The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงงานครูเสด

โครงงานครูเสด

โครงงาน
สงครามครเู สด
กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

จดั ทาโดย

นายจิรภทั ร วงคธ์ ง เลขที่ 2
เลขที่ 23
นายกติ ติศร วิธรุ ะ เลขที่ 33
เลขท่ี 37
นางสาวนนั ทิชา ไผล่ อ้ ม เลขที่ 38

นางสาวจนั ทรช์ วรา ด่านสกุล

นางสาวจันทรว์ ลัย แซล่ ี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/7

โครงงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าประวตั ิศาสตรส์ ากล ( ส32104 )
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

โรงเรียนพิรยิ าลยั จงั หวัดแพร่ จังหวดั แพร่



โครงงาน
สงครามครเู สด
กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

จดั ทาโดย

นายจิรภทั ร วงคธ์ ง เลขที่ 2
เลขที่ 23
นายกติ ติศร วิธรุ ะ เลขที่ 33
เลขท่ี 37
นางสาวนนั ทิชา ไผล่ อ้ ม เลขที่ 38

นางสาวจนั ทรช์ วรา ด่านสกุล

นางสาวจันทรว์ ลัย แซล่ ี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/7

โครงงานนี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าประวตั ิศาสตรส์ ากล ( ส32104 )
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

โรงเรียนพิรยิ าลยั จงั หวัดแพร่ จังหวดั แพร่



กิตติกรรมประกาศ

ในการทาโครงงานสงครามครูเสดกลุ่มข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ คุณครู
อัญชลี เรืองไพศาล ท่ีได้ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คาปรึกษาให้ความสะดวกใน
การทาโครงงาน และขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกบั แนวทางในการทาโครงงาน

ขอบคณุ เพอ่ื นในกลุม่ ทุกคนทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาท่ีเป็น
ประโยชน์ในการทาโครงงาน ท้ายท่ีสุดขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อและคุณแม่ท่ี
เปน็ ผู้ให้กาลงั ใจและใหโ้ อกาสการศึกษาอันมคี ่ายิง่

คณะผู้จัดทาโครงงานสงครามครเู สด ขอขอบพระคุณทุกท่านอย่างสูงท่ีให้
การสนับสนุน เอื้อเฟอ้ื และให้ความอนุเคราะห์ชว่ ยเหลือ จนกระทั่งโครงงาน
ครเู สดสาเร็จลุลว่ งได้ด้วยดี

คณะผจู้ ดั ทา



บทคัดยอ่

สงครามครูเสด มกี ารทาสงครามกนั 10 ครง้ั สดุ ทา้ ยดินแดนศักดิ์สทิ ธติ์ ก
เป็นของมสุ ลิม บทสรุปการทาสงครามแตล่ ะคร้งั มีดังน้ี

ครงั้ ที่ 1 เปน็ ครัง้ ทค่ี รึกครืน้ ท่ีสดุ พระเจ้าแผ่นดินหลายพระองคไ์ ดไ้ ปใน
คร้งั น้ี และเป็นครง้ั เดยี วทีเ่ อาชนะพวกเติร์ก

ครั้งท่ี 2 พระเจา้ หลยุ สท์ ่ี 7 ของฝรงั่ เศส กบั พระเจา้ คอนราดท่ี 3 ของ
เยอรมัน ไดไ้ ปในคร้งั นี้ แตต่ อ้ งแพย้ ่อยยับกลับมา

ครง้ั ท่ี 3 พระเจา้ เฟรเดริกที่ 1 (เยอรมนั ) ฟลิ ปิ ป์ออกสุ ต์ (ฝรง่ั เศส) และริ
ชาร์ด ไลออนอาร์ท (องั กฤษ) ไดไ้ ปในคร้ังนี้ พากนั แพก้ ลบั มา

ครั้งท่ี 4 ไมไ่ ด้ผลอะไรเลย พวกเติรก์ ไปรบพวกครสิ เตยี นด้วยกนั เอง
ครั้งท่ี เซนเญอรข์ องฝรง่ั เศสคนหน่งึ ชื่อ ยองเลอเบรยี น กับพระเจ้า
แผน่ ดนิ ฮงั การี ไปรบพวกเติร์กในประเทศอยี ปิ ต์ และไม่ไดผ้ ลทางชยั ชนะ
ครง้ั ท่ี 6 พระเจ้าเฟรเดริกที่ 2 (เยอรมัน) เปน็ หวั หน้าไปทาไมตรกี ับพวก
อาหรับ ซ่ึงมีผลดีกวา่ ไปรบ เพราะทาใหพ้ วกอาหรับยอมให้พวกคริสเตยี นเดิน
ทางเขา้ เมืองเยรูซาเลม็ ได้อีก
ครงั้ ที่ 8 สงครามครเู สดได้ทากันในประเทศอียปิ ต์ เพราะพวกหวั หนา้
เตริ ก์ มถี นิ่ สาคญั ตั้งอยทู่ นี่ ั่น และแซงตห์ ลยุ ส์ (ฝรัง่ เศส) เปน็ ตัวต้ังในสงครามครู
เสดทัง้ สองครัง้ น้ี จนแซงหลยุ ส์สิน้ พระชนมเ์ มื่อ ค.ศ. 1270 และสงครามครูเสดก็
สดุ สิน้ ลงในครง้ั นี้

สารบญั หน้า

เรือ่ ง ก

กติ ตกิ รรมประกาศ 1
บทคัดย่อ 2-27
บทที่ 1 บทนา
บทท่ี 2 เอกสารและโครงงานท่ี 28
เกยี่ วขอ้ ง 29
บทท่ี 3 วิธกี ารจัดทาโครงงาน 30
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ
อา้ งองิ
ภาคผนวก

1

บทที่ 1
บทนา

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันการเรียนประวัติศาสตร์มีผู้คนจานวนมากให้ความสาคัญรวมถึง

