วสิ าหกิจ
ชมุ ชน หรือกลุ่มสหกรณ์ เป้าหมาย 3 แห่ง ให้คาปรกึ ษาเพม่ิ ผลิตภาพแรงงาน ระยะเวลา 150 วัน
ขันตอนการดาเนนิ งาน
๑) ปรับปรุงคาสง่ั ศนู ย์บริการให้คาปรึกษาเพ่ือเพิ่มผลติ ภาพแรงงานจังหวัดให้ทนั สมยั
๒) ดาเนินการพัฒนาสมรรถนะของเจ้าหนา้ ทปี่ ระจาศูนยบ์ รกิ ารให้คาปรึกษาเพ่อื เพ่ิมผลติ ภาพแรงงาน เช่น
ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ บุคลิกภาพ คมู่ อื เป็นต้น
๓) จัดประชุมผู้เก่ียวข้องภายในหน่วยงานดาเนินการแสวงหาความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายการพัฒนาฝีมือ
แรงงาน สถาบันการศกึ ษา ให้เขา้ ร่วมประสานข้อมลู กับหน่วยงานในสังกดั กระทรวงแรงงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงมหาดไทย และผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือประสานผู้ประกอบกิจการ SME กลุ่ม OTOP
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่มสหกรณ์ และหน่วยงานเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือชีแจ้งรายละเอียดการดาเนินโครงการ
พร้อมทงั เชญิ ชวนเข้ารว่ มโครงการ
๔) กาหนดหลักเกณฑ์การคดั เลอื กกล่มุ เป้าหมายเขา้ รว่ มโครงการ
๕) คัดเลือกสถานประกอบกิจการ SME ที่มีลูกจ้างหรือพนักงาน ไม่เกิน ๒๐๐ คน หรือกลุ่ม OTOP
กลุ่มวสิ าหกิจชุมชน หรือกลุ่มสหกรณ์ ท่ีมสี มาชิกไม่เกิน ๒๐๐ คน เขา้ ร่วมโครงการตามกรอบเปา้ หมายทีไ่ ด้รบั การ
จดั สรร
20
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 4
๖) มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ และจัดทีมเจ้าหน้าที่นักพัฒนาผลิตภาพแรงงาน เข้าให้คาปรึกษา
ตามกระบวนการให้คาปรึกษาไม่น้อยกวา่ 7 ครัง/แห่ง ภายใน ๑5๐ วัน เพ่ือพดู คยุ รบั ฟังขอ้ มลู แนวคิดและสภาพ
ปัญหาหน้างานจากผปู้ ระกอบกจิ การ ผู้จัดการ หวั หนา้ งาน หรือประธานกลุ่ม OTOP หรือกลุ่มวิสาหกิจชมุ ชน
๗) วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องและจัดลาดับความสาคัญของสภาพปัญหา ร่วมกับสถานประกอบกิจการ
SME กลุ่ม OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพ่ือให้ผู้ประกอบกิจการหรือประธานกลุ่ม เลือกว่าอยากให้แก้ไข
ปัญหาใด กอ่ น – หลัง
๘) จัดทารายละเอียดแผนปรับปรุงเพื่อหาแนวทางแก้ไขสภาพปัญหา ตามความต้องการ
ของกลุ่มเปา้ หมาย เพือ่ เสนอทางเลือกในการแกไ้ ขปัญหา หรอื บรหิ ารจดั การสภาพปญั หาหน้างาน
๙) จัดแผนปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแรงงานเฉพาะด้านให้แก่กลุ่มเป้าหมาย หรือปรับปรุงกระบวนการ
ทางานให้มีประสิทธิภาพ โดยระบุห้วงเวลา งบประมาณ และวิธีการดาเนินการ ตามความต้องการของ
กล่มุ เปา้ หมายสถานประกอบกิจการ SME กลุ่ม OTOP กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน หรือกลุ่มสหกรณ์
๑๐) ประสานการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสภาพการทางาน หรอื ผลติ ภาพแรงงาน หรอื ศักยภาพการผลิตสินค้า
และบรกิ ารของผ้ปู ระกอบกจิ การ ก่อนดาเนินการพัฒนาศักยภาพแรงงาน
๑๑) ดาเนินการพัฒนาศักยภาพแรงงานเฉพาะด้านให้แกก่ ลุม่ เป้าหมายตามรายละเอียดที่ตกลงร่วมกนั หรือ
ปรับปรุงกระบวนการทางานให้มีประสทิ ธภิ าพ ระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ ๑2 ชวั่ โมง ตามแผนงานทีว่ างไว้
๑๒) ทดลองให้ผทู้ ่ีผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพแรงงานไปปฏิบัตงิ านจริงในหนา้ งานท่ีเกิดปัญหา ประมาณ
๒ เดือน เพ่ือประยุกต์ใช้ทักษะ หรือองค์ความรู้จากกระบวนการฝึกอบรม เพื่ อปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการทางาน หรือลดขันตอน ลดเวลา ลดการสูญเสียในวงจรการผลิต ภายใต้การกากับดูแลของหวั หน้างานอย่าง
ใกล้ชิด และมกี ารตรวจเยยี่ มของทมี นกั พฒั นาผลิตภาพแรงงานเป็นระยะ
๑๓) ประสานการจัดเก็บข้อมูลผลการดาเนินงาน หรือผลิตจากการพัฒนาศักยภาพแรงงา น
หรอื การปรับปรุงกระบวนการทางาน เพื่อนาไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู รว่ มกบั ผ้ปู ระกอบกิจการ ผจู้ ดั การ หวั หนา้ งาน หรือ
ประธานกลุ่ม
๑๔) ร่วมกับผู้เกี่ยวข้องสรุปผลการดาเนินการ เพื่อเปรียบเทียบผลิตภาพแรงงานที่เพิ่มขึนจากการ
พัฒนาศักยภาพแรงงานหรือการปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยมีการเปรียบเทียบข้อมูล ก่อน –หลัง
ดาเนินการ เชน่ ผลิตภาพแรงงาน คุณภาพของสนิ ค้า จานวนของเสีย ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการผลิต ผลการตอบรับของ
ลูกค้าการบริหารจัดการวัตถุดิบ และเปรียบเทียบสัดส่วนเป็นผลิตภาพแรงงานท่ีเพิ่มขึน หรือการลดการสูญเสีย
ในกระบวนการผลิตสินคา้ หรอื คดิ เปน็ จานวนเงนิ ที่กอ่ ให้เกิดมูลค่าเพ่มิ ขึน เปน็ ตน้
๑๕) จัดทารายงานผลการให้คาปรึกษา พร้อมทังส่งมอบแนวทางการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
ให้ผู้ประกอบกิจการ SME กลมุ่ OTOP กล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชน นาไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินธุรกจิ ต่อไป
๑๖) การให้คาปรึกษาครังท่ี ๑ เป็นการชีแจงรายละเอียดการดาเนินโครงการและวางแผนการดาเนินงาน
ร่วมกับผู้แทนหน่วยงาน การให้คาปรึกษาครังที่ ๒ – ๗ ดาเนินการควบคู่กับการจัดฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการ
เพ่ิมผลิตภาพแรงงาน (กิจกรรมที่ ๓) และรายงานผลการดาเนินงานให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ทราบเป็นระยะๆ ผ่านระบบสารสนเทศของหน่วยงาน การให้คาปรึกษาครังที่ ๘ เป็นการสรุปผล
การดาเนินงาน
21
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 4
กิจกรรมที่ 3 “พฒั นาศักยภาพแรงงานเพ่อื เพมิ่ ผลิตภาพแรงงาน” เปา้ หมาย 120 คน
ขนั ตอนการดาเนินงาน
๑) ศกึ ษารวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมในพนื ท่ี สถานประกอบกิจการ หรือกลมุ่ เปา้ หมายที่เข้ารว่ มโครงการ
๒) ประสานงานขอร่างหลักสูตรฝึกอบรมท่ีได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลกับ “นักพัฒนาผลิตภาพแรงงาน”
ที่ดาเนินการให้คาปรึกษาเพิ่มผลิตภาพแรงงานแก่วิสาหกิจขนาดย่อม SME ท่ีมีลูกจ้างหรือพนักงานไม่เกิน
๒๐๐ คน กลุม่ OTOP กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน หรอื กลมุ่ สหกรณ์ ท่มี ีสมาชกิ ไม่เกนิ ๒๐๐ คน จานวน 3 แหง่
๓) ทบทวนเนือหาร่างหลักสูตรฝึกอบรมว่ามีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีเกิดขึนหรือไม่
และนาเสนอผู้อานวยการสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน เพ่ือลงนาม
ให้ความเห็นชอบหลกั สูตรที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม
๔) คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเขา้ ฝึกอบรม กาหนดวนั เวลา และสถานทดี่ าเนินการ
๕) ขออนุมัติดาเนินการจัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแรงงาน ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ตามแนวทางความร่วมมือ “ประชารัฐ” เพื่อเตรียมการจัดฝึกอบรมหลักสูตรท่ีเกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
ซงึ่ เปน็ การจัดฝกึ อบรมเฉพาะดา้ นตามสภาพปญั หาของพนื ท่ี
๖) จัดทาแผนการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพแรงงาน โดยดาเนินการจัดฝึกอบรม จานวน ๒ หลักสูตร
ตอ่ สถานประกอบกจิ การ ๑ แหง่ รวมทังสนิ 120 คน ดังนี
(๑) จัดฝึกอบรมหลักสูตร เทคนิคการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน ระยะเวลาฝึกอบรม ๓๖ ชั่วโมง
จานวน 3 รุ่น รุ่นละ ๒๐ คน รวม 60 คน โดยใช้หลักสูตรกลางของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่กาหนด
ให้แลว้ เสร็จภายในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖5
(๒) จัดฝึกอบรมหลักสูตรเสริมทักษะเฉพาะด้าน ระยะเวลาฝึกอบรม ๑๒ ช่ัวโมง จานวน 3 รุ่น
รุ่นละ ๒๐ คน รวม 60 คน โดยใช้หลักสูตรเฉพาะด้านตามพืนท่ี ให้แล้วเสร็จภายในเดือนสิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๖๔
๗) เตรียมความพร้อมก่อนดาเนินการจัดฝึกอบรม เช่น คัดเลือกวิทยากรที่มีความสามารถเฉพาะด้าน
จัดทาหนงั สือเชิญเปน็ วทิ ยากร ดาเนินการจัดซอื /จัดหาวสั ดุท่จี าเป็น จดั เตรยี มสถานท่ีในการจดั ฝึกอบรม
๘) ดาเนนิ การจัดฝกึ อบรม และกากับ ดแู ลการจดั ฝึกอบรมให้เปน็ ไปตามแผนงานทว่ี างไว้
