ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566 กิจกรรม “ภาพสะท้อน” จัดท าโดย นางสาวมัชฌิมา เนติโกวิท โรงเรียนดาราคาม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6 ชุดที่ ระดับประถมศึกษาปีที่ 2
ค าน า โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” เป็นโครงการที่สมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง พระกรุณาพระราชทานพระราชด าริให้คณะกรรมการน าไปพิจารณาริเริ่มด าเนินการ น าร่องในประเทศไทย โดยที่มาของโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย มาจาก การประเมินผลนานาของโครงการ PISA พบว่า ความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กไทย ยังอยู่ในระดับต่ ากว่าค่าเฉลี่ย อีกทั้งยังขาดแคลนนักวิทยาศาสตร์ และวิศวกรที่จะร่วมมือขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ โรงเรียนดาราคามได้เห็นถึงความส าคัญของโครงการที่ได้พัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสร้างความตระหนักและความรู้ ทักษะเชื่อมโยงกับสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน (ESD : (Education for Sustainable Development) เพื่อ ตอบสนองแนวทาง 17 ข้อของ UN sustainable development goals (SDGs) ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนดารามคาม ทางโรงเรียนจึงเข้าร่วม โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” ระดับประถมศึกษา การจัดท าชุดกิจกรรมการเรียนรู้บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ตามโครงการ บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ระดับประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนดาราคาม ชุดที่ 6 กิจกรรมทะเลภาพสะท้อน ได้ด าเนินกิจกรรมตาม แนวทางการจัดการเรียนรู้บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับประถมศึกษา โดยเป็น กิจกรรมที่มีแนวคิดส าคัญในการจัดการการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้ เปลี่ยนจากการจัดการศึกษาแบบเดิม คือ มนุษย์เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (Human Center) เน้นพัฒนาตัวเด็กให้เป็นคนเก่ง มีความสามารถ เปลี่ยนเป็น ส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กค านึงว่า โลกเป็นศูนย์กลาง (Earth Center) ของการ พัฒนาสิ่งต่าง ๆ ที่จะต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน ผู้เรียนเกิดความตระหนัก (Realize) ในประเด็นปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโลก น าไปสู่การลงมือ (Act) ร่วมจัดการกับ ปัญหา และเสริมศักยภาพ (Empowerment) ให้แก่ผู้เรียนจัดการกับปัญหา แม้ ผู้เรียนจะเกิดความตระหนักรู้ถึงปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหามลพิษ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ แต่ก็ไม่ได้ลงมือแก้ปัญหา หรือไม่รู้ว่าควรจะลงมือแก้ปัญหา อย่างไร ดังนั้นแนวทางการจัดการเรียนรู้ จะเน้นที่การลงมือ (Action) ในการ จัดการกับปัญหาในชีวิต ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ อย่างแท้จริง ผู้จัดท า
สารบัญ หน้า ชุดที่ 6 กิจกรรมภาพสะท้อน จุดประสงค์ 1 วัสดุ อุปกรณ์ 1 ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 2 ผลที่เกิดขึ้นตามจุดประสงค์ 5 การพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง 5 บันทึกหลังการจัดกิจกรรม 7 ภาคผนวก แบบบันทึกกิจกรรม 9 แนวค าตอบแบบบันทึกกิจกรรม 11 ภาพการท ากิจกรรม 13