ภายในโรงเรียนดว้ ย โดยเฉพาะประวัตศิ าสตร์สากลท่ีปัจจุบันเข้ามามีอทิ ธิมากใน
ประเทศไทย ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์ในนักเรียน ครูจึงให้ความสาคัญเป็น
อยา่ งมากและในหนึง่ ประวัตศิ าสตร์สากลท่นี า่ สนใจคอื การทาสงครามครูเสด

สงครามครูเสดเป็นประวัติศาสตร์สากลท่ีมีความเป็นมายาวนานและบาง
คนที่ศึกษาประวัติศาสตร์สากลอาจจะยังไม่ทราบรายละเอียดท่ีชัดเจนทั้งหมด
ดังนั้นผู้ศึกษาจึงสนใจท่ีจะศึกษาความเป็นมาและเรื่องราวต่าง ๆ ในการทา
สงครามครูเสด
วัตถุประสงค์

1. เพอื่ ศกึ ษาประวัติทว่ั ไปของการทาสงครามครเู สด
2. เพือ่ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้อื่น
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
หนังสือประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6 โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่
ระยะเวลา 21 พฤศจกิ ายน – 20 ธันวาคม 2562
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ
1. ทราบประวัติทัว่ ไปของการทาสงครามครูเสด
2. สามารถเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อื่น

2

บทที่ 2
เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง

ความหมายของสงครามครูเสด
สงครามครเู สด มคี วามหมายว่า เปน็ การตอ่ สเู้ พือ่ ความถูกตอ้ งชอบธรรม

เป็นความถูกตอ้ งชอบธรรมตามหลกั ศรัทธาทางศาสนา เป็นสงครามทีต่ อ่ สเู้ พื่อ
ความถกู ตอ้ งตามพระประสงคข์ องพระผ้เู ปน็ เจา้ ซ่งึ ชาวมุสลมิ ใช้คาวา่ จฮิ ัด ใน
ภายหลงั คาว่า สงครามครเู สดถกู นาไปใช้ในทานองการรณรงค์ต่อสเู้ พอื่ ความชอบ
ธรรมดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ สงครามศักดส์ิ ทิ ธ์ิตามพระประสงคข์ องพระผเู้ ปน็ เจา้ ฆ่าคน
นอกรตี -คนตา่ งศาสนา ไมบ่ าป แล้วยงั ไดข้ ึ้นสวรรค์
สงครามครเู สดในมุมมองศาสนาคริสต์

คือ สงครามไม้กางเขน เดิมมาจากคาวา่ "ครอส" (Cross) และเดิมที
ดนิ แดนศักดิ์สิทธิ์ เยรซู าเล็ม (Jerusalem) นน้ั เปน็ ของชาวครสิ ตอ์ ยแู่ ลว้ แตถ่ กู
ชาวมุสลิมรุกราน ฝ่ายครสิ ตม์ ีการประกาศความชอบธรรมในการทาสงคราม และ
ยังยกหน้สี นิ ให้กับคนทีเ่ ข้ารว่ มสงคราม และผู้นาศาสนายังประกาศว่าผใู้ ดที่ร่วม
รบจะได้ขึ้นสวรรค์
สงครามครเู สดในมมุ มองศาสนาอิสลาม

คือ การรกุ รานของชาวคริสตท์ ่ีกระทาต่อมสุ ลิม สาเหตุสงครามเกดิ
จากการทชี่ าวครสิ ตไ์ ม่พอใจชาวมุสลิมที่ไมต่ ้อนรับพวกตนในการเข้าไปแสวงบุญ

ทเ่ี ยรซู าเล็ม เป็นต้นสาเหตุหลักท่ีก่อให้เกิดสงครามครเู สด

3

1. สงครามครูเสดเป็นผลของความขัดแยง้ กันเป็นเวลาช้านาน ระหว่าง
ครสิ ตจักรทางภาคตะวันตกกบั ทางภาคตะวันออก ตา่ งฝา่ ยต่างกพ็ ยายามท่ีจะมี
อานาจเหนืออกี ฝ่ายหน่ึง โดยนาเสนอความเป็นผู้นาในการรบเพือ่ ทวงคืนดนิ แดน
ศักดิ์สทิ ธ์ิ และหยุดยงั้ การแพรข่ ยายของศาสนาอสิ ลามท่ีเปน็ ไปอย่างรวดเร็วจน
กอ่ ใหเ้ กดิ ความหวาดกลัวขน้ึ ทว่ั ไปในหมู่ชาวครสิ เตียนในยุโรป ดว้ ยเหตุดังกลา่ ว
ในศตวรรษท่ี 11 ชาวคริสเตยี นจึงไดส้ ่งกองกาลงั มาปะทะกบั มุสลมิ

2. ความกระตอื รอื ร้นในการแสวงบญุ ของชาวครสิ เตยี นยงั นครเยรซู าเล็ม
มมี ากกวา่ ท่เี คยเปน็ มา ในช่วงน้ัน เยรูซาเลม็ ตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของมุสลิม
ผู้แสวงบุญชาวครสิ เตยี นจงึ มคี วามต้องการดินแดนเยรซู าเลม็ เป็นของตนเอง เพ่อื
ความสะดวกในการแสวงบุญมากยิง่ ขน้ึ

3. ชว่ งเวลาระหว่างน้ัน เป็นระยะเวลาท่รี ะสา่ ระสายอยทู่ ัว่ ไปในยโุ รป
พวกเจา้ เมืองต่าง ๆ ต่างกต็ อ่ สู้ทาสงครามซึง่ กันและกนั พระสันตะปาปามี
ความเหน็ ว่า ถ้าปล่อยให้อยู่ในสภาพเช่นนี้ จะทาใหช้ าวคริสเตียนในยุโรปต้อง
ออ่ นแอลง เขาจงึ ยุยง ปลุกระดมใหป้ ระชาชนหันมาต่อสูก้ ับชาวมุสลิมแทนโดย
อา้ งว่าจะได้รับกศุ ลผลบญุ และเพอ่ื เอานครอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ "เยรูซาเลม็ " กลบั คืนมา

