1
2
บทท่ี 3
การแกป้ ญั หาชุมชน
เรือ่ งท่ี 1. ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อมและวัฒนธรรมพื้นฐานของหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงในแตล่ ะชุมชนจะมีปัญหาทีแ่ ตกตา่ งกันออกไปข้ึนอยู่กับบรบิ ทของชุมชน แตโ่ ดยท่ัวไป
เราสามารถแบง่ ปัญหาชองชุมชนออกในด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1. ปัญหาด้านการศึกษา อาทิเช่น จานวนผู้ไมร่ ู้หนังสือระดับการศึกษาของประชาชนอัตราการศึกษาใน
ระดบั ต่าง ๆ และแหลง่ เรยี นรใู้ นชุมชน เป็นตน้
2. ปัญหาดา้ นสขุ ภาพอนามยั ได้แก, ภาวะโภชนาการคนพิการ โรคติดต่อโรคประจาตัวอัตราการตายของ
ทารกแรกเกดิ สถานพยาบาลในชุมชน การรบั บรกิ ารดา้ นสาธารณสุข เปน็ ต้น
3. ปัญหาด้านสังคมการเมืองการปกครองได้แก่ การเกิดอาชญากรรมแหล่งอบายมุขความขัดแย้งทาง
การเมือง กจิ กรรมท่เี ก่ียวข้องกับการเลือกตั้งในระดบั ต่าง ๆ
4. ปัญหาดา้ นส่งิ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ ได้แก่ ปัญหามลภาวะตา่ ง ๆ การทาลาย
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมของมูลฝอยกับธรรมชาตติ า่ ง ๆ
5. ปญั หาด้านศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ได้แก่ การสืบทอดอนุรักษ์ และการปฏิบัติคาสนกิจของประชาชนที่
ส่งผลถงึ ความรกั และความสามัคคขี องคนในชาติ
แนวทางการแก้ปญั หาชุมชนมปี ัจจัยทเ่ี กี่ยวข้อง ดังนี้
1. เนน้ เรือ่ งปญั หาเปน็ การเปลีย่ นแปลงที่เอาปญั หามาเปน็ ตวั ตัง้ แลว้ หาแนวทางจัดการหรือแก้ปัญหาน้ันๆ
ชุมชนเปลี่ยนแปลงไปหรอื ไมอ่ ยา่ งไร ดูทป่ี ญั หาว่ามีอยู่และแก้ไขไปอยา่ งไร
2. เนน้ เรอ่ื งอานาจเป็นการเปล่ียนแปลง ที่มองตัวอานาจเป็นสาคัญ ชุมชนเปลี่ยนแปลงไปหรือไมอ่ ย่างไร
ดูทีใ่ ครเปน็ คนจดั การ อานาจในการเปลยี่ นแปลงอยู่ท่ีไหนศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงเพ่ิมขึ้นหรือไม่ และสุดท้าย
มกี ารเปลีย่ นโครงสร้างอานาจหรือไม่
3. เน้นการพัฒนาเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เน้นที่พลังจากภายในชุมชนดาเนินการเปล่ียนแปลงชุมชนโดย
การตดั สินใจการกระทาของคนในชมุ ชนเองไมไ่ ด้เปลี่ยนที่คนอื่นหากเป็นการเปล่ียนที่ชุมชนและไมไ่ ด้เอาตัวปัญหา
เป็นตัวตง้ั แต่เป็นความพยายามที่จดั สรา้ งชุมชนทพ่ี ่งึ ตนเองและสามารถยนื อยไู่ ด้ด้วยตนเอง
เรอ่ื งท่ี 2. การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวฒั นธรรมตามหลกั แนวคดิ ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
หัวใจสาคัญของการพัฒนาชุมชน คือ การยึดชุมชนเป็นหลัก ประชาชนต้องร่วมมือกันช่วยเหลือกัน
พึ่งตนเอง และสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ซึ่งเป็นเสมือนทุนทางสังคมไทยเริ่มจากการส่งเสริมการผลิตพื้นฐาน
คือการเกษตรแบบผสมผสาน การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในชุมชนเปน็ หลกั โดยการร่วมมือของประชาชน ต้องใช้
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นเคร่ืองมือ มีการรวมกลุ่มโดยมีเป้าหมายเป็นผลผลิต สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายของ
ชาวบ้านโดยภาครัฐสามารถเข้าไปสนับสนุนให้ตรงกับความต้องการ อันจะทาให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นฐาน
เพอ่ื การพ่ึงพาตนเองของชุมชนได้อย่างย่งั ยืนต่อไปการพฒั นาประเทศภายใต้แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีวตั ถุประสงค์ ดงั นี้
1. ฟน้ื ฟเู ศรษฐกิจใหม้ ีเสถยี รภาพและมภี ูมคิ ้มุ กนั
2. วางรากฐานการพฒั นาประเทศให้เข้มแข็งยง่ั ยนื สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรูเ้ ทา่ ทันโลก
3. ให้เกิดการบรหิ ารจดั การที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ
4. แก้ไขปัญหาความยากจนและเพมิ่ ศกั ยภาพและโอกาสของคนไทยในการพงึ่ พาตนเอง