กิจกรรมการเรียนรู้บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย จุดประสงค์ : 1. นักเรียนสังเกตและอธิบายลักษณะของภาพสะท้อน เมื่อใต้ผิวน้ ามีสีเข้ม หรือมืด และเมื่อพื้นผิวของน้ าถูกรบกวน โดยความชัดเจนของภาพสะท้อนอาจเปลี่ยนไป ตามมุมที่แสงตกกระทบและทิศทางของการสังเกต 2. นักเรียนสามารถออกแบบและสร้างทะเลสาบขนาดเล็กและตรวจดูการ สะท้อนกลับบนผิวน้ าของทะเลสาบนี้ได้ ชุดที่ 6 กิจกรรมภาพสะท้อน สื่อและอุปกรณ์ : 1. อ่างน้ า 2. ดินและทราย 3. กระถางต้นไม้ 4. หลอดดูด 1
ขั้นตอนการท ากิจกรรม : 1. ครูถามค าถามเพื่อกระตุ้นการสืบเสาะของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนร่วมกันระดม ความคิดเพื่อคาดคะเนหรือก าหนดข้อสันนิษฐาน ดังนี้ - นักเรียนเคยเห็นภาพสะท้อนของตนเองบ้างไหม ที่ไหน - ลักษณะของภาพสะท้อนที่นักเรียนเห็นเป็นอย่างไร - ภาพสะท้อนที่นักเรียนสังเกตเห็นมีลักษระเหมือนเดิมตลอดหรือไม่ 2. ครูจัดกลุ่มให้นักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนเพื่อสร้างทะเลสาบขนาดเล็ก 4. ครูถามค าถามกระตุ้นการสืบเสาะของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ในการเลือกใช้วัสดุ - ทะเลสาบของนักเรียนควรมีส่วนประกอบจากอะไร นักเรียนคิดว่าอะไร อยู่ที่พื้นของทะเลสาบ - นักเรียนอยากได้ชายฝั่งทะเลสาบของตนเองแบบใด ลองหาพืชส าหรับ ตกแต่งชายฝั่งทะเลสาบของตนเอง 5. นักเรียนสร้างทะเลสาบขนาดเล็กตามที่ได้วางแผนและออกแบบไว้ 2
ขั้นตอนการท ากิจกรรม : 6. นักเรียนลองสะท้อนภาพตัวเองและภาพท้องฟ้าในทะเลสาบขนาดเล็ก ที่สร้างขึ้น 7. ครูถามค าถามเพื่อกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า “นักเรียนต้องมองจากจุดใด เพื่อให้เห็นภาพสะท้อนได้ดีที่สุด” 7. นักเรียนสังเกตและบันทึกผลลงในแบบบันทึกกิจกรรม 8. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันก าหนดวิธีการทดสอบว่าภาพสะท้อนจะมี ลักษณะเหมือนเดิมตลอดหรือไม่ เช่น ทดลองสร้างคลื่นที่ผิวน้ าและสังเกตภาพสะท้อน 9. สังเกตและบันทึกผล 10. ครูถามค าถามเพื่อกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า “นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่า ในขณะที่น้ ากระเพื่อม มองเห็นภาพสะท้อนของตนเองในน้ าเป็นจ านวนเท่าใด” 11. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอทะเลสาบขนาดเล็กที่สร้างขึ้นพร้อมทั้ง อธิบายข้อค้นพบและสะท้อนเกี่ยวกับภาพสะท้อนในทะเลสาบขนาดเล็กของกลุ่มตนเอง หน้าชั้นเรียน 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและอภิปรายผลการท ากิจกรรมภาพสะท้อน พร้อม ร่วมกันสะท้อนว่าได้เรียนรู้อะไร และรู้ได้อย่างไร โดยหลังจากการท ากิจกรรมนี้นักเรียนได้ เรียนรู้ว่า - นักเรียนอาจเห็นภาพสะท้อนของตนเป็นสีสันได้ - นักเรียนสามารถมองเห็นภาพสะท้อนของตัวเองได้ชัดเจนมากขึ้น เมื่อใต้ผิวน้ ามีสีเข้มหรือมืด - ความชัดเจนของภาพสะท้อนอาจเปลี่ยนไปตามมุมที่แสงตกกระทบและ ทิศทางของการสังเกต - ภาพสะท้อนจะบิดเบี้ยวและเบลอเมื่อพื้นผิวของน้ าถูกรบกวน 3
แนวทางในการท ากิจกรรมต่อไป พักเรียนร่วมกันเดินเล่นไปยังแหล่งน้ าที่ใกล้ที่สุด แล้วให้ดูภาพสะท้อนในน้ า นักเรียนเห็นมีสีอะไรบ้าง ครูผู้สอนอธิบายองค์ประกอบของน้ า หรือแหล่งน้ า ทั้งหมด รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดสีในน้ า นักเรียนคิดว่าสีในผิวน้ าเกิดขึ้นได้ อย่างไร ให้เฝ้าสังเกตการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ และหาข้อสรุปเกี่ยวกับเงาและ ภาพสะท้อนในน้ าของพื้นตามชายฝั่ง ให้เปรียบเทียบการเกิดสีของน้ าในขวดแก้วที่มาจากน้ าประปาหนึ่งขวด และน้ า จากขวดแก้วที่มาจากน้ าในตู้ปลา หรือน้ าในสระ หรือน้ าจากแม่น้ า น าน้ าจากทั้งสองขวดแก้วไปวางไว้ที่ชั้นวางริมหน้าต่างและให้สังเกตการเปลี่ยนแปลง สีของน้ าที่เกิดขึ้นภายใน 2-3 วัน นักเรียนมีค าอธิบายอย่างไร ส าหรับการเฝ้า สังเกตการณ์ดังกล่าว 4