๙) ประเมนิ ผลการฝกึ อบรม และสรุปผลการดาเนินงาน
๑๐) รายงานผลการดาเนินงานให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทราบเป็นระยะ ๆ ผ่านระบบสารสนเทศ
ของหนว่ ยงานใหแ้ ล้วเสร็จภายในเดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖5
กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมอนื่ ๆ ได้แก่ การจัดประชุม/การสมั มนา/การอบรมต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การดาเนิน
โครงการ การติดตามผลและการประเมินผลโครงการ การเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ข้อมูลข่าวสารเพื่อสรา้ งการรับรู้
แก่สังคม การพัฒนาระบบการติดตามผล ประเมนิ ผล และการบริหาร/จัดการองค์ความรูก้ ารเพิม่ ผลติ ภาพแรงงาน
ภายในองค์กร และเผยแพร่องค์ความรูส้ ่สู าธารณชนท่วั ไป ผา่ นระบบเครอื ข่ายสารสนเทศ
ผลการดาเนนิ งาน :
ผลผลิต :
ดาเนนิ การได้ 90 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 42.86 เทียบกบั เป้าหมาย 210 คน
เบิกจา่ ยได้ 35,100 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.67 เทยี บกับยอดการจัดสรร 405,000 บาท
22
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 4
ผลสัมฤทธ์ิ :
1. สถานประกอบกิจการได้รับการพัฒนาทักษะด้านการเพิ่มผลิตภาพแรงงานโดยสามารถ
ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์และองค์ความรู้ด้านการเพ่ิมผลิตภาพ
แรงงาน โดยเฉพาะระบบการคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเป็นระบบ ตามแนวทาง STEM Workforce
2. สถานประกอบกิจการเกิดความเชอ่ื ม่นั ในกระบวนการให้คาปรึกษาแนะนาในการเพิม่
ผลติ ภาพแรงงานของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ปญั หา/อปุ สรรค : แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ :
1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื ไวรัสโค 1. ปรบั รูปแบบการฝึกอบรมและให้คาปรึกษาทงั แบบ
โรนา 2019 ทาให้การเข้า-ออกสถานประกอบ onsite และ online แบบผสมผสานเพอื่ ใหโ้ ครงการ
กิจการต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันของจังหวัด ดาเนินต่อไปได้
และสถานประกอบกิจการอย่างเคร่งครัด บางครังมี 2. การประชุมผา่ นสื่อออนไลน์ เพอ่ื หลีกเล่ยี งการรวมกลุ่ม
การปรับเลื่อนการนัดหมาย หรือแผนการดาเนิน
กิจกรรมต่างๆ ออกไป ทาให้ไม่สามารถกาหนด
แผนการดาเนนิ งานได้อย่างชดั เจน
2. การกาหนดวันเขา้ ให้คาปรึกษาให้ตรงกับความ
ต้องการของสถานประกอบกจิ การ
23
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 5
(๓) โครงการยกระดับเพอ่ื เพิม่ ศกั ยภาพฝมี อื และสมรรถนะแรงงาน
วัตถปุ ระสงค์ :
(๑) เพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานใหม่ ให้มีทักษะองค์ความรู้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
(๒) เพ่ือสร้างนิสัยอุตสาหกรรมและปลูกฝังทัศนคติ (Attitudes) และประสบการณ์ รวมทังคุณธรรม
จริยธรรม ตลอดจนศาสตรข์ องพระราชากับการพฒั นาทยี่ ่ังยืนในการปฏบิ ตั งิ านและการประกอบอาชีพ
(๓) เพ่ือพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศให้กับแรงงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการส่ือสารระหว่างการ
ทางานและนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
(๔) เพื่อ Up skill และ Re skill แรงงานให้สามารถทางานที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาด เตรียมความ
พรอ้ มรองรับการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยขี องภาคอุตสาหกรรม/บรกิ ารและรองรับการปรบั เปลีย่ นอาชีพ
(๕) เพ่ือพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานรองรับการจ่ายค่าจ้างที่จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
ความสามารถในการแข่งขนั สอดคลอ้ งและเหมาะสมตามความต้องการของนายจา้ ง
กล่มุ เป้าหมาย : แรงงานใหม่ นกั ศึกษา ผู้วา่ งงาน แรงงานในสถานประกอบกจิ การ และแรงงานนอกระบบ
เป้าหมาย : จานวน 260 คน งบประมาณ 1,090,000 บาท
1) ฝกึ เตรยี มเข้าทางาน 160 คน
2) ฝึกยกระดับฝีมือ 100 คน
ตวั ชีวัด
เชิงปริมาณ : จานวนแรงงานไดร้ บั การพัฒนาฝมี อื แรงงานได้ไดไ้ ม่ต่ากวา่ เป้าหมาย 260 คน
เชงิ คุณภาพ : ประสิทธภิ าพการผลติ ของปัจจยั ด้านแรงงานเพมิ่ ขนึ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 35
วิธกี ารดาเนนิ งาน :
ประสานความต้องการของสถานประกอบกิจการ แรงงานกลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนการฝึกประจาปี
งบประมาณ ขออนุมัติแผนการฝึก ประกาศ/ประชาสัมพันธ์การรับสมัครฝึก จัดเตรียมหลักสูตรการฝึกอบรม
ประสานวิทยากร ออกรายการวัสดุฝึก ขออนุมัติดาเนินการฝึก/จ้างวิทยากร/ซือวัสดุฝึก จัดเตรียมความพร้อม
ของวัสดุ ครุภัณฑ์ และสถานที่ฝึกอบรม จัดเตรียมเอกสารประกอบการฝึกอบรม ดาเนินการฝึกอบรม วัดและ
ประเมินผลผู้เข้ารับการฝึก ติดตามสอบถามความพึงพอใจ รายงานผลการฝึก ประกาศรายช่ือผู้สาเร็จการฝึก
จัดทาวุฒิบัตรมอบให้ผู้สาเร็จการฝึกอบรม รวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย จัดทาขออนุมัติ
เบิกคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม ติดตามผลสมั ฤทธิ์หลังจบฝึก 90 วัน บันทึกผลการติดตามผ่านระบบสารสนเทศของ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผลการดาเนินงาน :
ผลผลติ :
เปา้ หมายรวม 260 คน ดาเนนิ การได้ 168 คน คิดเปน็ ร้อยละ 64.62 เทยี บกับเป้าหมาย
- ฝกึ เตรยี มเข้าทางาน เปา้ หมาย 160 คน ดาเนินการได้ 107 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.88
- ฝกึ ยกระดับฝมี อื เป้าหมาย 100 คน ดาเนนิ การได้ 61 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 61
เบิกจา่ ยได้ 424,559 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 38.95 เทียบกับยอดการจัดสรร
24
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 5
ผลสัมฤทธิ์ :
การฝกึ ยกระดบั ฝีมอื ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของปัจจยั ดา้ นแรงงานเพม่ิ ขนึ รอ้ ยละ 20
และอยรู่ ะหวา่ งตดิ ตามผลสมั ฤทธิ์หลงั ครบ 90 วัน หลงั จบฝกึ อบรม ซ่ึงครบกาหนด
และเริ่มดาเนินการตดิ ตามผลตงั แตว่ นั ที่ 8 ก.พ.65 เป็นตน้ ไป
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแก้ไข/ขอ้ เสนอแนะ :
--
อยู่ระหวา่ งดาเนินการคาดว่าจะแลว้ เสรจ็ ภายใน 30 กนั ยายน 2565
25
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. ๑ – 6
(๕) กิจกรรมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแหง่ ชาติ
วัตถปุ ระสงค์ : ๑. เพื่อสง่ เสริมให้แรงงานทัว่ ไปและกลมุ่ นกั ศกึ ษาในสงั กัดอาชีวศึกษามีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน และพัฒนาฝมี อื ของตนเองให้ได้มาตรฐาน
๒. เพ่ือยกระดับมาตรฐานฝีมือของแรงงานทั่วไปและกลุ่มนักศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา ให้มี
ศกั ยภาพพร้อมเข้าส่ตู ลาดแรงงานทงั ในและต่างประเทศ
๓. เพ่ือรองรับแรงงานที่จะเข้าสู่กระบวนการรับรองความรู้ความสามารถในอาชีพท่ีอาจเป็น
อนั ตรายต่อสาธารณะ ตามพระราชบญั ญัติส่งเสริมการพฒั นาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ไดแ้ ก่
สาขาช่างเคร่ืองปรับอากาศในบ้านและการพาณชิ ย์ขนาดเลก็ สาขาช่างเชื่อมอาร์กโลหะด้วยมือ สาขาช่างเช่ือมทิก และ
สาขาช่างเชือ่ มแมก็
กลมุ่ เปา้ หมาย :
แรงงานท่ัวไปทังอยู่ในระบบการจ้างงานและไม่อยู่ในระบบการจ้างงาน รวมทังกลุ่มนักศึกษา ในสังกัด
อาชวี ศึกษาทจี่ บการศกึ ษาไมต่ ่ากวา่ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ในสาขาทจ่ี ะเข้าทดสอบซงึ่ มีอายุไม่ตา่ กว่า 18 ปี
บริบูรณ์นับถึงวันสมัครเข้ารับการทดสอบ และมีคุณสมบัติตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ
แรงงานทกี่ าหนดไว้ในมาตรฐานฝมี อื แรงงานแห่งชาติของแต่ละสาขาอาชีพ จานวน 500 คน
เป้าหมาย : 500 คน งบประมาณ 375,000 บาท
ตัวชวี ัด
เชิงปริมาณ : จานวนแรงงานเข้ารบั การทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานแหง่ ชาตไิ มต่ า่ กว่าเป้าหมาย 500 คน
เชิงคุณภาพ : -
วธิ กี ารดาเนนิ งาน :
ดาเนินกิจกรรมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานให้แก่แรงงานทั่วไปทังอยู่ในระบบการจ้างงานและ
ไม่อยู่ในระบบการจ้างงาน รวมทังกลุ่มนักศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการซึ่งจะต้องมี
คณุ สมบัตติ ามประกาศคุณสมบัตผิ ู้เข้ารับการทดสอบตามสาขาอาชีพและระดับของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนา
ฝีมือแรงงาน และผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จะได้รับหนังสือรับรองว่า
เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตามสาขาอาชีพและระดับที่ผ่านการทดสอบ ติดตาม
ประเมินผลการทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานบนั ทึกในระบบสารสนเทศ
ผลการดาเนนิ งาน :
ผลผลิต :
เป้าหมาย 500 คน ดาเนินการได้ 515 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 103 เทียบกับเป้าหมาย
เบิกจา่ ยได้ 46,545 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 12.41 เทียบกับยอดการจดั สรร
ผลสมั ฤทธ์ิ : -
ปญั หา/อปุ สรรค : แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ :
--
อยู่ระหว่างดาเนินการคาดว่าจะแลว้ เสรจ็ ภายใน 30 กนั ยายน 2565
26
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. ๑ – 7
(๖) กจิ กรรมเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของเครือข่ายการดาเนินงานเกีย่ วกบั มาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ
วตั ถปุ ระสงค์ : . ๑. เพอื่ เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธก์ ารส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงานแหง่ ชาติ
๒. เพ่อื เพิม่ ประสิทธิภาพการดาเนนิ งานของเครอื ขา่ ยเก่ียวกบั งานดา้ นมาตรฐานฝมี ือแรงงาน
แห่งชาติ และสร้างความรู้ ความเข้าใจการปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ทก่ี รมพัฒนาฝีมอื แรงงานในการติดตามการ
ดาเนินงานของเครือข่ายการพัฒนาฝมี ือแรงงาน
๓. เพ่ือบรู ณาการความร่วมมอื และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และสถาน
ประกอบกจิ การ
กลุ่มเป้าหมาย : สถานประกอบกิจการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม องคก์ ร ในพนื ที่
ตัวชีวัด
เชงิ ปริมาณ :
1. ตดิ ตามการดาเนนิ งานของศูนยท์ ดสอบในพนื ท่ีของหนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ จานวน 18 แหง่
(รอ้ ยละ 50 ของจานวนศนู ยท์ ดสอบฯ ในพืนท่)ี
2. รายงานศูนยท์ ดสอบท่มี ีในพืนที่ตามแบบประกันคณุ ภาพการทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานแหง่ ชาติ
ผ่านการตรวจ การรายงานและภาพถ่าย
3. รอบ 6 เดือนแรก ส่งรายงานศนู ยท์ ดสอบท่ีมใี นพืนท่ีตามแบบประกนั คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน
ฝีมอื แรงงานแห่งชาติ
วธิ กี ารดาเนินงาน :
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเป็น
ผูด้ าเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงานแห่งชาติ ให้หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน หรือสถานประกอบกิจการได้รบั รู้
รับทราบ ส่งเสริมการจัดตังศูนย์ทดสอบ/การต่ออายุใบอนุญาตให้กับศูนย์ทดสอบ จัดทาแผนการตรวจเย่ียมและ
ออกตรวจเยี่ยมตามแผน ออกชีแจงการดาเนินการทดสอบภายใต้ระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝมี ือ
แรงงานแห่งชาติ
ผลการดาเนนิ งาน :
ผลผลติ :
จัดตังศูนย์ทดสอบในพืนที่ได้ จานวน 18 แห่ง และออกตรวจเยี่ยมชีแจงให้ศูนย์ทดสอบท่ี
ได้รับอนุญาตดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จานวน 10 แห่ง
คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.56
ผลสมั ฤทธิ์ :
มีเครือข่ายในการดาเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเพิม่ ขึน แรงงานมีทักษะฝมี ือได้
มาตรฐานกอ่ นเข้าส่ตู ลาดแรงงานและหรอื ลูกจา้ งในสถานประกอบกิจการได้คา่ จา้ งที่สงู ขึน
ปญั หา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
--
อย่รู ะหวา่ งดาเนินการคาดวา่ จะแล้วเสรจ็ ภายใน 30 กันยายน 2565
27
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 8
(๗) กจิ กรรม สง่ เสริมและสนับสนนุ ให้สถานประกอบกิจการดาเนินการพฒั นาฝีมือแรงงานตาม
พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕
วัตถุประสงค์ : ๑. เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง
ของตนหรอื บคุ คลท่ัวไปกอ่ นรับเข้าทางาน รวมถึงกรณีรับนักเรียนนสิ ิต นักศกึ ษาหรือบุคคลทที่ างราชการสง่ มาฝึก
ตามพระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การพัฒนาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม
๒. เพ่ือให้แรงงานมีฝีมือ สามารถผลิตสินค้าหรือบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
๓. เพื่อให้การปฏิบตั ิงานเป็นไปอยา่ งถูกต้องตามหลักเกณฑท์ ่ีกาหนด ตอบสนองความต้องการของ
ผปู้ ระกอบกจิ การ
เป้าหมาย : 7,600 คน 62 แห่ง
ตัวชีวัด
เชิงปรมิ าณ : แรงงานในสถานประกอบกิจการไดร้ ับการพฒั นาฝีมือแรงงานได้ตามเปา้ หมาย
เชงิ คณุ ภาพ : แรงงานได้รับความร้แู ละมีทกั ษะฝมี อื สามารถผลิตสินค้าหรือบรกิ ารไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ลดตน้ ทุนการผลิต เป็นทพี่ งึ พอใจของสถานประกอบกิจการ
วิธกี ารดาเนนิ งาน :
1. รับเรอ่ื งคาขอ/ตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสารขันต้น/ลงทะเบียนเอกสารทีผ่ ่านการตรวจขันตน้
2. ดาเนินการตรวจสอบหลกั ฐาน หลักสตู ร รายละเอียดที่เก่ยี วข้องและรายการค่าใชจ้ ่ายทใี่ ช้ในการฝกึ
เปน็ ไปตามประกาศคณะกรรมการส่งเสรมิ การพฒั นาฝมี ือแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เง่ือนไขในการเห็นชอบหลกั สูตร รายละเอยี ดที่เก่ียวข้องและรายการคา่ ใช้จา่ ยในการยกระดับฝีมอื
แรงงานและเปลย่ี นสาขาอาชีพ ลงวันท่ี 3 ตุลาคม 2551(ฉบับที่ 2) ลงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2564
3. ส่งผลการพิจารณาตรวจสอบให้ผู้รับรอง พจิ ารณา/ตรวจทานความถูกต้องของเอกสารตามคาขอ/สง่
นายทะเบียนพจิ ารณา
4. นายทะเบยี นพจิ ารณาลงนามอนุมัติ
5. ผปู้ ระกอบการพมิ พ์หนงั สอื รบั รองผ่านระบบ PRB-e-service ได้หลงั จากนายทะเบียนอนุมัติ
ผลการดาเนนิ งาน :
ผลผลิต :
ดาเนินการได้ 3,008 คน คิดเป็นร้อย 39.58
จานวนเงินที่รับรอง 1,033,351.47 บาท จานวนหลกั สูตรที่รับรอง....337....หลักสูตร
ผลสัมฤทธิ์ :
แรงงานในสถานประกอบกจิ การไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะฝมี อื ตามเปา้ หมายสามารถผลิตสนิ คา้ หรอื
บริการไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดตน้ ทนุ การผลติ
28
๓.๑ การตรวจติดตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 8
ปญั หา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค 1. จัดทาแผนการประชาสมั พันธ์ให้สถานประกอบ
ติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 คณะกรรมการส่งเสริมฯ กิจการดาเนินการฝึกอบรมลูกจ้างของตนเองให้ได้
ได้กาหนดมาตรการช่วยเหลือสถานประกอบกิจการ ร้อยละ 50
เก่ียวกับการฝึกอบรมลูกจ้างของตนเองตาม พ.ร.บ. 2. ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการท่ีไม่อยู่ในข่าย
ส่งเสริมฯ จานวน 2 มาตรการ คือ ดาเนินการฝึกอบรมลูกจ้างของตนเอง เพ่ือให้ได้รับ
1. ปรับลดสัดส่วนการฝึกอบรมลูกจ้าง สทิ ธิประโยชนด์ ้านเงินอดุ หนนุ
ของสถานประกอบกิจการให้เหลือเพียงร้อยละ 20
ของจานวนลกู จา้ งทงั หมด
2. การปรับลดการส่งเงินสมทบเข้ากองทุน
การพัฒนาฝีมือแรงงาน (สท.2) ให้เหลือเพียง
ร้อยละ 0.01
และจากมาตรการข้างต้นทาให้สถานประกอบ
กิจการที่อยู่ในข่ายการฝึ กอบร มตาม พ.ร.บ.
ส่งเสริมฯ ลดสัดส่วน หรืองดการจัดฝึกอบรมลูกจ้าง
ของตนเอง และปรับมาใช้มาตรการส่งเงินสมทบ
เข้ากองทุนฯ (สท.2) แทนการจัดฝึกอบรม ส่งผล
ให้ผลการฝึกอบรมลูกจ้างของสถานประกอบกิจการ
ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ ลดลงเป็นจานวนมาก
และไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายทก่ี าหนด
อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การคาดว่าจะแล้วเสรจ็ ภายใน 30 กนั ยายน 2565
29
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 9
(๘) กิจกรรมขับเคลอื่ นการพฒั นาแนวทางการดาเนินงานของ กพร.ปช.