4. มุสลิมได้กลายเป็นมหาอานาจทางการค้าแถบชายฝ่ังทะเลเมดเิ ตอร์เร
เนียนตัง้ แตศ่ ตวรรษที่ 10 เปน็ ต้นมา การคา้ พาณิชยใ์ นทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียนจึง
ตกอยูใ่ นความควบคมุ ของมสุ ลมิ อย่างเตม็ ที่ ดงั น้นั ชาวคริสเตียนในยโุ รปจึงตอ้ ง
ทาสงครามกบั มสุ ลิมเพ่อื หยุดย้งั ความเจรญิ ก้าวหน้าของมุสลมิ

5. สนั ตะปาปา เออรแ์ บนที่ 2 ประสงคจ์ ะรวมครสิ ตจักรของกรีกมาไว้ใต้
อทิ ธิพลของทา่ นด้วย จึงได้เรียกประชุมชาวคริสเตียนทเี่ มอื งเลอมองสใ์ นภาค

4

ตะวนั ออกเฉียงใตข้ องฝร่งั เศส เมอ่ื วันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1095 และรบเรา้
ใหช้ าวคริสเตียน ทาสงครามกับชาวมสุ ลิม ทา่ นไดส้ ญั ญาวา่ ผู้ทเี่ ขา้ ร่วมในการตอ่ สู้
จะไดร้ บั การยกเว้นจากบาปท่ีเคยทามา และผูท้ ีต่ ายในสงครามก็จะได้ข้นึ
สวรรค์ ภายในเวลาไมน่ านกร็ วบรวมคนได้ถงึ 150,000 คน ส่วนมากเปน็ ชาวแฟ
รงค์ (Frank) และนอร์แมน (Norman) คนเหลา่ นไ้ี ด้มาชมุ นุมกันทเ่ี มืองเยรซู าเลม็
ประวัตสิ งครามครูเสดโดยยอ่

จุดเรมิ่ ต้นของสงครามครูเสด หลงั จากท่ีพระเยซคู รสิ ต์เสยี ชีวิตแลว้
แผน่ ดินทพ่ี ระเยซูครสิ ต์มชี ีวิตอยู่ ก็คอื เมืองเบธเลเฮม เมอื งนาซาเรธ็ และเมอื ง
เยรูซาเล็ม ถูกเรยี กวา่ แผ่นดินศักดสิ์ ิทธ์ิ ชาวครสิ เตยี นจะเดินทางไปแสวงบุญท่ี
เมืองเหลา่ น้ี อยา่ งไรกต็ าม เมืองเหล่านี้บางเมืองก็เปน็ สถานท่สี าคัญทางศาสนา
ของชาวมุสลิมดว้ ยเชน่ กัน เมอ่ื พวกซัลจู๊ค (มสุ ลมิ ) เข้ามามีอานาจ ได้ครอบครอง
ซเี รยี และเอเชยี ไมเนอรข์ องไบแซนไทน์ ชยั ชนะของซลั จ๊คู ในการยทุ ธทม่ี านซิ
เคอรท์ ในปี ค.ศ. 1071 น้ัน เป็นการขับไลอ่ านาจของไบแซนไทน์ออกจากเอเชยี
ไมเนอร์ และอกี ไม่ก่ีปตี อ่ มาคอื ในปี ค.ศ. 1092 ซลั จูค๊ ก็ตีเมอื งนคิ าเอจากไบแซน
ไทนไ์ ดอ้ กี ซ่งึ ทาใหจ้ กั รพรรดแิ ห่งไบแซนไทน์ตน่ื ตระหนกั เพราะอสิ ลามกาลังเขา้
ใกล้กรงุ คอนสแตนติโนเปล้ิ เข้าไปทุกทเี มือ่ เหน็ ดังน้ัน จักรพรรดิอเล็กซอิ สุ คอนเน
นุส แหง่ ไบแซนไทน์ ได้ขอความชว่ ยเหลือไปยงั โป๊ปเกรกอรีท่ี 7 แหง่ กรงุ โรม ให้
ชาวครสิ เตียนปราบเตริ ก์ ซงึ่ สันตะปาปาก็ตอบรับการขอความชว่ ยเหลอื เพราะ
นน่ั เท่ากบั ว่าจักรพรรดแิ หง่ ไบแซนไทนเ์ ปน็ ผนู้ าของศาสนาครสิ ต์นกิ ายออโธด
อกซย์ อมรบั อานาจของสนั ตะปาปา ซ่ึงเป็นผูน้ าของนกิ ายโรมันคาทอลิกโดย
ส้นิ เชิง พระสันตะปาปาไดด้ าเนินการเรอ่ื งนี้อยา่ งเร่งดว่ น

5

หากเราพจิ ารณาในวงแคบลงมาแลว้ ในความรูส้ กึ ของชาวยโุ รปน้นั ถูก
รกุ รานจากพวกตะวันออก คอื โลกมุสลมิ มาโดยตลอด นับต้ังแต่ ค.ศ. 632 เปน็
ต้นมา อิสลามไดข้ ยายอานาจเข้าไปในเขตแดนทต่ี ะวนั ตกเคยมีอานาจ เช่น ซเี รีย
อียิปต์ แอฟรกิ าเหนอื ตลอดจนคาบสมุทรไอบีเรีย (สเปนและโปรตุเกส) ซ้ายัง
คุกคามจกั รวรรดนิ ยิ มที่ยิ่งใหญใ่ นโลกตะวันตกคอื ไบแซนไทน์ และสรา้ งความ
สน่ั สะเทือนใหแ้ กส่ ถาบันที่เปน็ หวั ใจของวฒั นธรรมตะวนั ตกและครสิ ต์ศาสนา น่นั
กค็ ือกรุงโรม โดยมสุ ลมิ สามารถยดึ ครอบครองบางสว่ นของอิตาลี ตลอดสมัยน้ี
การคา้ กบั ตะวนั ออก ตกอยูใ่ นมือของอิสลาม สงครามครเู สดจึงเป็นความ
พยายามของชาวตะวนั ตกท่ีจะลม้ อานาจของตะวันออกทเ่ี ปน็ มสุ ลิมหลงั จากทแ่ี พ้
มาโดยตลอด

