The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อธิบายลักษณะทางกายภาพ
ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกของประเทศไทยได้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IYaKhup LP, 2022-01-11 01:27:36

Chapter 7 ลักษณะภูมิประเทศภาคตะวันออกและภาคตะวันตก

อธิบายลักษณะทางกายภาพ
ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกของประเทศไทยได้

ลกั ษณะทางกายภาพของประเทศไทย

อาจารยผ์ ู้สอน: อาจารยจ์ ติ คุปต์ ละอองปลิว

สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก (ต่อ)

เขตภูเขาและที่ราบชายฝ่ังภาคตะวันออก

ภาคตะวันออก ประกอบด้วยพื้นท่ีของ
7 จังหวัด ได้แก่
1.ปราจีนบุรี 2.ฉะเชิงเทรา
3.ชลบุรี 4.ระยอง 5.จันทบุรี
6.ตราด 7.สระแก้ว

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก (ต่อ)

➢ ลักษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบลุ่มแม่น้าทางตอนเหนือ มี
เทือกเขาสันกาแพงเป็ นจุดกาเนิดของแม่น้านครนายกและแม่น้า
ปราจีนบุรีที่ไหลลงใต้ไปบรรจบกันที่อาเภอบ้านสร้าง จังหวัด
ปราจีนบุรี ในบริเวณที่ถูกเรียกว่า ที่ราบฉนวนไทย กาเนิดเป็ น
แม่นา้ บางปะกง ไหลลงสู่อ่าวไทย

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก (ต่อ)

➢ เทือกเขาและที่ราบลูกฟูกทางตอนกลาง ได้แก่ เทือกเขาจันทบุรี
เป็ นต้นกาเนิดแม่น้าจันทบุรี แม่น้าพังราด และแม่นา้ เวฬุ เทือกเขาชะเมา
ต้นกาเนิดแม่น้าประแส และเทือกเขาบรรทัดพรมแดนกั้นระหว่าง
ประเทศไทยและกัมพูชา สาหรับที่ราบลูกฟูกทางตอนกลางอยู่ในพื้นท่ี
ของจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก (ต่อ)

➢ ชายฝั่งทะเลของเขตนี้ เป็ นชายฝั่งที่มีลกั ษณะเว้าแหว่งและ
เต็มไปด้วยเกาะใหญ่น้อย ได้แก่ เกาะช้าง เกาะหมาก เกาะกูด
จังหวัดตราด เกาะเปริด จังหวัดจันทบุรี เกาะเสม็ด เกาะมันใน
เกาะมันนอก จังหวัดระยอง เกาะสีชัง เกาะล้าน เกาะคราม
จังหวัดชลบุรี

ลักษณะทางธรณีวิทยา

ลกั ษณะทางธรณีวิทยาภาคตะวันออก

พ บ ห ิน อ ัค น ีแ ล ะ ห ิน ชั ้ น ห รื อ ห ิน
ตะกอนเป็ นแนวยาวจาก จังหวดั
สระแก้วจนถึงจังหวัดจันทบุรี

ลกั ษณะทางธรณีวิทยา (ต่อ)

หินทรายและหินปูนในจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด
หินแกรนิตและหินไนส์ทางด้านตะวันตกในจังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี

ลักษณะทางธรณีวิทยา (ต่อ)

หินอัคนีและหินบะซอลต์ ซ่ึงเป็ นแหล่งกาเนิดของพลอยสีต่างๆ ในจังหวัดจันทบุรี

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก

COPYRIGHT BY A.J. iKhup

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก (ต่อ)

เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก

ภาคตะวนั ตก ประกอบด้วยพื้นที่
ของ 5 จังหวัด ได้แก่

1. ตาก 2. กาญจนบุรี 3. ราชบุรี 4.
เพชรบุรี 5. ประจวบครี ีขันธ์

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก (ต่อ)

➢ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นเทือกเขา หุบเขา แต่ไม่มีที่ราบระหว่างภูเขา
เหมือนภาคเหนือ และท่ีราบไม่กว้างขวางเหมือนภาคกลาง

➢ มีเทือกเขาตะนาวศรี เป็ นต้นกาเนิดแม่น้าแควใหญ่และแม่น้าแควน้อย
ที่ไหลไปบรรจบกันที่อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เกิดเป็ นแม่น้า
แม่กลองไหลขนานตามแนวของเทือกเขาจากบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือ
มายังตะวันออกเฉียงใต้ ไหลลงสู่อ่าวไทย นอกจากนี้ยังมีแม่น้าเพชรบุรี
แม่นา้ ปราณบุรี

ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตก (ต่อ)

➢ ทิศตะวันออกของภูมิภาคมีที่ราบชายฝั่งทะเลและเกาะที่น่าสนใจ
ได้แก่ หาดเจ้าสาราญ หาดปึ กเตียน หาดชะอา จังหวัดเพชรบุรี หาดหัวหิน
หาดปราณบุรี หาดวนกร อ่าวน้อย อ่าวประจวบ อ่าวมะนาว หาดทับสะแก
เกาะหลัก เกาะทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ลักษณะทางธรณีวิทยา

ลกั ษณะทางธรณีวิทยาภาคตะวันตก

เ ท ือ ก เ ข า ต ะ น า ว ศ ร ีแ ถ บ จ ัง ห ว ัด
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ
ประจวบคีรีขันธ์จะปกคลุมด้วย
หินปูนและหินแกรนิต

ลักษณะทางธรณีวิทยา (ต่อ)

ชายฝั่งทะเลตะวันออกที่อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี และอาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จะเป็ นหินแกรนิตและหินไนส์

ทดสอบหลงั เรียนกนั เถอะ ..

ลกั ษณะภูมิประเทศของภาคตะวนั ออก
และภาคตะวนั ตก

QUIZIZZ.COM


Click to View FlipBook Version