การพัฒนายั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีตอบสนองความต้องการของปัจจุบันโดยไม่ทาให้ผู้คนในอนาคต
เกิดปัญหาในการตอบสนองความต้องการของตนเอง นิยามของคณะกรรมการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการ
พัฒนายงั่ ยืนรวมความถึง 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจสังคมและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเช่ือมโยงและสัมพันธ์กัน โครงการพัฒนา
3
ใด ๆ ต้องคานงึ ถงึ องค์ประกอบท้ังสามดา้ นนี้
เรื่องท่ี 3. การมีส่วนร่วม แก้ปัญหา หรือพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและ
วัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน เป็น
กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชน โดยเริ่มจากการกระตุ้นจิตสานึก และ
ความรับผิดชอบของประชาชน/ชุมชน ให้มีจิตสาธารณะ และร่วมกันคิด ร่วมกันจัดหา ร่วมกันเรียนรู้/วิเคราะห์
เพื่อใหร้ ้แู ละเข้าใจตน โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชน คอื การสารวจขอ้ มลู ปัญหาและศักยภาพของชุมชน การวิเคราะห์
สาเหตุ/แนวทางแกไ้ ข แลว้ กาหนดอนาคตและทิศทางการพัฒนาตนเอง/หมู่บ้าน และชุมชน ออกมาเป็นกิจกรรม/
โครงการทีจ่ ะแกไ้ ขปัญหาและตอบสนองความตอ้ งการการพัฒนา ในลักษณะจากชุมชน โดยชุมชน และเพ่ือชุมชน
ซ่ึงจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งและพึ่งตนเองอย่างย่ังยืนของชุมชนดังนั้นแผนชุมชน จึงเป็นเคร่ืองมือของการมี
สว่ นรว่ มแกป้ ญั หา หรือพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
แนวคิดเก่ยี วกับการจดั ทาแผนชมุ ชน
การใหช้ าวบ้านในหมูบ่ ้านและชุมชน จัดทาแผนชุมชนเพอ่ื พัฒนาหมูบ่ า้ นและชมุ ชนของตนเอง มี
แนวคิดหลกั การและความเชอื่ ในหลาย ๆ ด้าน เช่น
1. แนวคิดจากปรชั ญาพฒั นาชุมชน ซ่งึ เปน็ สากลทีบ่ อกว่าชาวบ้านมีศกั ยภาพสามารถพัฒนา
ตนเองได้ให้โอกาส และการพัฒนาต้องเริ่มต้นท่ีชาวบา้ น
2. แนวคดิ จากหลกั การพฒั นาชุมชน คือ การมีสว่ นรว่ ม การพง่ึ ตนเอง การชว่ ยเหลือซึง่ กนั และ
กนั และการรับผดิ ชอบต่อชุมชนของตนเอง
3. แนวคดิ ในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง คือ การใหช้ ุมชนไตม้ ีกระบวนการในการจัดการ
ชุมชน มีการเรียนรู้ร่วมกนั ในกระบวนการชมุ ชน
4. แนวคิดในการพัฒนาชมุ ชนให้เข้มแข็ง คอื การสรา้ งพลังชมุ ชน ใชพ้ ลังชมุ ชนในการพัฒนา
ชุมชน
5. แนวคดิ ทีว่ ่าไมม่ ใี ครร้ปู ญั หาชุมชนเท่าคนในชุมชน ดังนนั้ การแกป้ ัญหาชุมชนจงึ เร่มิ จาก
ชุมชน การให้การสนับสนนุ ของภาครัฐจะต้องเปน็
ความหมายของแผนชุมชน
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ให้ความหมายของแผนชุมชนว่า
หมายถึง การกาหนดอนาคตและกจิ กรรมการพัฒนาของชุมชน โดยเกิดข้ึนจากคนในชุมชนท่ีมีการรวมตัวกันจัดทา
แผนขึ้นมา เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือท้องถ่ินของตนเอง ให้เป็นไปตามท่ีต้องการและสามารถ
แก้ปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่ คนในชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมกาหนด แนวทางและทากิจกรรมการพัฒนาร่วมกัน
ยึดหลักการพึ่งตนเองลดการพ่ึงพิงภายนอก คานึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และ
ส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นหลัก จึงกล่าวได้ว่า แผนชุมชนเป็นของชุมชนดาเนินการโดยชุมชนและเพื่อประโยชน์
ของชมุ ชนเอง ซ่ึงแตกตา่ งจากแผนท่ภี าครัฐจัดทาข้ึนเพอื่ การจัดสรรงบประมาณเป็นหลัก
กระบวนการจดั ทาแผนชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดข้ันตอนการจดั ทาแผนชุมชนไว้ 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 เตรียมความพรอ้ มชุมชน โดยมีกลมุ่ เปา้ หมายคอื ผนู้ าชมุ ชน ผู้แทนคุม้ บ้าน อบต.