แรงจงู ใจสาคญั ท่ที าใหช้ าวยุโรปเดินทางฝา่ อันตรายไปยังโลกอสิ ลาม คือ
กษัตริยฝ์ รงั่ เศสและเยอรมนั ต้องการดินแดนเพิม่ บรรดาอัศวินและขุนนาง
ตอ้ งการผจญภยั แสดงความกลา้ หาญตามอดุ มคตขิ องอัศวนิ ท่ดี ี พวกทาสตอ้ งการ
เป็นอิสระ เสรชี นตอ้ งการความร่ารวยและแสดงความศรทั ธาตอ่ ศาสนารวมทง้ั
ความพยายามของ พระสันตะปาปาในอนั ท่ีจะรวมคริสตศ์ าสนานิกายออรโ์ ธ
ดอกซ์ให้เขา้ กบั นิกายโรมนั คาทอลิก ภายใต้การบงั คับบัญชาของตนแตเ่ พียงผู้
เดยี ว ประกอบกบั สมยั นน้ั อานาจของอสิ ลามเองกไ็ ด้อ่อนแอลงเน่อื งจากความ
แตกแยกภายใน คอื ภายหลงั ท่ซี ัลจคู๊ เสอ่ื มอานาจลง โลกอิสลามได้ถูกแบง่ แยก
ออกเป็นแควน้ เลก็ แควน้ นอ้ ย ปราศจากศนู ยก์ ลางอีกครง้ั คอลฟี ะฮแฺ หง่ ฟาฏีมี
ยะฮฺเองกต็ กอยู่ในสภาพทอี่ ่อนแอและพยายามจากัดอานาจของตนอย่เู ฉพาะใน
อียปิ ต์เท่าน้ัน

6

พระสันตะปาปาได้ทาการเรียกรอ้ งใหท้ าสงครามครูเสด กล่าวถึงความจาเป็นที่
จะต้องทาเพราะเป็นคาสั่งของพระเจ้า แตท่ ว่าเกรกกอรที ่ี 7 ไดเ้ สียชวี ิตลงเสีย
ก่อนที่จะปฏบิ ัติตามสญั ญาในปี ค.ศ. 1095 จักรพรรดิแหง่ ไบแซนไทนไ์ ดข้ อรอ้ ง
ทานองเดยี วไปยังพระสันตะปาปาคนใหม่ คือ เออรบ์ านท่ี 2 ซ่งึ พระสันตะปาปา
คนน้กี ไ็ ดต้ อบรบั การเรียกรอ้ งทันที พระสนั ตะปาปาไดจ้ ัดประชุมกนั ทีเ่ คลมองต์
(Clermont) ในประเทศฝรั่งเศส เรยี กร้องให้ประชาชนทาสงครามครูเสดเพ่อื
กอบกูส้ ถานทอ่ี นั ศักด์สิ ทิ ธ์ิ คอื กรุงเยรูซาเลม็ คืนจากอิสลาม..คาปราศรัยของพระ
สนั ตะปาปามใี จความวา่

"ดว้ ยบัญชาของพระเจ้า ใหเ้ จา้ หยดุ ยัง้ การทาสงครามกันเอง และให้เขา
เหล่านนั้ หันมาถอื อาวุธมุ่งหนา้ ไปทาลายผปู้ ฏิเสธ (มุสลิม)"

ปรากฏว่าพระสนั ตะปาปารวบรวมคนไดถ้ งึ 150,000 คน ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นชาวฝรง่ั เศสไปร่วมทาสงครามครูเสด จะเหน็ วา่ ในบรรดาชายชาวยโุ รปที่
ตอ้ งการทาสงครามครเู สดมากท่สี ุดกเ็ หน็ จะไดแ้ ก่ ชาวฝร่งั เศส ดังน้ัน การจดั ตง้ั
รฐั ต่าง ๆ ในตะวนั ออกกลางภายหลงั ท่ีพวกครเู สดสามารถปกครองดนิ แดนนจ้ี งึ
เปน็ รัฐของฝรัง่ เศส บาทหลวง บรรดาเจ้าชาย อศั วนิ และนกั รบล้วนแต่เปน็ ชาว
ฝรัง่ เศสเสียสว่ นใหญ่

ในขณะทท่ี พั ครเู สดกาลงั จะยกมารบกับอสิ ลาม กไ็ ดม้ ีกองทัพของ
ประชาชนผู้มศี รทั ธาแรงกล้าเดินทพั มาก่อนแล้วในปี ค.ศ. 1094 ตามคาชักชวน
ของ ปเี ตอร์ นกั พรต (Peter of Amines) เขาผูน้ ้ีได้เดินทางท่องเทย่ี วไปท่วั ยโุ รป
เพ่ือป่าวประกาศเรือ่ งราวการกดขี่ของชาวเติรก์ ต่อชาวคริสเตียนในปาเลสไตน์ ซง่ึ
หาได้เป็นความจรงิ ไม่ กลา่ วได้วา่ กองทพั นเ้ี ปน็ กองทพั ของประชาชนมากกว่า