แนวทางดาเนนิ การ
๑. การกาหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพของผู้อยู่ในกาลัง
แรงงานให้สอดคลอ้ งกับนโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
๒. ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหวา่ งระบบการศกึ ษากับระบบการพัฒนากาลงั แรงงานให้มี
ความสมั พันธส์ อดคล้องตามนโยบายแห่งรัฐ และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
๓. ประสานนโยบาย แผนการพัฒนาฝีมือแรงงาน และแผนการฝึกอาชีพของทุกหน่วยงานทังภาครัฐ
และภาคเอกชน เพอ่ื ความเป็นเอกภาพในการพัฒนาแรงงานขจัดปญั หาความซาซ้อนและความสินเปลอื ง
๔. จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนรายอุตสาหกรรมท่ีแสดงอุปสงค์ (ความต้องการกาลัง คน) ทังใน
เชิงปรมิ าณและคุณภาพ (ปริมาณการผลิตและการพัฒนากาลังคน) ของประเทศ
๕. ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและแผนงาน ในการพัฒนาแรงงานและประสานงาน
การฝึกอาชพี ของหน่วยงานตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง
6. เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคเกย่ี วกบั การพฒั นาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชพี
วธิ ีการดาเนนิ งาน/ผลการดาเนนิ งาน
1. สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน 7 อุบลราชธานี ไดศ้ ึกษา และรวบรวมข้อมูลด้านกาลังแรงงาน วิเคราะห์ความ
ตอ้ งการแรงงาน ความต้องการพัฒนาทักษะฝีมอื แรงงานในภาพรวมของจังหวัด เพ่อื กาหนดนโยบายและแนวทาง
ในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพของผู้อยู่ในกาลังแรงงานให้สอดคล้องกบั นโยบายของรัฐบาล
และแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ โดยการประสานแผนการพัฒนาฝีมือแรงงานและการฝกึ อาชีพเข้ากับ
แผนพฒั นาจงั หวัดอบุ ลราชธานี ปี 2566 – 2570 ใน ประเดน็ การพัฒนาจังหวดั ดังนี 1. การพัฒนาเมืองน่าอยู่
ทันสมัย 2. การสง่ เสริมเกษตรปลอดภัยมูลค่าสูง 3. การส่งเสริมเศรษฐกิจชวี ภาพ 4. การพัฒนาศูนยก์ ลางการค้า
การลงทุน 5. การส่งเสริมเมอื งทอ่ งเทยี่ วแห่งความสุขหลายมิติสู่สากล โดยไดจ้ ัดทาร่างแผนพัฒนากาลังคนจังหวัด
อุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2565 – 2570 รวม 65 โครงการรายละเอียดตามเอกสารดังแนบ
2. สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานีได้ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างระบบ
การศึกษากับระบบการพัฒนากาลังแรงงานให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องตามนโยบายแห่งรัฐ และแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยได้จัดทา คาส่ังคณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
จังหวัด (กพร.ปจ.) ที่ 38960/2564 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2565 เร่ือง แต่งตังคณะทางานขับเคลื่อนแผนการ
พฒั นากาลงั คนจงั หวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2565 – 2570 ซึ่งไดด้ าเนินงานโครงการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารจดั ทาร่าง
แผนการพัฒนากาลังคนจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2565 – 2570 ในวันพุธท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2565 ผา่ นระบบ
Zoom Meeting
3. สถาบันพฒั นาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี ไดป้ ระสานนโยบาย แผนการพฒั นาฝมี ือแรงงาน และแผนการ
ฝึกอาชีพของทกุ หนว่ ยงานทังภาครฐั และภาคเอกชน เพอ่ื ความเป็นเอกภาพในการพัฒนาแรงงานขจัดปญั หาความ
ซาซ้อนและความสินเปลือง โดยการจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทาร่างแผนการพัฒนากาลังคนจังหวัด
อบุ ลราชธานี พ.ศ. 2565 – 2570 เมือ่ วนั พธุ ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2565
4. สถาบันพฒั นาฝีมือแรงงาน 7 อบุ ลราชธานี จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนรายอุตสาหกรรมท่ีแสดงอุปสงค์
(ความต้องการกาลังคน) ทงั ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพและอุปทาน (ปริมาณการผลิตและการพัฒนากาลังคน) ของ
ประเทศ โดยการจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทาร่างแผนการพัฒนากาลังคนจังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2565 – 2570 เม่ือวนั พุธท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2565 ซง่ึ ผลการดาเนินการ สามารถกาหนดโครงการพัฒนา
30
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 9
กาลังคนได้ 65 โครงการ จาแนกตามกลมุ่ อุตสาหกรรมประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) ปี 2552
Thailand Standard Industrial Classification (TSIC 2009) ได้ ดงั นี
4.1 กลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง (Agriculture, forestry and fishing)
จานวน 33 โครงการ
4.2 กล่มุ อุตสาหกรรมการผลติ (Manufacturing) จานวน 20 โครงการ
4.3 กลุ่มอุตสาหกรรมการขนส่งและสถานท่ีเก็บสินค้า (Transportation and storage) จานวน 3
โครงการ
4.4 กลุ่มอุตสาหกรรมกิจกรรมการบรกิ ารดา้ นอนื่ ๆ (Other service activities) จานวน 2 โครงการ
4.5 กลุ่มอุตสาหกรรมกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุนอ่ืน ๆ (Administrative and support
service activities) จานวน 2 โครงการ
4.6 กลุ่มอุตสาหกรรมท่ีพักแรมและบรกิ ารด้านอาหาร(Accommodation and food service activities)
จานวน 1 โครงการ
๕.สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานี ได้ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและ
แผนงาน ในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพของหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง โดยการจัดทา
แบบสอบถามถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการต่างๆ ตามแผนการพัฒนากาลังคนจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.
2565 – 2570 โดยผลการดาเนนิ งานอย่รู ะหวา่ งการรวบรวมตอบกลบั จากหนว่ ยงานตา่ งๆ
6. จากการดาเนนิ งานท่ีผา่ นมายังไมพ่ บปญั หาและอุปสรรค ทังนีสถาบันพัฒนาฝมี อื แรงงาน 7 อบุ ลราชธานไี ด้
กาหนดการประชุม คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพจังหวัด (กพร.ปจ.) ครังท่ี
1 / 2565 ในวันพุธที่ 23 มีนาคม 2565 และ ประชมุ ครงั ที่ 2 /2565 ในวันพธุ ที่ 10 สิงหาคม 2565
อุตสาหกรรมทจ่ี ดั ทาแผนพฒั นากาลงั คน
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อุบลราชธานีจัดโครงการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการจัดทาร่างแผนการพัฒนากาลังคน
จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2565 – 2570 เม่ือวันพุธท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2565 ซ่ึงผลการดาเนินการ สามารถ
กาหนดโครงการพัฒนากาลังคนได้ 61 โครงการ จาแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรมประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม
(ประเทศไทย) ปี 2552 Thailand Standard Industrial Classification (TSIC 2009) ได้ ดังนี
1 กลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรกรรม การป่าไม้และการประมง (Agriculture, forestry and fishing)
จานวน 33 โครงการ
4.2 กลุ่มอุตสาหกรรมการผลติ (Manufacturing) จานวน 20 โครงการ
4.3 กลุ่มอุตสาหกรรมการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า (Transportation and storage) จานวน
3 โครงการ
4.4 กลุม่ อตุ สาหกรรมกิจกรรมการบรกิ ารด้านอื่น ๆ (Other service activities) จานวน 2 โครงการ
4.5 กลุ่มอุตสาหกรรมกิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุนอ่ืน ๆ (Administrative and support
service activities) จานวน 2 โครงการ
4.6 กลุ่มอตุ สาหกรรมที่พักแรมและบริการด้านอาหาร(Accommodation and food service activities)
จานวน 1 โครงการ
ปญั หา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
--
อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 30 กนั ยายน 2565
31
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – 10
(๙) กจิ กรรมเพ่ิมทักษะอาชพี แกน่ กั เรยี นทไี่ มไ่ ดเ้ รียนตอ่ หลังจบการศึกษาภาคบงั คับ
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อเพม่ิ ทักษะด้านอาชพี ให้กับกล่มุ เปา้ หมายใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะฝีมือแรงงานและ
การเตรียมความพรอ้ มทางดา้ นจรรยาบรรณในวชิ าชพี เพอื่ เขา้ สู่กระบวนการทางาน
๒. เพอ่ื สร้างความย่งั ยืนในการประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และสังคมใหก้ ารยอมรับใน
ศกั ยภาพการทางาน
๓. เพ่อื เพม่ิ ทักษะดา้ นอาชพี ให้กบั เด็กนกั เรียนท่ไี มไ่ ด้เรียนต่อหลงั จบการศึกษาภาคบงั คับทั่วประเทศ
กลุ่มเปา้ หมาย : นกั เรียนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั (ม.3) ที่ไมไ่ ดศ้ ึกษาตอ่ และอายไุ ม่เกนิ 25 ปี เพ่อื เขา้ รบั การเพม่ิ
ทักษะด้านอาชีพ จานวน 20 คน
เป้าหมาย : 20 คน งบประมาณ 243,860 บาท
ตวั ชีวัด
เชงิ ปริมาณ : จานวนผู้เขา้ รับการฝึกอบรมได้ตามเปา้ หมาย จานวน 20 คน
เชิงคณุ ภาพ : ผู้ทีส่ าเร็จการฝึกอบรมได้ตามมาตรฐานการฝึก ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 85
วิธกี ารดาเนนิ งาน :
แต่งตังคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการ ประชุมกรรมการขับเคลื่อนโครงการ จัดทาปฏิทินและกาหนด
วนั ที่ดาเนินการ กาหนดหลักสูตรการฝึกอบรม มอบหมายภารกิจจัดทาแบบสอบถามและแบบสรุป ให้หน่วยงาน
ต้นสังกดั สถานศึกษา ประชุมชีแจงผู้อานวยการโรงเรยี นและครูแนะแนว สารวจและจาแนกนกั เรียนกลุ่มเป้าหมาย
นานักเรียนกลุ่มเป้าหมายไปศึกษาดูงานและรับสมัครเขา้ อบรมท่ีสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ขอรับการสนับสนุน
เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พ่ึง เงินสงเคราะห์กองทุนคุ้มครองเด็กเงินทุนเพื่อ
การประกอบอาชพี หรือเงนิ สงเคราะห์อ่นื แก่นักเรียนกลมุ่ เป้าหมายจากหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ฝึกอบรมทกั ษะดา้ น
อาชีพหลักสูตรการฝึกเตรียมเข้าทางาน จัดเตรียมตาแหน่งงานรองรับหลังผ่านการฝึกอบรม ติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินโครงการ ติดตามผลระหว่างดาเนินโครงการ ประเมินผลการดาเนินโครงการ (ภายหลัง
เสรจ็ สนิ โครงการ) สรุปรายงานผลการดาเนินโครงการ ใหก้ รมพฒั นาฝมี อื แรงงานทราบ
ผลการดาเนินงาน :
ผลผลิต :
เป้าหมาย 20 คน ดาเนินการได้ : อย่รู ะหวา่ งการดาเนนิ การให้นกั เรียนกลมุ่ เปา้ หมาย เขา้ ศกึ ษาดู
งานและวัดแวว ในระหวา่ งวนั ท่ี 22 ก.พ. 2565 - วนั ที่ 25 มนี าคม 2565
คิดเป็นรอ้ ยละ - เทยี บกับเปา้ หมาย
เบิกจ่ายได้ - บาท คิดเปน็ ร้อยละ - เทยี บกบั ยอดการจัดสรร
ผลสมั ฤทธ์ิ : -
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
--
อยู่ระหวา่ งดาเนินการคาดวา่ จะแลว้ เสร็จภายใน 30 กันยายน 2565
32
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 – ๑1
(๑๐) กิจกรรมพัฒนาฝีมือแรงงานสตรเี พอ่ื ยกระดับคุณภาพชีวติ
วัตถปุ ระสงค์ : ๑. เพ่ือฝกึ ทักษะอาชพี และพัฒนาฝีมอื แรงงานในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ แก่สตรีให้มที กั ษะอาชีพ
สามารถนาไปประกอบอาชพี ได้จรงิ
๒. เพ่อื ให้ผู้ที่สาเร็จการฝึกอาชพี ตามโครงการฯ สามารถประกอบอาชพี ไดท้ ันทีภายหลังสาเร็จ
การฝกึ อบรม
กล่มุ เปา้ หมาย :
1) สตรี อายุระหวา่ ง 18 - 59 ปี
2) จบการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ขนึ ไป
3) มีความมงุ่ มั่นตังใจที่จะประสบความสาเร็จในการประกอบอาชพี อิสระ จานวน 60 คน
เปา้ หมาย : 60 คน งบประมาณ 115,500 บาท
ตวั ชีวัด
เชิงปริมาณ : จานวนผสู้ าเรจ็ การฝึกอบรม ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ : ร้อยละของผูส้ าเรจ็ การฝึกสามารถประกอบอาชีพหรือมรี ายได้ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70
วิธีการดาเนินงาน :
ประสานความต้องการของสถานประกอบกิจการ แรงงานกลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนการฝึกประจาปี
งบประมาณ ขออนุมัติแผนการฝึก ประกาศ/ประชาสัมพันธ์การรับสมัครฝึก จัดเตรียมหลักสูตรการฝึกอบรม
(30 ช่ัวโมง) ประสานวิทยากร ออกรายการวัสดุฝึก ขออนุมัติดาเนินการฝึก/จ้างวิทยากร/ซือวัสดุฝึก จัดเตรียม
ความพรอ้ มของวัสดุ ครุภัณฑ์ และสถานท่ฝี ึกอบรม จัดเตรียมเอกสารประกอบการฝึกอบรม ดาเนินการฝึกอบรม
วัดและประเมินผลผู้เข้ารับการฝึก ติดตามสอบถามความพึงพอใจ รายงานผลการฝึก ประกาศรายช่ือผู้สาเร็จ
การฝึก จัดทาวุฒิบัตรมอบให้ผู้สาเร็จการฝึกอบรม รวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย จดั ทาขออนุมัติ
เบกิ คา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรม ติดตามผลสัมฤทธิ์หลงั จบฝึก 90 วัน บันทึกผลการตดิ ตามผ่านระบบสารสนเทศของ
กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน
ผลการดาเนินงาน :
ผลผลิต :
เปา้ หมาย 60 คน ดาเนินการได้ 30 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 เทียบกบั เปา้ หมาย
เบิกจ่ายได้ 12,080 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.46 เทยี บกบั ยอดการจดั สรร
ผลสัมฤทธิ์ :
อยู่ระหว่างตดิ ตามผลสมั ฤทธิ์หลังครบ 90 วนั หลังจบฝกึ อบรม ซงึ่ จะครบกาหนดใหเ้ ริ่มดาเนินการ
ติดตามผลในวันที่ 5 พ.ค.65 เป็นต้นไป
ปญั หา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
--
อย่รู ะหวา่ งดาเนินการคาดวา่ จะแล้วเสร็จภายใน 30 กนั ยายน 2565
33
๓.๑ การตรวจตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการของกรม แบบ กพร.ตร. 1 - 12
(๑๑) โครงการพัฒนาศกั ยภาพช่างเชือ่ มไทยสู่ระดับสากล
กิจกรรม :การฝึกอบรมหลักสตู รยกระดบั ฝมี อื ชา่ งเชอื่ มสากล
วตั ถปุ ระสงค์ : ๑. เพ่ือพฒั นาแรงงานชา่ งเช่อื มในระบบ นอกระบบ ผูว้ ่างงาน และนักศึกษาชันปีสุดทา้ ยท่ีจะเข้าสู่
ตลาดแรงงานใหม้ ีทกั ษะฝีมือตามข้อกาหนดมาตรฐานสากล
๒. เพ่ือพัฒนาช่างเช่ือมให้มีทักษะฝีมือ สอดคล้องความต้องการภาคอุตสาหกรรมการผลิตและ
บรกิ ารทังปจั จุบันและอนาคต
กลมุ่ เป้าหมาย :
แรงงานในระบบการจ้างงาน แรงงานนอกระบบ ผู้ว่างงาน นักศึกษาอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วิชาชพี ชนั ปีสุดทา้ ยขนึ ไป ในสาขาอาชีพที่เก่ียวขอ้ งกบั วิชาชีพช่างเชอื่ ม หรอื นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรีชนั ปสี ุดท้าย
ขึนไป ในสาขาอาชีพที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพช่างเชื่อม ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าฝึกอบรมหลักสูตรยกระดับฝีมือช่าง
เชือ่ มสากล ระยะเวลา 18 ชม. จานวน 40 คน
เปา้ หมาย : 40 คน งบประมาณ 143,200 บาท
ตัวชีวัด
เชิงปริมาณ : จานวนผู้เข้ารบั การฝึกอบรมครบตามเปา้ หมาย 40 คน
เชงิ คณุ ภาพ : ผู้เข้าฝึกอบรมหลักสูตรยกระดบั ฝีมือ ผ่านการประเมินตามข้อกาหนดหลกั สตู รยกระดบั ฝมี ือ
กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50
วธิ ีการดาเนินงาน :
1. บูรณาการความรว่ มมอื กับสถานศกึ ษา หน่วยฝึกอ่นื ๆ จากภาครัฐและเอกชน สภาอตุ สาหกรรม
สภาหอการค้า สถานประกอบกจิ การในกระบวนการเชอ่ื มต่างๆ
2. ตรวจสอบความพรอ้ มด้านสถานท่ี เครอื่ งจักร เคร่อื งมอื อุปกรณ์ และบุคลากรการฝกึ ของหน่วยฝกึ อบรม
3. ดาเนนิ การฝึกตามเกณฑป์ ระกันคุณภาพการพฒั นาฝีมือแรงงาน
4. ประเมินผล วดั ผลความรู้ ความสามารถของผรู้ ับการฝกึ อบรม ตามข้อกาหนดการรับรอง
ชา่ งเชื่อมสากล (ISO 9606-1)
5. บันทึกผลการดาเนินงานในระบบรายงานผลการดาเนนิ งาน
6. ประกาศผลผผู้ ่านการฝกึ อบรม จัดทาวฒุ บิ ัตรผู้ผา่ นการฝกึ อบรมซ่งึ ออกโดยกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
7. จัดทาประกาศรายช่ือผ้ผู ่านการฝึกอบรม
ผลการดาเนินงาน :
ผลผลิต :
เป้าหมาย 40 คน ดาเนินการได้ 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 47.50 เทยี บกับเป้าหมาย
เบิกจ่ายได้ 70,435 บาท คิดเป็นร้อยละ 49.19 เทียบกับยอดการจดั สรร
ผลสมั ฤทธ์ิ :
ผู้เข้าฝกึ อบรมหลักสูตรยกระดบั ฝีมือ จานวน 19 คน ผ่านการประเมนิ ตามข้อกาหนด
ของหลกั สูตรยกระดบั ฝีมือกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน จานวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
ปญั หา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
--
อยู่ระหวา่ งดาเนินการคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 30 กันยายน 2565
34
๓.๒ การตรวจตดิ ตามนโยบายสาคัญ/ภารกิจท่ีได้รับมอบหมายจากกระทรวง แบบ กพร.ตร. ๒ – ๑
แรงงาน/กรม/จังหวัด
(๑) กจิ กรรม : ๑ โครงการ ๑ จังหวดั ๑ หลักสตู ร
วัตถุประสงค์ :
1) เพ่ือยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้มีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับ
ความสามารถเฉพาะบุคคลและความตอ้ งการของตลาดแรงงาน รวมทงั เทคโนโลยสี มัยใหม่
2) เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือด้วยเทคโนโลยี สาหรับเป็นฐานในการต่อยอด
ความรู้ไปสกู่ ารสร้างสรรคง์ านใหม่ๆ อันจะช่วยสรา้ งโอกาสและทางเลือกในการทางานใหม้ ากขึน
3) เพ่อื ใช้เป็นกลไกตอบสนองแนวนโยบายของรัฐบาล ในการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการพัฒนา
ศกั ยภาพของคนไทย
กลมุ่ เปา้ หมาย :
แรงงานในสถานประกอบกิจการ ผูว้ า่ งงาน และนกั ศึกษา (ชนั ปีสดุ ท้าย) ผู้ประกอบการ บุคลากรการไฟฟา้
สว่ นภมู ภิ าค อาทิ ลกู จ้างช่าง และผปู้ ฏิบัติงานในระบบจาหนา่ ยของการไฟฟา้ บุคลากรกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
เป้าหมาย : 100 คน/ครัง งบประมาณ - บาท บรู ณาการหนว่ ยงานภาคส่วนอน่ื ๆ
วิธีการดาเนินงาน :
กจิ กรรมที่ 1 จัดตงั สถานีทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงาน
กิจกรรมที่ 2 พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาแรงงานให้กับผู้ปฏิบัติงานในระบบ
จาหนา่ ยไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค ระหว่าง การไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคจังหวัดอุบลราชธานี กับ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7
อบุ ลราชธานี
กิจกรรมท่ี 3 พัฒนาฝมี ือแรงงานครบวงจร
1. รว่ มกับสถานประกอบกิจการในการพฒั นาหลักสตู รการพัฒนาฝมี ือแรงงาน และหาความต้องการ
ตาแหน่งงานรองรับตลาดแรงงานและการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
2. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ฝึกอบรมยกระดับฝีมือแรงงาน / ทดสอบ / ประเมินและรับรองความรู้
ความสามารถ อาทิ แรงงานในสถานประกอบกิจการ ผู้ว่างงาน ผู้ปฏิบัติงานในระบบจาหน่ายของการไฟฟ้า
และนกั ศึกษา (ชนั ปสี ุดทา้ ย)
3. จัดฝกึ อบรม / ทดสอบ /ประเมนิ
4. รายงานผลในระบบ Data center
5. ตดิ ตามผลสมั ฤทธ์กิ ารฝกึ อบรม
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสรมิ การจา้ งงาน
กจิ กรรมท่ี 5 train the trainers ร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนากาลงั แรงงานใหต้ รงความตอ้ งการของ
ตลาดแรงงาน
กจิ กรรมท่ี 6 ส่งเสริมการพฒั นาฝีมอื แรงงานให้แกส่ ถานประกอบกิจการ
การดาเนนิ โครงการอุบลโมเดลนารอ่ งในการพฒั นาศักยภาพกาลังแรงงานสมู่ าตรฐานสากล เป็นโครงการ
ระยะ 2 ปี โดยปีงบประมาณ 2565 จะดาเนินการกจิ กรรมท่ี 1 - 4 และปีงบประมาณ 2566 จะดาเนนิ การ
กิจกรรมที่ 5 - 6
35
๓.๒ การตรวจติดตามนโยบายสาคญั /ภารกิจทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากกระทรวง แบบ กพร.ตร. ๒ – ๑
แรงงาน/กรม/จังหวัด
