SE62611 ภูมศิ าสตร์กายภาพ
PHYSICAL GEOGRAPHY
อาจารย์ผู้สอน: อาจารย์จติ คุปต์ ละอองปลวิ
สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
WHAT IS
PHYSICAL GEOGRAPHY ?
ภูมศิ าสตร์กายภาพ
เป็ นศาสตร์ที่เก่าแก่ศาสตร์หน่ึง
เริ่มปรากฏในงานเขยี นยุคแรกๆ ของนักวชิ าการชาวจนี และกรีก ช่วงศตวรรษที่ 15-16
จากน้ันปรากฏเป็ นศาสตร์อย่างชัดเจนในช่วงศตวรรษท่ี 18 จนถงึ ปัจจุบัน
ภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
ภูมิศาสตร์กายภาพเป็ นการศึกษาเรื่องราวของส่ิงแวดล้อมและลักษณะภูมิประเทศ
ทางธรรมชาติ
นักภูมิศาสตร์กายภาพจะพยายามนาเอาข้อเท็จจริง แนวความคิด และวิธีการจาก
นักวิทยาศาสตร์ ด้ านดาราศาสตร์ เคมี ฟิ สิ กส์ และชีววิทยา มาใช้ ในการศึกษา
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ
นอกจากนีย้ งั เป็ นพืน้ ฐานพหุวทิ ยาการ (Multidisciplinary Basis) ซึ่งเก่ียวข้องกับ
ศาสตร์อ่ืนๆ อกี มากมาย
ความหมายของภูมศิ าสตร์กายภาพ
WEBSTER’S DICTIONARY : เป็ นวิชาที่ศึกษาถงึ โครงสร้างและปรากฏการณ์
บนพื้นโลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงลักษณะที่เห็นในปัจจุบันรวมไปถึงลักษณะภูมิประเทศ
กระแสนา้ ภูมอิ ากาศ และการกระจายของพืชและสัตว์
ความหมายของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 : เป็ นภูมิศาสตร์แขนงหน่ึง ศึกษา
เน้นหนักในเร่ืองลกั ษณะและการเปลย่ี นแปลงทางธรรมชาตทิ แี่ วดล้อมตวั มนุษย์
NATIONAL RESEARCH COUNCIL : เป็ นศาสตร์ที่เกย่ี วข้องกบั วชิ าย่อยๆ หลาย
วชิ า โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ภูมศิ าสตร์ชีวภาค ภูมอิ ากาศวทิ ยา และภูมสิ ัณฐานวทิ ยา
SLAYMAKER และ SPENCER : เป็ นวชิ าท่ีศึกษาเกย่ี วกบั ระบบย่อยท้ัง 4 ของโลก
คือ บรรยากาศภาค ชีวมณฑล อุทกภาค และธรณภี าค
ความหมายของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
STRAHLER และ STRAHLER : เป็ นการศึกษาเกยี่ วกบั พื้นผวิ โลก Life Layer
หรือช้ันสิ่งมีชีวติ ซ่ึงเป็ นช้ันพื้นผิวตื้นๆ ที่แผ่นดนิ และมหาสมุทรจดกบั บรรยากาศ และ
เป็ นทซ่ี ึ่งสิ่งมชี ีวติ ส่วนใหญ่ของโลกอาศัยอยู่
องค์ประกอบของภูมศิ าสตร์กายภาพ
องค์ประกอบของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
ธรณีภาค เป็ นส่ วนท่ีเป็ นของแข็งของโลก เป็ นพื้นที่ทาหน้าที่รองรับสิ่งมีชีวิต
บนโลก โดยหินเป็ นต้นกาเนิดของดนิ ซึ่งเป็ นแหล่งของธาตุอาหารซ่ึงจาเป็ นต่อสิ่งมชี ีวติ
ธรณีภาคจะถูกธรรมชาติสร้างสรรค์ให้เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบต่างๆ เช่น ภูเขา
เนินเขา ทร่ี าบ อนั เป็ นถน่ิ ทอ่ี ยู่อาศัย (Habitat) ของพืช สัตว์ และมนุษย์
องค์ประกอบของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
อุทกภาค เป็ นส่วนของนา้ ทุกรูปแบบท่ีพบบนโลก ปริมาณนา้ ส่วนใหญ่ท่พี บบนโลก
ในมหาสมุทร ในบรรยากาศ ในธรณีภาคมีการพบน้าในบริเวณช้ันบนของแผ่นดินใน
รูปแบบของน้าผิวดิน ทะเลสาบ และแม่น้าลาธาร บริเวณช้ันล่างของแผ่นดินในรูปแบบ
ของนา้ ใต้ดนิ ซึ่งนา้ มีความสาคญั ต่อส่ิงมีชีวติ บนโลก
องค์ประกอบของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
บรรยากาศ เป็ นส่วนของก๊าซที่ห่อหุ้มโลก ซ่ึงได้รับความร้อน ความชื้นจากผวิ โลก
และจะกระจายและส่ งกลับความร้ อน ความชื้นบางส่ วนมายังพื้นผิวโลก ซึ่งช้ั น
บรรยากาศให้ธาตุท่ีสาคัญคือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน ที่มี
ความสาคญั ต่อสิ่งมีชีวติ บนโลก
องค์ประกอบของภูมศิ าสตร์กายภาพ (ต่อ)
ชีวมณฑล เป็ นส่วนของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดท่ีพบบนโลก สิ่งมีชีวิตเหล่านีจ้ าเป็ นต้อง
ใช้ก๊าซในบรรยากาศ น้าจากอุทกภาค และธาตุอาหารจากธรณีภาค แสดงถึงการ พึ่งพา
อาศัยและความสัมพนั ธ์ระหว่างท้งั 4 ภาค
บทสรุป
ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ท่ี เ กิ ด ขึ้น กั บ โ ล ก อ ยู่
ตลอดเวลา และการกระทาของธรรมชาตินีเ้ องท่ีทาให้สภาพแวดล้อมของมนุษย์เกดิ การ
เปลี่ยนแปลง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ลักษณะภูมิประเทศ และการ
เปลย่ี นแปลงต่างๆ ของโลก สามารถทาความเข้าใจผ่านวชิ าภูมศิ าสตร์กายภาพ
อย่างไรกต็ ามก่อนท่ีจะเรียนเกย่ี วกบั 4ภาคอนั เป็ นองค์ประกอบของวิชาภูมศิ าสตร์
กายภาพ ท้ังบรรยากาศภาค อุทกภาค ธรณีภาค และชีวภาค นักศึกษาควรทาความเข้าใจ
เกยี่ วกบั ความเป็ นมาและความหมายของภูมศิ าสตร์กายภาพก่อน
แบบฝึ กหัดท้ายบท
• ภูมศิ าสตร์กายภาพมคี วามหมายว่าอย่างไร
• ภูมศิ าสตร์กายภาพมอี งค์ประกอบอะไรบ้าง
• นักศึกษาสามารถนาวชิ าภูมศิ าสตร์กายภาพไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
อย่างไร จงอธิบายโดยละเอยี ด
WHAT IS NEXT ?