Thai
Culture
เสนอ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย ์ ดร.สรุ ชยั ภทั รดษิ ฐ ์ ภมู ภิ กั ดเิ มธี
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม ตรงกบั คาํ ภาษาองั กฤษว่า “culture” มาจากภาษาลาติน คอื cultura ซ่ึง
แตกมา จากคาํ ว่า colere หมายถึง การเพาะปลูกและบาํ รงุ ให้เจริญงอกงาม (cultivate)
ในสงั คมไทยคาํ วา่ วัฒนธรรม ไดถ้ กู นิยามโดยรากศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต
คําว่า วฒฒน (วัฒน) หมายถึง ความเจรญิ งอกงาม ส่วน ธรม (ธรรม) หมายถงึ ความดี
ความงาม กฎระเบยี บ ข้อปฏบิ ัติ เม่อื รวมกนั เปน็ วฒั นธรรม หมายถึง ความดี
วฒั นธรรม ในความหมายทางสังคมวทิ ยา
• วัฒนธรรม เป็นวิถีชวี ติ ของมนุษย์ (Style of life/ the way of life)
ทเี่ กดิ จากการเรยี นร-ู้ ส่ังสอน
• วัฒนธรรม คอื ทุกสง่ิ ทกุ อยา่ ง (Everything in the World)
ทม่ี นุษย์สรา้ งข้ึน
ความสาคญั
ของวฒั นธรรม
1. เพือ่ สนองความต้องการพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ ปจั จัย 4
ในการครองชีพ
2. เพื่อความเรยี บรอ้ ยของสงั คม ได้แก่ การปกครอง
3. เพื่อผลทางจติ ใจ ไดแ้ ก่ ศาสนา
4. เพื่อความสดชน่ื ในชวี ติ ไดแ้ ก่ สุนทรยี ภาพ
5. เพอ่ื การสื่อสารความรู้ ได้แก่ การศึกษา
เงือ่ นไขสาหรบั
พัฒนาการวฒั นธรรม
1. มีเสรีท่ีไม่ต้องตอบสนองต่อส่ิงแวดลอ้ มโดยสญั ชาตญิ าณ
2. ความสามารถในการเรียนรู้
3. การคิดออกมาเปน็ สญั ลกั ษณ์
4. มีภาษา
5. สามารถประดษิ ฐ์สงิ่ ใหม่ (Invention)
(ปฬาณี ฐิตวิ ัฒนา อา้ งถึง Ashley Montagu)
ประเภทของวฒั นธรรม
วฒั นธรรมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. Material Culture : รปู ธรรม หรอื วัตถุธรรม เป็นวัฒนธรรมท่ี
สมั ผัสได้ (tangible culture)
2. Non-material Culture : นามธรรม เปน็ วัฒนธรรมทส่ี ัมผัส
ไม่ได้ (intangible culture) หรือวฒั นธรรมทไ่ี มใ่ ชว่ ัตถุ เชน่
สถาบันทางสงั คม คา่ นยิ ม ภาษา ฯลฯ แบ่งเป็น
2.1 คติธรรม เก่ียวข้องกบั คณุ งามความดี
จติ ใจหรอื คุณธรรมในชีวติ
2.2 เนตธิ รรม เก่ยี วกบั ประเพณี และกฎหมาย
2.3 สหธรรม เก่ยี วขอ้ งกบั มารยาทในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม
นอกจากน้ยี ังมีการจาแนก
วัฒนธรรมในรูปแบบอ่นื ไดแ้ ก่
1. รปู แบบของวฒั นธรรมท่เี ป็นมรดก (heritage culture)
2. วัฒนธรรมทเ่ี ป็นวิถชี วี ติ (living culture)
3. วฒั นธรรมท่สี ร้างสรรค์ (creative culture)
สาเหตุของการเกิดวฒั นธรรม
การเกิดวัฒนธรรมมสี าเหตุมาจากความต้องการของมนษุ ย์ 3 ประการ คือ
ความตอ้ งการที่จะไดร้ ับการ ความตอ้ งการทางสังคม ความตอ้ งการทางจติ ใจ
ตอบสนองทางชีววทิ ยา (social needs) เน่ืองจาก (psychological needs)
(biological needs) ซ่งึ วฒั นธรรมที่มาตอบสนอง
การอยู่รว่ มกนั ของคน ความต้องการ คือ ระบบ