7

กองทพั ของทหารท่ีจะไปทาสงคราม เพราะมีผู้นาท่เี ป็นบาทหลวงและสามัญชน
ธรรมดาปราศจากความร้ใู นการรบ และมิไดม้ อี าวุธที่ครบครัน ปรากฏว่ากองทัพ
นี้สว่ นใหญม่ าถงึ เพยี งฮังการี เพราะเมือ่ ขาดอาหารลงกจ็ ะทาการปล้นสะดม จึง
ถกู ประชาชนแถบนัน้ ตอ่ ต้าน และสว่ นใหญจ่ ะตายเสียตามทาง ท่ีเหลือรอดมาซึ่ง
มีจานวนเลก็ นอ้ ย เม่อื เผชญิ กับพวกซลั จู๊คจงึ ถูกตแี ตกพา่ ยกลบั ไป สงครามครั้งนี้
มิไดก้ อ่ ให้เกิดผลสะท้อนใด ๆ นอกจากจะกระต้นุ ใหช้ าวยุโรปมีความเกลยี ดชัง
มุสลิมมากขน้ึ ไปอีก

สงครามครูเสดเพื่อยดึ ครองแผ่นดนิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ เกิดขนึ้ ครั้งแรกใน ค.ศ.
1096 โดยมอี ศั วินประมาณ 50,000 คนเขา้ ร่วม สว่ นใหญม่ าจากฝร่ังเศส เส้นทาง
ท่ีทหารครูเสดจะตอ้ งเดินทางมานน้ั มรี ะยะทาง 2,000 ไมล์ ทหารครูเสดที่มาใน
ครั้งน้นั อยภู่ ายใต้การนาของ โรเบริ ์ต แหง่ นอรม์ งั ดี ทหารบางคนเขา้ ร่วมสงคราม
ครั้งน้ีด้วยเหตุผลทางศาสนา บางคนเขา้ รว่ มเพราะตอ้ งการผจญภัยหรอื แสวงโชค
ใน ค.ศ.1099 ทหารครเู สดได้มาถึงด้านนอกกาแพงเมอื งเยรูซาเล็ม ฝ่ายมสุ ลมิ
(ซ่งึ พวกทหารครเู สดเรียกว่า ซาราเซน็ ) ไดต้ อ่ ส้ปู อ้ งกนั อย่างเข้มแขง็ ทหารครูเสด
ปดิ ล้อมเมอื งอยู่เดอื นกว่าจึงฝา่ กาแพงเขา้ ไปได้และเมอื่ เขา้ เมืองได้ ทหารคริส
เตียนก็ฆ่ามสุ ลิมทกุ คนทีพ่ วกเขาพบ เพราะทหารคริสเตียนถอื วา่ ชาวมุสลิมทุก
คนคอื ผู้ไมศ่ รทั ธาในเมืองศักด์สิ ิทธขิ์ องพระเจ้า

ใน ค.ศ. 1144 มุสลิมยดึ เมอื งอีเดสซากลบั คนื มาได้ สงครามครูเสดครัง้ ที่
สองเกดิ ข้นึ เพราะพวกยโุ รปตอ้ งการท่ีจะยึดเยรซู าเลม็ กลับคืนมา แต่ตอ้ งประสบ
ความล้มเหลว ต่อมาใน ค.ศ.1187 ผนู้ ามสุ ลิมคนใหมค่ อื เศาะลาฮดุ ดีน (ซาลา
ดนิ ) ไดโ้ จมตีอาณาจกั รของครสิ เตียนโดยเร่ิมจากสงครามฮิตตนิ ก่อน หลังจากนัน้

8

กเ็ ขา้ ไปยึดเมอื งเยรูซาเล็มกลบั คนื มาได้ ทหารมสุ ลิมต้องการที่จะประหารชาว
ครสิ เตียนท้ังหมดท่ีอยใู่ นเมอื ง แต่ซาลาดนิ ไมอ่ นญุ าต สงครามครเู สดครงั้ ท่ีสาม
เกดิ ขนึ้ เพราะคริสตจักรมีความต้องการท่จี ะขับไลซ่ าลาดนิ ออกจากแผน่ ดิน
ศกั ดิส์ ทิ ธิ์

หนง่ึ ในบรรดาแม่ทัพทนี่ าทหารครูเสดมาในครงั้ นนั้ คอื กษัตริยร์ ชิ าร์ดท่ี 1
แหง่ อังกฤษหรอื ทรี่ จู้ ักกนั ดวี ่า "ริชารด์ ใจสิงห"์ (Richard the Lionheart) ไดท้ า
สงครามกับซาลาดนิ สงครามนองเลือดจงึ เกิดขน้ึ หลายครง้ั แตท่ หารของซาลาดนิ
เข้มแขง็ กว่า ดงั นน้ั สงิ่ ท่ีกษัตริย์ริชาร์ดทาได้ กค็ ือการทาสญั ญากับ ซาลาดินใน
ค.ศ.1192 สัญญานี้ระบุว่าทาพวกคริสเตียนอาศัยอยู่ในเมืองตา่ ง ๆ ได้ เช่น
เมืองอคั รา บนฝงั่ ทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น และไปเยี่ยมแผ่นดนิ ศักด์ิสิทธ์ไิ ด้
หลงั จากนน้ั อกี หน่งึ ศตวรรษ มุสลิมกส็ ามารถยดึ เมืองครสิ เตียนตา่ ง ๆ กลับคืนมา
ได้ กองทหารครเู สดไดถ้ ูกสง่ มาช่วยเมืองเหลา่ นี้หลายครั้ง แตไ่ มป่ ระสบผลสาเร็จ

สงครามครูเสด (Crusades แปลวา่ "สงครามไม้กางเขน")
เปน็ ชดุ สงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ทีถ่ กู ทาให้ศกั ดิ์สทิ ธ์ิโดยสมเด็จพระ