ผูแ้ ทนกลุ่ม/องค์กรชุมชน
ข้ันตอนที่ 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเรียนรูต้ นเองและชุมชน กลุ่มเปา้ หมาย คือ ผูน้ าชุมชน ผู้แทนคุ้ม
บ้าน อบต. ผแู้ ทนกลมุ่ /องค์กรชุมชน ตวั แทนครวั เรอื น ประชาชนในชุมชน
ข้ันตอนที่ 3 การกาหนดเป้าหมายและทศิ ทางการพัฒนา กลุม่ เปา้ หมาย ผแู้ ทนคมุ้ บ้าน อบต. ผ้แู ทน
กลุ่ม/องค์กรชมุ ชน ประชาชนในชมุ ชน
4
ข้ันตอนท่ี ๔ การกาหนดแผนงานโครงการพฒั นาชุมชน กลุ่มเปา้ หมายผ้นู าชุมชนผ้แู ทนคุ้มบา้ น
อบต. ผู้แทนกลมุ่ /องค์กรชุมชน ประชาชนในชมุ ชน
ขั้นตอนท่ี ๕ การปฏบิ ัติตามแผนชมุ ชน กลมุ่ เป้าหมาย คณะกรรมการ-บรหิ ารชุมชน อบต. หนว่ ยงาน
สนบั สนุนการพัฒนาในพ้ืนที่การจดั ทาแผนชุมชน 5 ขน้ั ตอน ดงั กลา่ วขา้ งต้นเป็นแนวทางท่กี รมการพฒั นาชุมชนได้
ศึกษาคน้ คว้าจากกรณีศึกษาแผนชมุ ชนทป่ี ระสบความสาเร็จในการสง่ เสรมิ กระบวนการแผนชมุ ชน อาจปรบั ให้เข้า
กบั บริบทลอ้ มรอบหรือภมู สิ ังคมแต่ละพ้ืนที่ไดต้ ามความเหมาะสมโดยคานึงถงึ ประโยชนท์ ป่ี ระชาชนจะไดร้ บั จาก
การดาเนนิ งานนั้น ๆ
5
เร่อื งท่ี 4 การส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏบิ ัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบคุ คล
ชุมชน ทปี่ ระสบความสาเร็จส่อู าเซยี น
การท่ีประเทศไทยของเรานั้น จะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาอาเซียนได้อย่างสมบูรณ์พร้อมมูลน้ัน
ย่อมจะต้องอาศัยเหตุปัจจัยหลาย ๆ อย่างมาประกอบเข้าด้วยกัน เพ่ือเสถียรภาพที่ม่ันคงถาวรอย่างแท้จริง
แนวทางสาคัญอย่างหน่ึงท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงมอบไว้แก่ชาวไทยทุกๆคนนั้น คือ หลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีความเก่ียวข้องและสอดคล้องกับความพอประมาณ, การมีเหตุผลและการมีภูมิคุ้มกัน
โดยต้องอาศัยหลักความรู้คู่คุณธรรมประกอบกันด้วยหลักการเหล่าน้ีสามารถท่ีจะนามาประยุกต์ใช้ได้กับการ เป็น
ส่วนหน่ึงของประชาคมอาเซียน เพราะว่าก่อนที่จะเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมดังกล่าวได้อย่างเต็มภาคภูมิน้ัน
จาตอ้ งสรา้ งความม่ันคงทางเศรษฐกิจใหไ้ ดม้ ากพอที่จะเป็นท่ยี อมรับของกลุ่มประเทศต่าง ๆ ในประชาคม
เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นการพัฒนาไปสู่ความสามารถในการพ่ึงตนเองในระดับต่าง ๆอย่างเป็นขั้นตอนช่วย
ลดความเสี่ยงเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล มีการ
สร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ควบคู่คุณธรรมหัวใจของหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การ “อยู่ได้ด้วยส่ิงท่ีมีอยู่อย่าง
ยงั่ ยนื ” เป็นหลักการและแนวปฏิบัติของโลกในอนาคต ด้วยเร่ืองความพอเพียงเป็นเรื่องของบุคคล และองค์กรทุก
ระดับเมื่อได้รับการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จนเกิดประสิทธิผลและเป็นที่ยอมรับนอกจากนี้ ยังมี 13