ซึง่ เป็นความต้องการพ้ืนฐาน การแบง่ หนา้ ท่ี การร่วมมอื ความเชื่อ (ลัทธ/ิ ศาสนา)
คือ ปัจจัย 4 กนั แก้ไขปัญหาพนื้ ฐาน
ก่อให้เกิดวัฒนธรรม คือ
การจดั ระเบยี บทางสงั คม
(social organization)
ปัญหาพนื้ ฐานของมนษุ ย์
(งามพิศ สัตยส์ งวน,2543) ส่วนของวัฒนธรรม
ปัญหาพนื้ ฐาน
ปญั หาความสัมพันธท์ างเพศและการควบคุมเพศสมั พนั ธ์ ระบบเครือญาติ
ปญั หาเรื่องปากท้อง ระบบเศรษฐกจิ
ปัญหาความขัดแย้งและการควบคมุ ทางสังคม ระบบการเมอื งการปกครอง
ปัญหาเรือ่ งการอบรมสัง่ สอนสมาชิกใหมข่ องสงั คม ระบบการศึกษา
ปัญหาเร่อื งลี้ลับ อาํ นาจเหนอื ธรรมชาติ ระบบศาสนาและความเช่ือ
ปญั หาเรอ่ื งโรคภัยไขเ้ จบ็ ระบบการแพทย์และสาธารณสุข
ปญั หาเรือ่ งการสื่อสาร ระบบการส่ือสาร
ปญั หาเรื่องความคิดสรา้ งสรรค์ และการแสดงออก ศิลปะ
ปัญหาเรอื่ งการพักผอ่ นหย่อนใจ กีฬา และนันทนาการ
ลกั ษณะของวัฒนธรรม
เกิดจากการเรียนรู้ คิดคน้ ของสมาชกิ เกดิ ขึ้นเพอ่ื สนองความต้องการ
01 ในสังคม : ไมไ่ ดเ้ กิดตามสัญชาตญาณ 03 ของคนในสงั คม
แต่เกิดจากการอยู่ร่วมกนั ของมนษุ ย์ วัฒนธรรมมีความหลากหลายแตกต่างกนั
02 มกี ารถ่ายทอดจากร่นุ สู่ร่นุ 04 เพราะแต่ละสงั คมมสี ภาพแวดล้อมแตกต่าง
: socialization
กัน เชน่ วฒั นธรรมชาวเขา ชาวเล ชาวนา
ลกั ษณะของวฒั นธรรม
05 06เป็นแบบแผนในการดาํ รงชีวิตอยู่รว่ มกัน มกี ารเปลี่ยนแปลงและปรบั ปรุงอยู่เสมอ
: เกิดจากการประดิษฐ์ คดิ ค้น การยมื
: สร้างความเป็นเอกลักษณ์ของสังคมนนั้ ๆ
ผสมผสาน และการแพรก่ ระจายวัฒนธรรม
วฒั นธรรมมีทง้ั ระดับใหญแ่ ละระดบั รอง หมายถึง วฒั นธรรมโลก กําหนดใหเ้ ปน็ อารยธรรม
07 วัฒนธรรมประจําชาติ วัฒนธรรมท้องถน่ิ
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
การผสมผสาน การประดิษฐ์
ทางวัฒนธรรม คิดคน้
การแพรก่ ระจาย การยืม
วฒั นธรรมอ่ืน
ปัจจยั การผสมผสาน
วฒั นธรรม
1. การที่อยูอ่ าศัยใกลช้ ิดกัน
2. การย้ายถิ่นที่อยอู่ าศัย
3. การทตู และการค้า
4. การสมรสระหวา่ งผูต้ า่ งวัฒนธรรม
5. ความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยี และการคมนาคม
6. อทิ ธิพลของสอื่ มวลชน
7. สงคราม
ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม มี 2 ด้าน
Positive Negative
ทําใหเ้ กิดการพฒั นา เกดิ ปัญหาการปรับตัว
ความเปน็ อยู่ ปัญหาสังคม
สะดวกสบายข้ึน
ลกั ษณะสาคญั ของวัฒนธรรมไทย
1. นบั ถอื ระบบเครือญาติ มีคา่ นยิ มเคารพผ้อู าวุธโส
2. ยึดถือในบญุ กศุ ล เชื่อในกฎแห่งกรรมตามหลกั พระพุทธศาสนา มไี มตรจี ติ ตอ่ ผูอ้ ื่น ชอบทําบญุ ตาม
โอกาสสําคัญของชวี ิต
3. มีแบบแผนพิธีกรรมในการประกอบกิจการหรือประเพณตี า่ งๆ ตงั แต่เกดิ จนตาย
4. มีวิถีชวี ิตเกษตรกรรม ยอมรบั ความสาํ คญั ของธรรมชาติ
5. นยิ มความสนุกสนาน ดาํ เนินชีวิตแบสบายๆ
6. เปน็ วัฒนธรรมแบบผสมผสาน (ไทย จนี ฝร่งั แขก ฯลฯ)
7. ยึดมั่น จงรกั ภักดี เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