สนั ตะปาปาเออร์บันท่ี 2 และศาสนจักรคาทอลกิ มเี ปา้ หมายท่ีแถลงไวเ้ พอ่ื ฟนื้ ฟู

การเข้าถงึ ทศ่ี กั ด์สิ ิทธิ์ในและใกลเ้ ยรซู าเลม็ ของคริสเตยี น เยรูซาเลม็ เปน็ นคร

ศักดิ์สทิ ธแิ์ ละสญั ลักษณข์ องศาสนาเอบราฮัมหลกั ทงั้ สาม (ศาสนายดู าย ศาสนา

ครสิ ตแ์ ละศาสนาอิสลาม) ภมู หิ ลังสงครามครเู สดเกิดเม่ือเซลจคุ เติร์กมีชยั ชนะ

อย่างเดด็ ขาดเหนอื กองทัพไบแซนไทน์เมอ่ื ค.ศ. 1071 และตดั การเข้าถึง

เยรูซาเลม็ ของครสิ เตียน จักรพรรดิไบแซนไทน์ อเล็กซสิ ที่ 1

9

ทรงเกรงวา่ เอเชียไมเนอรท์ ัง้ หมดจะถูกบกุ รกุ พระองคจ์ งึ ทรงเรยี กร้องผ้นู าครสิ
เตียนตะวันตกและสนั ตะปาปาให้มาชว่ ยเหลือโดยไปจาริกแสวงบญุ หรอื สงคราม
ศาสนาเพ่ืปลดปลอ่ ยเยรูซาเลม็ จากการปกครองของมุสลมิ อีกสาเหตุหน่งึ เป็น
เพราะการทาลายล้างสถานทศี่ ักด์ิสิทธข์ิ องคริสเตียนเปน็ จานวนมากและการ
เบยี ดเบยี นครสิ ตศ์ าสนิกชนภายใตอ้ ัล-ฮาคิม กาหลิปราชวงศฟ์ าติมียะห์
นักรบครูเสดประกอบดว้ ยหน่วยทหารแหง่ โรมันคาทอลิกจากทว่ั ยโุ รปตะวนั ตก
และไมอ่ ยภู่ ายใต้อานาจบังคับบญั ชารวม สงครามครเู สดชุดหลัก โดยเฉพาะอยา่ ง
ย่งิ ท่พี ุ่งเปา้ ตอ่ มสุ ลิมในเลแวนต์ (Levant) เกดิ ขน้ึ ระหวา่ ง ค.ศ. 1095 ถงึ 1291
นักประวัติศาสตร์ให้ตวั เลขสงครามครูเสดกอ่ นหนา้ นนั้ อีกมาก หลังมีความสาเรจ็
ในช่วงแรกอยู่บา้ ง สงครามครเู สดชว่ งหลังกลบั ล้มเหลว และนกั รบครเู สดถูก
บังคับใหก้ ลบั บ้าน ทหารหลายแสนคนกลายเปน็ นักรบครเู สดโดยการกลา่ ว
ปฏญิ าณ สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาให้การไถบ่ าปบรบิ ูรณ์ (plenary indulgence)
แกท่ หารเหล่านนั้ สัญลักษณข์ องนกั รบเหลา่ นี้ คอื กางเขน คาว่า "ครเู สด" มา
จากภาษาฝร่ังเศส หมายถงึ การยกกางเขนข้ึน ทหารจานวนมากมาจากฝรงั่ เศส
และเรยี กตนเองว่า "แฟรงก"์ ซง่ึ กลายเป็นคาสามญั ทม่ี สุ ลิมใช้
คาวา่ "ครูเสด" ยงั ใช้อธบิ ายการทัพทีม่ เี หตุจงู ใจทางศาสนาทดี่ าเนินระหว่าง ค.ศ.
1100 และ 1600 ในดินแดนนอกเหนอื ไปจากเลแวนต์ โดยมกั เปน็ สงครามกบั
พวกนอกศาสนา นอกรีตและประชาชนภายใตก้ ารห้าม
บพั พาชนยี กรรม (excommunication) ดว้ ยเหตุผลดา้ นศาสนา เศรษฐกจิ และ
การเมอื งผสมกนั การแข่งขนั กันระหวา่ งคริสเตียนและมสุ ลิมยังนาไปสู่พนั ธมิตร

10

ระหว่างกลมุ่ แยกศาสนาตอ่ คแู่ ขง่ ของตน เชน่ ครสิ เตียนเป็นพันธมติ รกบั รัฐ
สุลต่านรมู ทนี่ บั ถืออิสลามระหวา่ งสงครามครูเสดคร้ังท่หี า้
สงครามครูเสดสง่ ผลกระทบใหญ่หลวงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมตอ่ ยโุ รป
ตะวันตก มนั สง่ ผลใหจ้ ักรวรรดไิ บแซนไทน์ทนี่ บั ถือคริสต์อ่อนแอลงมาก และเสีย
ใหแ้ ก่เตริ ก์ มสุ ลิมในอีกหลายศตวรรษตอ่ มา เรกองกสิ ตา สงครามอนั ยาวนานใน
คาบสมุทรไอบเี รยี ซึ่งกาลังครสิ เตยี นพิชิตคาบสมทุ รคนื จากมุสลมิ มี
ความสมั พันธ์ใกลช้ ดิ กับสงครามครูเสด
สงครามครูเสดครง้ั ที่ 1 ค.ศ. 1095-1101

สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาเออรบ์ นั ท่ี 2 ในสภาแห่งเคลยี มอนท์ประกาศให้
แยง่ ชงิ แดนศักดสิ ิทธ์ิคืนเร่มิ ตน้ เมื่อปี 1095 โดยสมเด็จพระสนั ตะปาปาเออร์บันที่
2 (Urban II) แห่งกรงุ โรม รวบรวมกองทัพชาวคริสต์ไปยงั กรงุ เยรซู าเลม ชว่ งแรก
กองทัพของปเี ตอร์ นักพรต (Peter the Hermit) นาล่วงหน้ากองทัพใหญ่ไปก่อน
สว่ นกองทัพหลักมปี ระมาณ 50,000 คนซงึ่ ส่วนใหญ่มาจากประเทศฝรงั่ เศส นา
โดย โรเบริ ต์ เคอรโ์ ทส ดยกุ แห่งนอรม์ ังดโี อรสของสมเด็จพระเจ้าวลิ เลยี มท่ี 1
แห่งอังกฤษในทีส่ ุดเม่ือปี 1099 กองทพั กเ็ ดนิ ทางจากแอนตอิ อคมาถงึ กาแพง
เมือง และยึดฐานที่ม่ันใกล้กาแพงเข้าปดิ ลอ้ มเยรูซาเลมไว้ กองกาลงั มุสลิมทไ่ี ดร้ บั
การขนานนามว่า ซาระเซน็ ได้ตอ่ สูด้ ว้ ยความเขม้ แข็ง ทวา่ ทา้ ยทสี่ ุดนักรบครูเสด
กบ็ กุ ฝา่ เขา้ ไป และฆา่ ล้างทกุ คนทไ่ี ม่ใชช่ าวครสิ ตก์ ระทัง่ ชาวมุสลิมในเมืองหรือ
ชาวยวิ ในสถานทีท่ างศาสนากล็ ว้ นถกู ฆ่าจนหมด เหลอื เพยี งผปู้ กครองเดมิ ใน
ขณะนั้นซง่ึ

11

ได้รับอนุญาตให้ออกไปได้ แต่ทว่าข่าวการรบน้ันไม่อาจไปถึ งพระ
สันตะปาปา เนื่องจากพระองค์สิ้นพระชนม์ในอีกไม่กี่วันถัดมาผู้นาเหล่านักรบ
ศักด์ิสิทธิ์ที่ได้รับเลือกคือ กอดฟรีย์แห่งบูยง ซ่ึงอยู่ในตาแหน่งนานหน่ึงปีจึง
เสียชีวิต เดือนกรกฎาคมปี 1100 บอลด์วินจากเอเดสซาจึงข้ึนสืบเป็นกษัตริย์
พระองค์อภิเษกกับเจ้าหญิงอาร์เมเนีย แต่ไร้รัชทายาท พระองค์สวรรคตในปี
1118 ผู้เป็นราชนัดดานามบอลด์วินจึงครองราชย์เป็นกษัตริย์บอลด์วินท่ี 2 แห่ง
อาณาจักรศกั ด์สิ ทิ ธิ์ มรี าชธิดา 3 พระองค์ และท่ีนา่ สนใจคือครง้ั นีบ้ ัลลงั ก์สืบทอด
ทางธิดาองค์โตหรอื มเหสี และพระสวามีจะครองราชย์แทนกษัตริย์องคก์ ่อน
สงครามครูเสดมีสาเหตุหลักมาจากความแตกต่างทางความเชื่อในศาสนาแต่ละ
ศาสนา จนทาให้ไม่เข้าใจซ่ึงกันและกัน ซึ่งผู้เริ่มต้นคือชาวมุสลิมต้องการ
ครอบครองดินแดนศักดส์ิ ิทธิ์ คือ กรุงเยรูซาเลม นอกจากน้ันเหตุผลทางการเมือง
ก็เป็นอีกสาเหตุของสงครามด้วย เพราะในสมัยนั้นเศรษฐกิจในยุโรบตกต่า ผู้นา
ศาสนาในโรมันคาทอลิกเรืองอานาจมาก และมีอานาจเหนือกษัตริย์ และ
ครอบครองทรัพย์สินมหาศาล ขนาดมีความเช่ือในตอนนั้นว่า ถ้าเป็นไปได้พ่อแม่
ทกุ คนอยากใหบ้ ุตรชายของตนเปน็ นักบวชเพอื่ จะเปน็ ผู้นาศาสนา
สงครามครูเสดได้คร่าชีวิตและทรัพย์สินของมนุษยชาติอย่างมากมายมหาศาล
เพราะพระสันตะปาปาอ้างว่าเขาสามารถล้างบาปให้กับนักรบครูเสดได้ และ
อนุญาตให้ปล้น ฆ่า ยึดทรัพย์พวกนอกศาสนาได้ ซึ่งหลักการนี้ไม่มีในพระคาภีร์
ไบเบ้ิล อีกทั้งขุนนางในสมัยนั้นต้องการยึดทรัพย์สินของพวกยิวที่ร่ารวย และ
ต้องการมีอิทธิพลในยุโรบไปจนถึงตะวันออกกลางจึงใช้ข้ออ้างของศาสนามาอ้าง
ในการทาสงครามครงั้ นี้

12

ผลของสงครามครูเสดนี้ฆ่าคนไปจานวนมากมายนับจากยิวในยุโรบไปจนถึงยิวใน
เยรูซาเร็ม และทาให้ชาวมุสลิมและคริสเตียนบาดหมางกันทั้ง ๆ ท่ีก่อนหน้าน้ีท้ัง
สองศาสนา แม้ท้ังสองจะมีความต่างกันแต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ในดินแดนแถบ
น้ัน และสงครามครูเสดทาให้ความขัดแย้งเหล่านั้นยังคงหลงเหลือมาจนถึง
ปัจจบุ นั
สงครามครเู สดคร้งั ที่ 2 (1147–1149)