นักคิดระดบั โลก เห็นดว้ ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนาเสนอบทความ บทสัมภาษณ์ต่าง ใช้ชีวิตให้ดี
พออยา่ ใหค้ วามสาคัญกบั เรื่องของรายได้และความร่ารวยแต่ให้มองท่ีคุณค่าของชวี ติ มนุษย์
. จิกมี ทินเลย์ นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศภูฏาน ให้ทรรศนะว่า หากประเทศไทยกาหนดเรื่องเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ให้เปน็ วาระระดับชาติและดาเนินตามแนวทางน้ีอย่างจริงจัง“ผมว่าประเทศไทยสามารถสร้างโลกใบใหม่
จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสร้างชีวิตที่ยั่งยืนและสุดท้ายจะไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศแต่จะเป็นหลักการ
และแนวปฏบิ ตั ิของโลก ซ่ึงหากทาไดส้ าเร็จ ไทยกค็ ือผนู้ า”และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการเชิดชูเป็นอย่าง
สูงจากองค์การสหประชาชาติ โดย นายโคฟิ อันบัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติได้ทูลเกล้าฯ ถวาย
รางวัลความสาเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือวันท่ี 26 พฤษภาคม
พ.ศ. 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นปรัชญาท่ีมีประโยชน์ต่อประเทศไทย และนานา
ประเทศและสามารถเร่ิมไต้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในท่ีสุด
รักษาการผู้อานวยการสานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในประเทศไทยกล่าวเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงและยังได้ตระหนักถึงวิสัยทัศน์ และแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และองค์การ
สหประชาชาตยิ งั ไต้สนบั สนนุ ใหป้ ระเทศตา่ ง ๆท่ีเป็นสมาชกิ 166 ประเทศ ให้ยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศ
แบบย่ังยืน
6
กิจกรรมทา้ ยบทที่ 3
1. ใหผ้ ู้เรยี นแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 5-10 คน ศึกษาปญั หาของชุมชน จดั ปัญหาเปน็ กล่มุ ๆ และหาแนวทางแกป้ ัญหา
ท่านคดิ อยา่ งไรเก่ยี วกบั ประเด็นต่อไปน้ี
“ มีเร่ืองจริงเกี่ยวกับน้าสาวกับหลานชายจากปลายทุ่งอยุธยาซ่ึงมีทั้งปลาและพืชผักพื้นบ้านอุดมสมบูรณ์ น้ามี
การศึกษาสูงจึงย้ายไปเป็นครูอยู่ในเมืองใหญ่ เวลากลับไปเยี่ยมบ้านเธอจะรับประทานอาหารจาพวกปลาและผัก
พ้นื บา้ นด้วยความพอใจ สว่ นหลานชายมกั บน่ วา่ ปลาและผักพื้นบ้านเปน็ อาหารล้าสมยั หนุ่มนอ้ ยคนนน้ั จงึ ชอบ
ขับมอเตอร์ไซค์ เข้าไปในตลาดเพื่อรบั ประทานอาหารทันสมยั ได้แกบ่ ะหมีส่ าเร็จรูป น้าอัดลม ขนมกรุบกรอบ ”
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
7
2. ให้ผู้เรยี นแบ่งกลุ่ม 5-10 คน ใหว้ ิจารณ์สถานการณโ์ ลกวา่ เหตุใดประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างประเทศ
สหรฐั อเมริกาจงึ ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่า ใหผ้ เู้ รยี นบันทกึ สาเหตุที่ทาใหภ้ าวะเศรษฐกิจ ตกตา่ ทว่ั โลก
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
8