ผลที่เกิดขึ้นตามจุดประสงค์ : ตรวจสอบคุณสมบัติของสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศน์ทะเลสาบ โดยใช้แบบจ าลอง, ตรวจสอบผลของการสะท้อนของผิวน้ า 1. นักเรียนสังเกตและอธิบายลักษณะของภาพสะท้อน เมื่อใต้ผิวน้ ามีสีเข้มหรือมืด จะท าให้ภาพสะท้อนมีสีสัน และเมื่อพื้นผิวของน้ าถูกรบกวนภาพสะท้อนจะบิดเบี้ยวและ เบลอ โดยความชัดเจนของภาพสะท้อนอาจเปลี่ยนไปตามมุมที่แสงตกกระทบและทิศทาง ของการสังเกต 2. นักเรียนสามารถออกแบบและสร้างทะเลสาบขนาดเล็กและตรวจดูการสะท้อน กลับบนผิวน้ าของทะเลสาบนี้ได้ การพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง ทักษะทางสังคม : 1. นักเรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถ แลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างกันได้อย่างสร้างสรรค์ 2. นักเรียนช่วยเหลือและให้ความเคารพซึ่งกันและกัน 3. วางแผนการท างานภายในกลุ่มของตนเองอย่างสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี : 1. การวางแผนการสร้างทะเลในกล่อง 2. การบันทึกผลการท ากิจกรรม 3. การสังเกตและอธิบายได้ว่าพื้นผิวของทะเลและชายฝั่ง ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง คลื่นเกิดจากอะไร ส่งผลต่อ การตกสะสมตัวของตะกอนอย่างไร ทักษะส่วนบุคคล : 1. วางแผนและด าเนินกิจกรรมด้วยตนเองอย่างอิสระ 2. เรียนรู้การท างานให้ส าเร็จด้วยความสามารถของตนเอง โดยอาศัยความรู้ที่ได้มาจากการปฏิบัติด้วยตนเอง 5
แบบสรุปการสังเกตและสะทอน Micro Teaching หัวขอ ภาพสะท้อน ประเด็นการสังเกต ระดับที่ปรากฏ หลักฐาน/ข้อสังเกต ไม่ ปรากฏ ปรากฏ 1. นักเรียนไดตั้งค าถามที่ น าไปสูการสืบเสาะ ลักษณะของภาพสะท้อนที่เห็นเป็นอย่างไร ภาพสะท้อนที่สังเกตเห็นมีลักษระเหมือนเดิมตลอด หรือไม่ 2. นักเรียนไดรวบรวมขอมูล และตั้งขอสันนิษฐาน ระดมความคิดจากความรู้และประสบการณ์เดิมและ คาดคะเนค าตอบ 3. นักเรียนไดทดสอบและ ปฏิบัติการสืบเสาะ นักเรียนได้ทดสอบภาพสะท้อนแบบต่างๆเพื่อสังเกต ว่าภาพที่ได้มีลักษณะอย่างไร 4. นักเรียนไดสังเกตและ บรรยาย นักเรียนสังเกตภาพสะท้อน 5. นักเรียนไดบันทึกขอมูล แบบบันทึกกิจกรรม 6. นักเรียนไดอภิปรายผล แบบบันทึกกิจกรรมและการน าเสนอหน้าชั้นเรียน 7. นักเรียนมีโอกาสไดเลือก และตัดสินใจดวยตนเอง (Autonomous) นักเรียนออกแบบ, เลือกใช้อุปกรณ์, สร้างทะเลสาบ ขนาดเล็ก ตามที่ตนเองออกแบบไว้และก าหนดวิธีการ ทดสอบด้วยตนเอง 8. นักเรียนไดสะทอนคิด (Metacognition) นักเรียนแลกเปลี่ยนความรู้เดิมและประสบการณ์เดิม ร่วมกัน สะท้อนว่าทะเลสาบขนาดเล็กที่สร้างขึ้น แสดงภาพสะท้อนในลักษณะใดบ้าง และร่วมกัน สะท้อนว่าได้เรียนรู้อะไรและรู้ได้อย่างไร 9. นักเรียนไดเรียนรูรวมกัน (Co- construction) นักเรียนระดมความคิดภายในกลุ่มทั้งการออกแบบ ทะเลสาบ การเลือกใช้วัสดุ การสร้างทะเลสาบและ การออกแบบการสะท้อนต่างๆ 10. นักเรียนไดพัฒนาทักษะ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร นักเรียนได้วางแผนและด าเนินการสร้างเพื่อทดสอบ สมมติฐาน, สังเกต อธิบาย สิ่งที่ค้นพบ บันทึกผล และสรุปผลการท ากิจกรรม 11. นักเรียนไดพัฒนาทักษะ ชีวิต (เชน การจัดการ ตนเอง) นักเรียนวางแผนและด าเนินกิจกรรมด้วยตนเอง อย่างอิสระและเรียนรู้การท างานให้ส าเร็จด้วย ความสามารถของตนเอง โดยอาศัยความรู้ที่ไมด้มา จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง 12.