ผลการดาเนินงาน :
1. จดั ตงั สถานที ดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแหง่ ชาติ สาขาช่างไฟฟา้ ภายนอกอาคาร ระดับ 1 โดยการ
ไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคจงั หวดั อบุ ลราชธานี สนบั สนุนเครือ่ งมือวัสดอุ ปุ กรณใ์ นการติดตังสถานที ดสอบฯ
สาขาช่างไฟฟา้ ภายนอกอาคาร ระดบั 1
ณ สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน 7 อบุ ลราชธานี
2. พิธลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือวา่ ดว้ ยการพัฒนาแรงงานใหก้ ับผูป้ ฏิบตั ิงานในระบบจาหนา่ ยไฟฟ้า
สว่ นภมู ภิ าค ระหว่าง การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคจงั หวดั อุบลราชธานี กบั สถาบนั พฒั นาฝีมอื แรงงาน 7
อุบลราชธานี ซึง่ จะลงนามในวนั ที่ 11 มนี าคม 2565
3. อยรู่ ะหวา่ งการดาเนนิ การฝกึ อบรมตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน เพื่อส่งให้สถานประกอบกจิ การ
อาทิ บริษัท จาร์ดนี เอน็ จเิ นียริ่ง จากดั สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเคร่ืองกลไทย บริษทั ภทั รเมทากิจ
จากัด
4. ร่วมมอื กับภาคการศึกษาในการส่งนักศกึ ษาชนั ปีสุดท้าย เขา้ ฝึกอบรมเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าสู่
ตลาดแรงงาน เพ่ือสง่ ตอ่ แรงงานคณุ ภาพให้แก่สถานประกอบกจิ การทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ อาทิ มหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี วทิ ยาลยั เทคนคิ เดชอดุ ม วิทยาลยั เทคนคิ เขมราฐ วิทยาลยั เทคโนโลยีบริหารธุรกิจรกั
ไทย
5. อยรู่ ะหว่างการประสานความร่วมมอื กบั ภาคเอกชนในการถ่ายทอดองคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยีใหมๆ่ ของ
สถานประกอบกจิ การใหค้ รูฝกึ ฝีมือแรงงานเพือ่ ฝึกอบรมกาลงั แรงงานเข้าสตู่ ลาดแรงงานได้ตรงตามความ
ต้องการ
6. อยรู่ ะหวา่ งศึกษาความต้องการสาขา/ตาแหนง่ งานมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 26 ในสาขาการพาด
สายไฟ และการบารุงรกั ษาหม้อแปลง ร่วมกบั การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค
ปัญหา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
--
อยู่ระหว่างดาเนนิ การคาดวา่ จะแล้วเสรจ็ ภายใน 30 กันยายน 2565
36
๓.๒ การตรวจติดตามนโยบายสาคัญ/ภารกจิ ที่ไดร้ บั มอบหมายจากกระทรวง แบบ กพร.ตร. ๒ – ๓
แรงงาน/กรม/จงั หวัด
(๒) แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทไี่ ด้รับงบประมาณจากจงั หวัด
โครงการพฒั นาศักยภาพแรงงานเพื่อเตรียมความพรอ้ มรองรบั สงั คมสูงอายุ
กิจกรรมท่ี 2 : โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ เพ่อื สร้างงานและรายได้ทมี่ นั่ คง
กจิ กรรมท่ี 3 : โครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพเพอ่ื เพิ่มทกั ษะการเปน็ ผู้ประกอบการชมุ ชน
วัตถุประสงค์ :
(1) เพ่ือสร้างการรับรู้ให้กับแรงงานให้มีความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รวมทังได้รับการเสริมสร้างภาวะ
ทางรา่ งกาย จิตใจ ตระหนักถงึ คุณคา่ และศักยภาพของตนเอง นาไปส่กู ารมคี ุณภาพชีวิตทีด่ ี
(2) เพ่ือพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานที่ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน และให้มีโอกาสในการ
เพิ่มทางเลอื กในการประกอบอาชีพใหม่ทห่ี ลากหลาย
(3) เพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการชุมชนท่ีเข้มแข็ง และเป็นหน่วยผลิตที่ดีในการ
รบั งานจา้ ง ส่งผลใหเ้ กดิ การจา้ งงาน สร้างรายได้และการเติบโตของเศรษฐกจิ ในชุมชน
(4) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและส่งเสริมให้
ผ้สู งู อายมุ งี านทามีรายได้
กล่มุ เป้าหมาย :
แรงงานที่กาลังเข้าสูว่ ัยสูงอายุ แรงงานสงู อายุ/แรงงานนอกระบบสงู อายุ
เป้าหมาย : 400 คน งบประมาณ 1,438,000 บาท
ตัวชวี ัด
เชงิ ปรมิ าณ :
1. จานวนแรงงานได้รบั การพฒั นาทักษะฝีมือและมีโอกาสในการประกอบอาชพี เพ่ือสร้างงาน สรา้ งอาชพี และรายได้
ที่เพิ่มขนึ จานวน 400 คน
2. จานวนแรงงานไดร้ บั การเสรมิ สร้างและพัฒนาศกั ยภาพการเป็นผู้ประกอบการ จานวน 400 คน
เชิงคณุ ภาพ : -
วิธีการดาเนินงาน :
กิจกรรมที่ 2 : โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ เพ่อื สรา้ งงานและรายได้ที่มน่ั คง
คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายแรงงานนอกระบบท่ีเตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุ/แรงงานนอกระบบสูงอายุ อาเภอละ
1 กลุ่มอาชีพ ฝึกอบรมทักษะอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่สังคมสูงอายุ พัฒนาทักษะฝีมือ
ตามหลักสูตรในสาขาอาชีพต่างๆ ที่ เหมาะสมกับวัยและความต้องการตลาดแรงงาน ระยะเวลา 3 วัน (18 ชม.)
โดยมีกระบวนการดาเนนิ งานตามระบบการประกนั คุณภาพการพฒั นาฝมี ือแรงงาน
กิจกรรมท่ี 3 : โครงการเสรมิ สร้างและพัฒนาศกั ยภาพ
จดั การอบรมต่อเนือ่ งจากกจิ กรรมท่ี 2 กลุ่มเป้าหมายเดยี วกัน เป็นการพัฒนาศกั ยภาพและเพิ่มทักษะใน
การเปน็ ผปู้ ระกอบการชุมชน โดยการบรรยาย/ฝึกปฏบิ ัติ ระยะเวลา 1 วนั (6 ชม.) โดยมีกระบวนการดาเนนิ งาน
ตามระบบการประกนั คุณภาพการพัฒนาฝมี อื แรงงาน
สรุปและรายงานผลสัมฤทธ์ิต่อผวู้ า่ ราชการจงั หวัด เพอื่ รายงานความคืบหน้า ปญั หาและอปุ สรรค /ติดตาม
ผลการให้ความชว่ ยเหลือกลุม่ เป้าหมาย
37
๓.๒ การตรวจตดิ ตามนโยบายสาคัญ/ภารกิจทไี่ ด้รบั มอบหมายจากกระทรวง แบบ กพร.ตร. ๒ – ๓
แรงงาน/กรม/จงั หวัด
ผลการดาเนนิ งาน :
ผลผลติ :
เปา้ หมาย 400 คน ดาเนนิ การได้ 80 คน/ครงั คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 (อย่รู ะหว่างดาเนินการฝกึ อบรม)
เบิกจา่ ยได้ - บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ –
ผลสัมฤทธิ์ : -
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
--
อยู่ระหวา่ งดาเนินการคาดว่าจะแลว้ เสร็จภายใน 30 กนั ยายน 2565
38
การตรวจติดตามผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
แบบ กพร.ตร. ๓ - ๑
งบประมาณปกติ
ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
พิจารณาตามตัวชีวัดการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน ตัวชีวัดท่ี ๑.๒ ความสาเร็จของการ
เบกิ จ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
ไตรมาส ๑ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔ รอ้ ยละ ๓๒
ไตรมาส ๒ ๑ มกราคม ๒๕๖๕ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ รอ้ ยละ ๕๔
งบประมาณทีไ่ ด้รบั การจดั สรร (ทังป)ี 26,258,020 บาท
ไตรมาส 1 (ตุลาคม – ธนั วาคม 2564).ภาพรวมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ.๓๒
งบประมาณท่ีไดร้ บั การจัดสรร ได้รบั 22,415,990 บาท เบกิ จ่าย 1,204,157.22 บาท ร้อยละ 5.37
- งบดาเนินงาน ไดร้ บั 1,719,700 บาท เบิกจ่าย 729,510.02 บาท รอ้ ยละ 42.42
- งบลงทุน ได้รบั 18,325,000 บาท เบิกจา่ ย - บาท รอ้ ยละ -
- งบเงินอดุ หนนุ ได้รับ 73,430 บาท เบกิ จ่าย - บาท รอ้ ยละ -
- งบรายจ่ายอนื่ ไดร้ ับ 2,297,860 บาท เบกิ จา่ ย 474,647.20 บาท ร้อยละ 20.66
ไตรมาส 2 (มกราคม – มนี าคม 2565) ภาพรวมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ.๕๔
งบประมาณทไ่ี ด้รบั การจดั สรร ไดร้ ับ 22,415,990 บาท เบิกจา่ ย 2,051,145.60 บาท รอ้ ยละ 9.15
- งบดาเนินงาน ได้รับ 1,719,700 บาท เบกิ จ่าย 1,046,141.80 บาท ร้อยละ 60.83
- งบลงทนุ ไดร้ บั 18,325,000 บาท เบิกจา่ ย - บาท รอ้ ยละ -
- งบเงินอุดหนนุ ได้รับ 73,430 บาท เบกิ จ่าย - บาท ร้อยละ -
- งบรายจ่ายอ่ืน ไดร้ ับ 2,297,860 บาท เบิกจ่าย 1,005,003.80 บาท ร้อยละ 43.74
ปญั หาอุปสรรค
สถาบันฯ ได้รับงบลงทุน ครุภัณฑ์การศึกษาชุดครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการจาลองเทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติ
ชันสูงและการทดสอบมาตรฐานสาขาแมคคาทรอนิกส์ จานวน 1 ชุด งบประมาณ 18,325,000 บาท และ
ดาเนินการจัดหาด้วยวิธปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) อยใู่ นขันตอนการลงร่างประกาศ/ประกวดราคา
ในเวบ็ ไซตก์ รมบัญชีกลางและหน่วย เมอ่ื วันท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
สถาบันฯ ได้ดาเนินการจัดซือด้วยวิธีประกวดราคา ( e – bidding) ครังท่ี 1 เม่ือวันที่ 6 ตุลาคม 2564
แตย่ กเลิกโครงการฯ เน่ืองจากขันตอนการประชาวิจารณ์ร่างประกาศ/ประกวดราคา จานวน 4 ครัง มีผ้ปู ระกอบการ
เข้าวิจารณ์ และคณะกรรมการกาหนดคุณลักษณะ ได้แก้ไขคุณลักษณะเฉพาะและราคากลางทาให้ราคากลาง
ไมเ่ ป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจัดซอื จัดจ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และหนงั สือ
ด่วนทสี่ ุดท่ี กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๗๘ ลงวนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕
หมายเหตุ ใช้ข้อมลู จาก GFMIS
39
การตรวจติดตามผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
แบบ กพร.ตร. ๓ – ๒
งบประมาณจากหน่วยงานอน่ื
แหล่งงบประมาณ จังหวดั อบุ ลราชธานี
งบประมาณทไี่ ดร้ บั การจดั สรร 1,438,000 บาท
ไตรมาส 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2564).
งบประมาณทีไ่ ดร้ บั การจัดสรร ได้รับ......-..............บาท เบิกจ่าย..........-..........บาท ร้อยละ.........-..
- งบดาเนินงาน ไดร้ บั ...........-.........บาท เบิกจ่าย......-..............บาท ร้อยละ....-.......
- งบลงทุน ไดร้ ับ...........-.........บาท เบิกจ่าย......-..............บาท ร้อยละ....-.......
- งบเงนิ อุดหนุน ได้รับ...........-.........บาท เบิกจ่าย......-..............บาท ร้อยละ....-.......
- งบรายจ่ายอ่นื ไดร้ บั ...........-.........บาท เบิกจ่าย......-..............บาท ร้อยละ....-.......