ความแตกต่างระหวา่ ง
วัฒนธรรมไทยและสากล
วัฒนธรรมสากล คอื วัฒนธรรมที่เกดิ ขึน้ จากสังคมอน่ื แต่มีความนยิ ม
ท่ัวไปในนานาประเทศ เชน่ การแตง่ กายสากล การเล่นกฬี าและดนตรี
สากล เป็นต้น ซึง่ ปกตแิ ลว้ มีบ่อเกิดจากวฒั นธรรมตะวันตก แต่คนไทย
รับเอามาเป็นสว่ นหนง่ึ ของวัฒนธรรมไทย เพราะสังคมไทยเปน็ สงั คม
ยอ่ ยสงั คมหนงึ่ ของโลก การทีจ่ ะตดิ ตอ่ กับคนตา่ งชาติจาํ เปน็ ต้องมีการ
ประพฤติปฏบิ ตั ิตอ่ กนั อยา่ งผสมกลมกลนื
การปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลง
วัฒนธรรมไทย
สาเหตุที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรม มดี ังนี้
1. การคดิ คน้ วทิ ยาการและการแสวงหา
ผลประโยชน์จากตา่ งชาติ
2. กระแสโลกาภิวตั น์ (globalization)
2.1. ข้อมลู ขา่ วสารจากตา่ งประเทศ
2.2. ลทั ธบิ รโิ ภคนยิ ม
การเลอื กรับวัฒนธรรม
หลกั ในการเลือกรับวฒั นธรรม
1. ศกึ ษาวฒั นธรรมไทยใหเ้ ขา้ ใจตนเอง : เพ่ือสรา้ งภูมคิ ุ้มกันให้คนไทยใหเ้ ข้าถึงและเขา้ ใจวฒั นธรรม
ภูมิปัญญา อันเปน็ มรดกของชาติ
2. เรียนรู้วัฒนธรรมสากล : เพ่อื รู้เท่าทันโลก เช่น ภาษา เทคโนโลยี ฯลฯ
3. เลอื กรบั วัฒนธรรมสากลในกระแสโลกาภวิ ัตนท์ เ่ี ปน็ ประโยชน์ : รับวทิ ยาการ ความเจรญิ ต่างๆ
ควรศึกษาผลกระทบท่ีเกดิ ให้รอบดา้ นเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชน์ ความสมานฉนั ท์ ของสังคมโดยรวม
4. ปรบั ใช้ให้เหมาะสมกบั บริบททางสงั คม : รกั ษาความเป็นตัวของตวั เอง ปรับใหเ้ ข้ากบั ตน ไม่ใช่
การลอกเลยี นแบบ
เอกสารอ้างองิ
กระทรวงศึกษาธิการ. 2553. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน หนา้ ทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวติ ในสังคม. กรงุ เทพฯ :
สกสค. ลาดพรา้ ว
ปฬาณฐี ิติวัฒนา. 2535. สงั คมวิทยา. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.
สัญญา สญั ญาวิวฒั น์. 2548. สังคมศาสตร์เบ้ืองตน้ . พมิ พค์ ร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ: คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, มหาวทิ ยาลัย. 2553 .เอกสารการสอนชุดวิชา สงั คมและวัฒนธรรมไทย. นนทบรุ ี :
มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.
กระทรวงวฒั นธรรม. 2552. แผนแม่บทวัฒนธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ.2550-2559.
(online).http://www.mculture.go.th/ckfinder/userfiles/files/toolscu
lture/AWFINAL%20BOOK%20WATTANATUM%20PLAN%20YEAR
%2025-11-52-1.pdf,14 เมษายน 2556
ขอบคณุ จดั ทาโดย
ครบั
นายไกรสร มใี หญ่CREDITS: This presentation template
was created by Slidesgo, including
รหัสนกั ศกึ ษา 6340109221icons by Flaticon, and infographics
& images by Freepik
นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 2 หมู่ 2
คณะครศุ าสตร์ สาขาสงั คมศกึ ษา