นักเรียนไดพัฒนาทักษะ อื่น ๆ (โปรดระบุ) ......ทักษะทางสังคม......... ............................................................ นักเรียนรับฟังบุคคลอื่นและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน รวมทั้งสร้างและปฏิบัติตามกฏ 6
บันทึกหลังการจัดกิจกรรม 1. ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผู้จัดกิจกรรม (นางสาวมัชฌิมา เนติโกวิท) ความคิดเห็นผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………………… (นายศรีจันทร์ ปัสสาค า) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนดาราคาม 1. นักเรียนสังเกตและอธิบายลักษณะของภาพสะท้อน เมื่อใต้ผิวน ้ามีสีเข้มหรือมืดจะท าให้ภาพสะท้อน มีสีสัน และเมื่อพื้นผิวของน ้าถูกรบกวนภาพสะท้อนจะบิดเบี้ยวและเบลอ โดยความชัดเจนของภาพสะท้อน อาจเปลี่ยนไปตามมุมที่แสงตกกระทบและทิศทางของการสังเกต 2. นักเรียนสามารถออกแบบและสร้างทะเลสาบขนาดเล็กและตรวจดูการสะท้อนกลับบนผิวน ้า ของทะเลสาบนี้ได้ - - 7
ภาคผนวก 8
แบบบันทึกกิจกรรม เรื่องภาพสะท้อน ค าถามการทดลอง คือ 1. ภาพสะท้อนเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้มเป็นอย่างไร 2. ภาพสะท้อนเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ าเป็นอย่างไร ออกแบบทะเลสาบขนาดเล็ก ชื่อ……………………………………………………………………………………………………ชั้น………………..เลขที่………….. ผลการสังเกตทะเลสาบขนาดเล็กเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้ม 9
ผลการสังเกตทะเลสาบขนาดเล็กเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ า …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… สรุปและอภิปรายผลการท ากิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ภาพสะท้อนเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้มมีลักษณะ ภาพสะท้อนเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ า มีลักษณะ ชื่อ……………………………………………………………………………………………………ชั้น………………..เลขที่………….. 10
แบบบันทึกกิจกรรม เรื่องภาพสะท้อน ค าถามการทดลอง คือ 1. ภาพสะท้อนเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้มเป็นอย่างไร 2. ภาพสะท้อนเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ าเป็นอย่างไร ออกแบบทะเลสาบขนาดเล็ก ชื่อ……………………………………………………………………………………………………ชั้น………………..เลขที่………….. ผลการสังเกตทะเลสาบขนาดเล็กเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้ม แนวค าตอบ 11
ผลการสังเกตทะเลสาบขนาดเล็กเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ า …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… สรุปและอภิปรายผลการท ากิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ภาพสะท้อนเมื่อพื้นทะเลสาบมีสีเข้มมีลักษณะ ภาพสะท้อนเมื่อเกิดคลื่นที่ผิวน้ า มีลักษณะ ชื่อ……………………………………………………………………………………………………ชั้น………………..เลขที่………….. แนวค าตอบ 12 สังเกตเห็นภาพสะท้อนเป็นภาพสี สังเกตเห็นภาพสะท้อนบิดเบี้ยว เบลอๆ
ภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรม ภาพสะท้อน 13
ภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรม ภาพสะท้อน 14
ภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรม ภาพสะท้อน 15