ไตรมาส 2 (มกราคม – มนี าคม 2565)
งบประมาณทีไ่ ดร้ บั การจดั สรร ได้รบั . 1,438,000 บาท เบกิ จา่ ย.........-...........บาท ร้อยละ.....-......
- งบดาเนนิ งาน ได้รับ 1,438,000 บาท เบิกจา่ ย.........-..........บาท ร้อยละ...-........
- งบลงทุน ไดร้ ับ..........-..........บาท เบิกจ่าย..........-..........บาท ร้อยละ.......-....
- งบเงินอุดหนนุ ได้รบั ..........-..........บาท เบิกจ่าย...........-.........บาท ร้อยละ.......-....
- งบรายจ่ายอื่น ไดร้ บั ..........-..........บาท เบิกจ่าย...........-.........บาท ร้อยละ.......-....
(อยู่ระหว่างดาเนินการฝกึ อบรม)
ปญั หาอุปสรรค...........................-........................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
40
๓.๔ การตรวจตดิ ตามการปอ้ งกันทุจริตประพฤตมิ ิชอบของเจ้าหน้าที่. แบบ กพร.ตร. ๔
ประเดน็ ความเสย่ี ง : การขอมีหนงั สือรบั รองความรคู้ วามสามารถ
ความเสย่ี งของกระบวนงาน
Known Factor :
๑. ขนั ตอนหลกั การตรวจเอกสาร : มกี ารปลอมแปลงเอกสาร และเจา้ หนา้ ท่ีรบั เงนิ แล้วไม่นาสง่ เงิน
2. ขันตอนหลัก การพิจารณา : ผู้ประเมนิ เรยี กรับเงินเพื่อให้การประเมินผ่านหรือการใช้ความสนทิ สนมส่วนตัว
ชว่ ยใหก้ ารประเมนิ ผ่าน
Unknown Factor :
๑. ขนั ตอนหลัก การตรวจเอกสาร : เจ้าหนา้ ท่ีใช้ความสัมพันธส์ ่วนตัวกบั ผูเ้ ข้ารบั การประเมนิ ไมต่ ้องยื่นใบเสร็จ
แตน่ ัดวนั ประเมนิ และเจ้าหนา้ ทีใ่ ชค้ วามสัมพันธส์ ่วนตวั ในการนดั หมายผู้ประเมินทตี่ นรู้จกั ก่อน
2. ขันตอนหลัก การพิจารณา : การปรับเปลี่ยนคะแนนประเมินของผู้ไม่ผ่านการประเมินให้ผ่านการประเมิน และ
นายทะเบียนให้ Password แก่เจา้ หน้าที่ อาจทาให้เจ้าหน้าท่ีเออื ประโยชน์ ลงนามอนมุ ัติให้ผู้ที่เขา้ รับการประเมิน
ที่รู้จักกัน
วธิ ปี ้องกนั /การจัดการความเสย่ี ง :
Known Factor :
๑. ขนั ตอนหลกั การตรวจเอกสาร : มกี ารปลอมแปลงเอกสาร และเจ้าหนา้ ท่รี บั เงินแล้วไม่นาส่งเงิน
ตรวจสอบเอกสารของผูข้ อเขา้ รบั การประเมนิ
- เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ตรวจเอกสารแบบคาขอหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (แบบ คร.10)
และเอกสารแนบตามที่กาหนดในแบบ ซ่ึงกาหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการส่งเสริการพัฒนาฝีมือแรงงาน
อย่างเคร่งครัด โดยตรวจสอบข้อมูลพืนฐานจากระบบสารสนเทศของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (Datacenter) อาทิ
ขอ้ มูลการฝึกอบรม การทดสอบมาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ
เจา้ หนา้ ท่ีรบั เงินแล้วไม่นาสง่ เงนิ
เจ้าหน้าที่การเงินจะเป็นผู้ดาเนินการตามกระบวนงานและขันตอนที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานกาห นด
โดยปัจจบุ นั กรมไดน้ าระบบออกใบเสร็จอเิ ล็กทรอนิกส์มาใชท้ าใหส้ ามารถตรวจสอบเพ่ือยืนยนั ความถูกต้องระหวา่ ง
ขอ้ มูลในแบบ คร.10 และเลขทจ่ี ากใบเสรจ็ อิเลก็ ทรอนกิ ส์
2. การประเมนิ ขันตอนหลัก การพจิ ารณา : ผู้ประเมนิ เรียกรับเงินเพ่อื ใหก้ ารประเมินผ่านหรือการใช้ความสนทิ สนม
สว่ นตัวชว่ ยให้ผา่ น
- รูปแบบการจัดการประเมินแต่ละครัง สถาบันฯ จะเชิญผู้ประเมินครังละ 3 คน โดยสับเปล่ียนหมุนเวียน
กันมาเป็นผู้ประเมิน และจัดส่งข้อมูลผู้เข้ารับการประเมินให้ผู้ประเมินในวันที่ประเมิน โดยไม่ทราบล่วงหน้าว่า
มใี ครบ้าง และผู้เข้ารับการประเมินจะไม่สามารถทราบล่วงหน้าว่าผู้ประเมินเป็นใคร ส่วนผลการประเมินจะใช้ผล
ค่าคะแนนจากผู้ประเมินทัง 3 คน เป็นเกณฑ์ตัดสินว่าผู้เข้ารับการประเมินคนใดผ่านหรือไม่ผ่านการกระเมิน
ในแต่ละครัง
41
๓.๔ การตรวจตดิ ตามการป้องกนั ทจุ ริตประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่. แบบ กพร.ตร. ๔
Unknown Factor :
๑. ขันตอนหลัก การตรวจเอกสาร : เจ้าหน้าท่ีใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับผู้เข้ารับการประเมินไม่ต้องยื่นใบเสร็จ
แต่นัดวนั ประเมนิ และเจา้ หน้าท่ใี ช้ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั ในการนัดหมายผูป้ ระเมินที่ตนร้จู ักกอ่ น
ในการนัดวันประเมิน เจ้าหนา้ ทจ่ี ะออกใบนัดแจง้ ผเู้ ข้ารับการประเมนิ และจะจัดลาดับผู้เข้ารับการประเมนิ ตาม
ใบคาขอ (คร.10) และใบเสรจ็ การชาระเงนิ ตามระบบ E-Billing และควบคุมจานวนผู้เข้ารบั การประเมินเฉล่ียรนุ่ ละ
ไม่เกิน 20 คน
2. ขันตอนหลกั การพจิ ารณา : การปรับเปล่ียนคะแนนประเมินของผูไ้ ม่ผ่านการประเมินใหผ้ ่านการประเมิน และ
นายทะเบียนให้ Password แกเ่ จ้าหน้าท่ี อาจทาให้เจ้าหนา้ ทเี่ ออื ประโยชน์ ลงนามอนุมัตใิ หผ้ ู้ทีเ่ ขา้ รับการประเมิน
ท่ีรู้จกั กัน
- คะแนนจากการประเมินต้องมาจากผู้ประเมิน 3 คน ซึ่งการรวมผลคะแนนประเมินได้นาโปรแกรม excel
มาใช้รวมคะแนน เมื่อการประเมินเสร็จสินโปรแกรมก็จะคานวณผลคะแนนออกมาให้หลังจากนันก็จะพิมพ์
ผลคะแนนออกมาให้ผู้ประเมินทัง 3 คน ลงลายมือชื่อรับรองผลคะแนน มีเอกสารหลักฐานชัดเจนเจ้าหน้าท่ี
ไมส่ ามารถปรบั เปลีย่ นคะแนนประเมินภายหลงั เสรจ็ สินการประเมินได้
- นายทะเบยี น หรือผอู้ านวยการสถาบนั ฯ จะเปน็ ผู้อนมุ ัติในระบบด้วยตนเอง และเกบ็ Password
ไวเ้ ป็นความลับโดยไม่ให้ใครทราบ
รายละเอยี ดกระบวนงาน :
๑. ขนั ตอนหลัก การตรวจเอกสาร :
1.1 ตรวจสอบเอกสารของผขู้ อเขา้ รับการประเมิน
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าท่ีตรวจเอกสารแบบคาขอหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (แบบ คร.10)
และเอกสารแนบตามที่กาหนดในแบบ ซ่งึ กาหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการส่งเสริการพัฒนาฝีมือแรงงาน เร่ือง
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการย่ืนขอ การประเมิน การออกหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ อายุหนังสือ
รับรองความรู้ความสามารถ และการออกใบแทนหนังสอื รบั รองความรู้ความสามารถอย่างเครง่ ครัด โดยตรวจสอบ
จากเอกสารตน้ ฉบบั พร้อมให้รับรองสาเนาถูกต้อง สาหรับเอกสารเกี่ยวกบั การทดสอบมาตรฐานฝมี ือแรงงานซ่ึงเป็น
เอกสารสาคัญในการประเมินมีค่าคะแนน 50 จากคะแนนเต็ม 100 เจ้าหน้าท่ีจะตรวจสอบข้อมูลจากระบบ
datacenter.dsd.go.th ของกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน
1.2 เจา้ หน้าทร่ี ับเงนิ
1) เจ้าหนา้ ที่การเงนิ รับคาขอหนังสอื รบั รองความรู้ความสามารถ (แบบ คร.10) ซ่งึ กลมุ่ งานประเมินและ
รบั รองความรู้ความสามารถตรวจสอบแล้ว และรับเงินพร้อมออกใบเสร็จรับเงินคา่ ธรรมเนยี มการดาเนนิ การรับรอง
ความรู้ความสามารถดว้ ยระบบ E-Billing (ซึ่งระบบนีจะมกี ารเชอื่ ม Link เลขท่ขี องใบเสร็จรับเงินกับช่อื ผูย้ ่นื คาขอ)
ใหก้ ับผู้ย่ืนคาขอเพอ่ื เป็นหลกั ฐานในการเขา้ รบั การประเมิน
2) เจ้าหนา้ ที่การเงินรวบรวมเงินคา่ ธรรมเนียมการดาเนนิ การรบั รองความรู้ความสามารถนาส่งเข้าบัญชี
กองทุนพัฒนาฝีมอื แรงงานบญั ชที ่ี 1 ภายในวนั ทีร่ ับเงินทกุ วันแตห่ ากมีผ้ยู น่ื คาขอมาชาระเงินหลังจากนาส่งเขา้ บัญชี
แล้ว ต้องนาเงนิ เข้าเก็บในตู้เซฟของหน่วยงาน และดาเนนิ การนาส่งเขา้ บญั ชีในวนั ทาการถัดไป
3) จัดทารายงานการออกใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมการดาเนินการรับรองความรู้ความสามารถส่งให้
กองส่งเสรมิ การพัฒนาฝมี อื แรงงานทกุ วันทมี่ กี ารออกใบเสรจ็ รบั เงนิ
4) รายงานในระบบการรับจ่ายเงินกองทุนพฒั นาฝีมอื แรงงานภายในวันที่ 3 ของทุกเดอื น
42
๓.๔ การตรวจตดิ ตามการป้องกันทุจริตประพฤตมิ ิชอบของเจา้ หน้าที่. แบบ กพร.ตร. ๔
2. การประเมินขนั ตอนหลัก การพิจารณา :
ในการจัดการประเมินแต่ละครัง จะเชิญผู้ประเมินซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนถูกต้องและได้รับอนุญาตให้เป็น
ผู้ประเมินครังละ 3 คน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ข้อมูลของผู้เข้ารับการประเมินจะให้กับผู้ทาหน้าที่ประเมิน
ในวันประเมิน และผู้เข้ารับการประเมินไม่สามารถทราบได้ล่วงหน้าว่าผู้ประเมินเป็นใคร และการประเมินต้องใช้
ผลรวมค่าคะแนนจากผปู้ ระเมนิ ทัง 3 คน (ใชโ้ ปรแกรม excel มาใชร้ วมคะแนนสามารถพิมพ์ออกมาตรวจเชค็ และ
