The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อธิบายลักษณะทางกายภาพ
ภาคใต้ของประเทศไทยได

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IYaKhup LP, 2022-01-19 04:26:17

Chapter 8 ลักษณะภูมิประเทศภาคใต้

อธิบายลักษณะทางกายภาพ
ภาคใต้ของประเทศไทยได

ลกั ษณะทางกายภาพของประเทศไทย

อาจารยผ์ ู้สอน: อาจารยจ์ ติ คุปต์ ละอองปลิว

สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ

ลักษณะภูมิประเทศของ

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

เขตภูเขาและที่ราบชายฝ่ังคาบสมุทรภาคใต้

ภาคใต้ ประกอบด้วยพื้นที่ของ
14 จังหวัด ได้แก่ 1.ชุมพร
2.สุราษฎร์ธานี 3.นครศรีธรรมราช
4.พัทลุง 5.สงขลา 6.ปัตตานี
7.ยะลา 8.นราธิวาส 9.ระนอง
10.พังงา 11.กระบี่ 12.ภูเก็ต
13.ตรัง 14.สตูล

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มีลักษณะเป็ นคาบสมุทรแคบและยาว ถูกขนาบด้วยทะเลท้ัง
สองด้าน คือ อ่าวไทยทางทิศตะวันออก และทะเลอันดามันทาง
ทิศตะวันตก

➢ ที่ราบทางชายฝั่งตะวันออกกว้างขวางกว่าทางฝั่งตะวันตก
ชายฝั่งตะวันออกเป็ นชายฝั่งที่ราบเรียบและยกตัวสูง ส่วน
ชายฝั่งตะวันตกเป็ นชายฝั่งทะเลจมตัว ทาให้ฝั่งทะเลขรุขระ
เว้าๆ แหว่งๆ และมีเกาะใหญ่น้อยเป็ นจานวนมาก

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มี เทือกเขาตะนาวศรี เป็ นต้นกาเนิด แม่น้ากระบุรี (แม่น้าปากจั่น)
ไหลลงสู่ทะเลอันดามันที่ปากนา้ กระบุรี อาเภอเมือง จังหวัดระนอง

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มี เทือกเขาภูเก็ต เป็ นต้นกาเนิด แม่น้าท่าตะเภาไหลลงสู่อ่าวไทยที่ปากน้า
ชุมพร อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร แม่น้าหลงั สวน ไหลลงสู่อ่าวไทยที่ปากน้า
หลังสวน อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร และ แม่น้าพุมดวง ที่ไหลผ่าน
เขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) มาบรรจบกับแม่นา้ ตาปี ที่อาเภอพุนพิน จังหวัด
สุ ราษฎร์ ธานี

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มี เทือกเขานครศรีธรรมราช (เขาหลวง) เป็ นต้นกาเนิด แม่น้าตาปี แม่น้าสายที่
ยาวที่สุดในภาคใต้ ไหลลงสู่อ่าวไทยที่ อ่าวบ้านดอน อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แม่น้าปากพนัง ไหลลงสู่อ่าวไทยที่อาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แม่นา้ ตรัง ไหลงลงสู่ทะเลอันดามันที่ปากแม่นา้ กันตัง อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มี เทือกเขาบรรทัด เป็ นต้นกาเนิด คลองลาโลน ที่ไหลลงไปรวมกับ คลองละงู ท่ี
อาเภอควนกาหลง กลายเป็ น คลองท่าจีน ไหลสู่ทะเลอันดามันที่ปากบารา อาเภอละงู
จังหวัดสตูล

ลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ (ต่อ)

➢ มี เทือกเขาสันกาลาคีรี เป็ นต้นกาเนิด แม่น้าปัตตานี ไหลผ่าน เขื่อนบางลาง
อาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ก่อนไหลลงสู่อ่าวไทยที่อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
แม่นา้ สายบุรี ไหลลงสู่อ่าวไทยที่อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี แม่นา้ โก-ลก ไหลลง
สู่อ่าวไทยท่ีอาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

ลกั ษณะทางธรณีวิทยา

ลกั ษณะทางธรณีวิทยาภาคใต้

มีหินแกรนิตอยู่มาก โดยเฉพาะ
บริเวณเทือกเขาภูเก็ต หรือตามแนว
เ ทือ ก เ ข า ด้า น ทิศ ต ะ ว ัน ต ก ข อ ง
ภูมิภาค จึงพบแร่ดีบุก และหาดทราย
ละเอียดขาวประกายตามชายฝั่ง

ลักษณะทางธรณีวิทยา (ต่อ)

สาหรับด้านทิศตะวันออกของภูมิภาค แถบจังหวัดสุราษฏร์ธานีลงไป พบว่ามีหินปูน
ปรากฏอยู่ค่อนข้างมาก

ส่วนตะกอนทับถมพบได้ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา
จังหวัดปัตตานี จนถึงจังหวัดนราธิวาส

นอกจากนี้ภาคใต้ยังมีอุทยานธรณีโลกแห่งแรกของประเทศไทย (GEO PARK) ใน
พื้นที่จังหวัดสตูล



ถำ้ ภผู ำเพชร จ.สตลู

ถำ้ เลสเตโกดอน จ.สตลู

นำ้ ตกวงั สำยทอง จ.สตลู

เกำะหนิ งำม จ.สตลู

เกำะ่ไข จ.สตลู

ปรำสำทหนิ พันยอด จ.สตลู

ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย

ลักษณะภูมิอากาศโดยท่ัวไป

ประเทศไทยต้ังอยู่ในเขตร้อน ระหว่างเส้นศูนย์สูตรกับเส้นทรอปิ คออฟแคนเซอร์
บวกกับอิทธิพลของลมมรสุมจึงมีผลทาให้ภูมิอากาศของประเทศไทยเป็ นแบบป่ าฝนเมืองร้อน
(Tropical Rainy Climate)

ลมมรสุม
มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ

มรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้

ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย (ต่อ)

ฤดูกาล ฤดูฝน
แบ่งออกเป็ น 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว

ฤดูร้อน

ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย (ต่อ)

ภูมิอากาศตามแบบของแคปเปิ ล แบ่งออกเป็ น 2 แบบคือ

1. แบบร้อนชื้นมีฤดูแล้งชัดเจนหรือแบบสะวันนา (Aw)
- ฤดูแล้งชัดเจน
- ฤดูฝน ฝนไม่ตกมากนัก
- ฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง

2. แบบฝนมรสุม (Am)

- ฤดูแล้งส้ันมาก
- ฝนตกชุกตลอดท้ังปี
- อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

สถานีต่อไป ..

สอบกลางภาคค่ะทุกคน


Click to View FlipBook Version