ลงนามกากับผลคะแนน
ผลการดาเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์จากการปอ้ งกันความเสยี่ ง :
ผรู้ ับบรกิ ารเกิดความพึงพอใจ ไม่มีข้อรอ้ งเรยี น
1. เอกสารครบถ้วนถูกต้อง สามารถจัดพมิ พ์บตั รไดอ้ ย่างถกู ต้อง ครบถ้วน
2. เจ้าหนา้ ท่ีการเงนิ นาส่งเงนิ ทกุ วนั ที่รับเงนิ ค่าธรรมเนียมการประเมนิ
3. ผู้ประเมนิ ไมมีโอกาสในการเรียกรับเงนิ จากผ้เู ข้ารับการประเมิน
4. ผู้เข้ารบั การประเมนิ ไดเ้ ขา้ รับการประเมินตามลาดับก่อนหลังที่ยน่ื คาขอและชาระเงิน
5. เจ้าหนา้ ท่ีผ้ปู ฏบิ ัติไม่สามารถปรับเปล่ียนค่าคะแนนได้
ปัญหา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
บางกรณีมผี ู้ยื่นคาขอ (คร.10) ไม่มเี งินสดเพียงพอ ที่ ทาความตกลงกับกรมบัญชกี ลางเพ่อื แกไ้ ขปัญหาในการ
จะชาระค่าธรรมเนียม หรือไม่มีแอพพลิเคชั่น โอนเงินค่าธรรมเนียมการประเมิน
Internet Banking ของธนาคารกรุงไทย ซ่ึงเป็น
แอพพลิเคช่ันของธนาคารแห่งเดียวที่ถูกกาหนด
ให้สามารถชาระค่าธรรมเนียมผ่านระบบ Internet
Banking ได้ ทาให้ผู้ยื่นคาขอต้องเสียเวลาเดินทาง
กลับไปก่อน แล้วนาเงินค่าธรรมเนียมมาชาระ
ในภายหลัง ทาให้สถาบันฯ ไม่สามารถให้บริการ
ประชาชนในรูปแบบ One Stop Service ได้
43
๓.๕ การตรวจราชการในประเดน็ อน่ื ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย แบบ กพร.ตร. ๕ -๑
(๑) การดาเนินการตามขอ้ สงั เกตของกลมุ่ ตรวจสอบภายใน สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อสงั เกตของ... การดาเนินงานตามขอ้ สงั เกต
-ไม่มี- -ไมม่ ี-
ปัญหา/อุปสรรค : แนวทางแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ :
1.- 1.-
2.- 2.-
3.- 3.-
44
๓.๕ การตรวจราชการในประเดน็ อ่นื ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย แบบ กพร.ตร. ๕ - ๒
(๒) การดาเนนิ งานรว่ มกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ภาครัฐ ภาคเอกชนอื่นๆ
การลงนามบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือว่าดว้ ยการพฒั นาแรงงานให้กบั ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานในระบบจาหน่าย
ไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค ระหวา่ ง การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคจังหวัดอบุ ลราชธานี กบั สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงาน 7
อุบลราชธานี ซ่ึงจะลงนามในวนั ที่ 11 มนี าคม 2565 มีกาหนดระยะเวลา 2 ปี นบั ตังแต่วันทีไ่ ด้ลงนาม
หนว่ ยงานท่ีร่วมดาเนินการ
การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาคจงั หวดั อบุ ลราชธานี
รายละเอยี ด/วธิ ีการดาเนินงานรว่ มกัน
1 ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาฝีมือแรงงานด้านช่างไฟฟ้าให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและรองรับการ
เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
2 ส่งเสรมิ เครือข่ายความร่วมมอื ทางวิชาการโดยใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ ของทงั สองหน่วยงาน เพอื่ สนับสนุนให้เกิด
การพัฒนาฝีมอื แรงงานและศักยภาพผูป้ ฏิบตั งิ านในระบบจาหนา่ ยการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค
3 พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ลูกจ้างชา่ ง และผูป้ ฏบิ ัติงานในระบบจาหนา่ ยของการไฟฟ้า
สว่ นภมู ิภาค และออกวุฒบิ ตั รรว่ มกันใหแ้ กผ่ ู้สาเร็จการฝกึ อบรม
4 สง่ เสริมการจดั ตงั ศูนยท์ ดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแหง่ ชาตติ ามมาตรา 24
5 ส่งเสรมิ การจัดทามาตรฐานฝมี อื แรงงานตามมาตรา 26
6 สง่ เสริมการจดั ตงั ศูนยป์ ระเมินความรคู้ วามสามารถ
ผลการดาเนนิ งาน
1. จัดตงั สถานีทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟา้ ภายนอกอาคาร ระดบั 1 โดยการไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาคจังหวัดอุบลราชธานี สนับสนุนเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในการติดตังสถานีทดสอบฯ สาขาช่าง
ไฟฟา้ ภายนอกอาคาร ระดบั 1 ณ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 7 อบุ ลราชธานี
2. มีแผนการทดสอบฯ สาขาช่างไฟฟา้ ภายนอกอาคาร ระดบั 1 วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแก้ไข/ขอ้ เสนอแนะ :
- -
45
๓.๕ การตรวจราชการในประเด็นอ่ืนๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย แบบ กพร.ตร. ๕ – ๓
(๓) การทาสอ่ื วีดิทศั น์ประชาสัมพนั ธภ์ ารกิจกรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน
ส่อื วีดิทศั น์ทีด่ าเนนิ การ
“การทาเคร่อื งวดั วงจรไฟฟ้า ใครๆ ก็ทาได้”
รายละเอียด/วธิ กี ารดาเนนิ งาน
ประชุมกาหนดวัตถุประสงค์ ศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ปรึกษาวิทยากรหรือผู้มีความรู้โดยกาหนด
หัวขอ้ เรื่อง การทาเครื่องวดั วงจรไฟฟ้าใครๆๆก็ทาได้ เป็นการประดิษฐ์เครอ่ื งวัดวงจรไฟฟ้าทีส่ ามารถทาเองได้ โดย
วิทยากร นายชินทัต เจียตินะ ตาแหน่ง ครฝู ึกฝีมือแรงงาน ระดับ ช3 มีความน่าสนใจ ใช้วัสดุภายในบ้านที่หาได้
ง่าย โดยนามาใช้วัดวงจรไฟฟ้าว่าสามารถใช้การได้หรือไม่ มองเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้รับชม จัดเรียงเนือหา
ศึกษาวธิ กี ารทาเครื่องวดั วงจรไฟ จากวิทยากร วเิ คราะห์เนอื หาและศกึ ษาขอ้ มูลจากแหล่งต่างๆเพื่อนาเสนอให้เกิด
ความเหมาะสมสร้างความรู้ความเข้าใจต่อผู้รับชม การเขียนบทให้วิทยากร พูดแนะนาตัว กล่าวถึงหัวข้อเร่ือง
แนะนาอุปกรณ์ แสดงวิธีการทา และสรปุ หวั ขอ้ บนั ทกึ วีดโิ อ โดยจัดแสงให้มีความสวา่ ง มองเห็นวิทยาการ อุปกรณ์
และวิธีการทา มีเสียงบรรยายที่ชัดเจน นาคลิปวิดีโอท่ีได้มาตัดต่อ โดยมีตราสัญลักษณก์ รมพัฒนาฝีมือแรงงานแช่
ไว้ท่ีมุมขวา จดั ภาพประกอบสอดคลอ้ งกับเนือหา มีเพลงประกอบท่ีชวนติดตาม จัดทาคาถามท้ายการเรียนรู้เป็น
ปรนยั แนบทา้ ยคลปิ วดี ทิ ัศนเ์ พ่ือส่งตอ่ ให้กองสอื่ สารองค์กร
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแก้ไข/ขอ้ เสนอแนะ :
- -
46
การตรวจราชการในประเดน็ อ่นื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย แบบ กพร.ตร. ๕ – ๔
(๔) การติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิจากการฝึกอบรม
รายละเอยี ด/วธิ ีการการดาเนนิ งาน
หน่วยงานดาเนินการติดตามผลสัมฤทธ์ิการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์และ
ปรับปรุงการทางานของหน่วยงานใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึน โดยใช้แบบติดตามและประเมนิ ผลของกรมพัฒนา
ฝมี ือแรงงาน ตดิ ตามผ่านทางเอกสารและผ่านระบบออนไลน์ หลังจบฝึกอบรมแล้ว 90 วัน และบันทึกขอ้ มูลตาม
แบบติดตามและประเมินผลผา่ นระบบคลังขอ้ มูลของหนว่ ยงาน รายละเอียด ดงั นี
1. ติดตามและประเมินผลการพัฒนาฝีมือแรงงานของผู้ผ่านการฝึกอบรมท่ีหน่วยงานดาเนินการทุก
โครงการ จาแนกตามหลักสูตรทังการฝึกเตรียมเข้าทางาน การฝึกยกระดับฝีมือ อย่างละไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
ของผ้ผู า่ นการฝึก
2. ติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนาฝมี ือแรงงานของผ้ผู ่านการฝึกอบรมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
พฒั นาฝมี ือแรงงาน พ.ศ. 2545 เปา้ หมายจานวน 200 คน
ผลสมั ฤทธจ์ิ ากการฝึกอบรม (แสดงรายละเอยี ด)
1. การติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนาฝมี อื แรงงานของผู้ผา่ นการฝึกอบรมท่ีหนว่ ยงานดาเนนิ การ
อย่างละไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 40 ของผู้ผ่านการฝึก
ผ้ผู ่านรวม จานวน 160 คน ดาเนนิ ได้ 96 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 60
2. ติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนาฝีมือแรงงานของผู้ผ่านการฝึกอบรมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการ
พฒั นาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 เปา้ หมายจานวน 200 คน ดาเนินการได้ 431 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 215.50
ปัญหา/อปุ สรรค : แนวทางแกไ้ ข/ข้อเสนอแนะ :
- -
47
48
49
ภาพกจิ กรรม