ลัทธิศักดินา (Feudalism) ที่พวกครูเสดนามาใช้ในเอเชียน้อย (Asia
Minor) นี้ได้ระบาดในหมู่พวกมุสลิมเช่นกัน พวกมุสลิมชนชาติต่าง ๆ ใน
ตะวนั ออกกลางต่างก็แก่งแยง่ ถืออานาจกัน แตกออกเปน็ หลายนคร
อมิ าดดุ ดนี ซงั กี (Imaduddin Zangi) ผเู้ ป็นบุตรคนหนง่ึ ของ อัก สนุ กูร อัลฮาญบิ
ซ่ึงเป็นเจ้าเมืองฮะลับ หรืองอเลปโป (ภาษาละติน: Aleppo) ภายใต้อาณาจักร
ของ มะลิกซาห์ ใน ค.ศ. 1127 ได้เป็นอะตาเบก (เจ้านคร) แห่งโมสุล และต่อมา
1128 ก็ได้รวบรวมอเลปโปเข้าอยู่ใต้อานาจของตน โดยเขา้ ขา้ งกษตั รยิ ์แห่งสัลญูก
ซึ่งกาลังแย่งชิงเขตแดนต่าง ๆ ของจักรวรรดิอับบาซียะฮ์ ในปี ค.ศ. 1135 เขา
พยายามตีนครดามสั คัส เม่ือรวบรวมให้อย่ใู ต้อานาจ แตก่ ็ไม่สาเรจ็ ระหว่างทางที่
ถอยทัพกลับไปอเลปโป ก็ได้เข้าตีนครฮิมสฺ เพ่ือยึดมาเป็นของตน แต่ตีไม่สาเร็จ
สองปีต่อมา ซังกีย้อนกลับมาตนี ครฮิมสฺอีกครั้ง แต่ก็ไม่สาเร็จอกี เช่นกัน ทางนคร
ดามัสคัสเมื่อกลัวว่าซังกีจะยกทัพมาประชิตเมืองอีกคร้ัง ก็ได้ผูกสัมพันธไมตรีกับ
อาณาจักรเยรูซาเลมของพวกครูเสด ซังกียกทัพไปตีพวกครูเสด จนเกิดปะทะกัน
ที่บารีน ฟูล์ก เจ้าราชอาณาจักรเยรูซาเลมพ่ายแพ้ พากองทัพท่ีรอดตายหนีออก
จากนครเยรูซาเลม ซังกไี ด้ผกู สมั พนั ธไมตรกี ับนครดามัสคสั เมอ่ื เห็นวา่ ตนไมม่ ี

13

ความสามารถที่จะเอาชนะได้ ประกอบกับได้ข่าวว่า จักรพรรดิยอห์น คอมเนนุส
(John Comnenus) ได้ยึดเอานครอันติออก ที่พวกครูเสดปกครองอยู่น้ัน เข้ามา
อยู่ในอาณาจักรไบแซนไทน์ และได้ส่งกองทัพมาประชิตเมืองอเลปโปของตน
พวกครูเสดทีส่ ง่ มาโดยจกั รพรรดยิ อหน์ คอมเนนุส (John Comnenus) พวกน้ยี ึด
เมืองบุซาอะ (Buzaa) ได้ฆ่าพวกผู้ชายทั้งหมดแล้วกวาดต้อนผู้หญิงและเด็กไป
เป็นทาส
แม้ซังกีจะวางแผนการเพ่ือยึดนครดามัสคัสอีกในเวลาต่อมา ถึงขั้นกับสมรสกับ
นางซมุ รุ รดุ มารดาเจา้ นคร ดว้ ยการยกเมืองฮมิ สฺเปน็ สนิ สอด และตอ่ มาเจา้ นครก็
ถูกลอบสังหาร ซงั กกี ็ไม่อาจจะยดึ เอานครดามัสคัสเป็นของตนได้ เวลาต่อมา นคร
ดามัสคัสก็กลับไปร้ือฟ้ืนความสัมพันธ์กับพวกครูเสดอีกครั้ง และได้ร่วมกันโจมตี
กองทัพของซังกีท่ีบานิยาส ซังกีได้ยกทัพเข้าตีนครเอเดสสาท่ีอยู่ภายใต้พวกครู
เสดแตกเม่ือวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1114 จุดนี้เป็นจุดเร่ิมตน้ ของสงครามครูเสด
ครั้งท่ี 2
ซังงีถูกทาสรับใช้ของตน ซ่ึงเป็นชาวแฟรงก์ ลอบสังหารเมื่อวันที่ 5 เราะบี
อุษษานีย์ 541 ตรงกับวันที่ 14 กันยายน 1146 ซังงีมีบุตร 4 คน ล้วนเป็นคนมี
ความสามารถทั้งสิ้น ในระหว่างความยุ่งยากน้ีพวกคริสต์ในเมืองเอเดสสา คิด
กบฏฆ่าทหารมสุ ลมิ ทีร่ กั ษาเมืองและไดร้ ับความชว่ ยเหลอื จากพวกแฟรงก์ ภายใต้
การนาของโยสเซลิน (Joscellin) ยึดเมืองเอเดสสาได้ แตบ่ ุตรสองคนของซังงี ช่อื

14

นูรุดดีน มะฮฺมูด (ฝร่ังเรียก Noradius) ตีเมืองเอเดสสากลับคืนมาได้ พวกที่ก่อ
กบฏและทหารแฟรงก์ถกู ฆ่า พวกอารม์ เิ นยี นทเ่ี ปน็ ต้นคดิ กบฏถูกเนรเทศ และนู
รุดดีนส่ังให้รื้อกาแพงเมือง ผู้คนต่างหนีออกจากเมืองจนเมืองเอเดสสากลายเป็น
เมืองร้าง การสูญเสียเมืองเอเดสสาเป็นคร้ังท่ี 2 นี้ ได้ก่อให้เกิดการโฆษณาขนาน
ใหญ่ในยุโรป แบร์นาร์แห่งแกลร์โว (Bernard Clairvaux) ซ่ึงฉลาดในการพดู และ
ได้ฉายาว่า ปีเตอร์นักพรตคนท่ีสอง ได้เที่ยวเทศนาปลุกใจนักรบ ให้ร่วมกัน
ป้องกันสถานกาเนิดแห่งศาสนาคริสต์ เหตุน้ีทาให้พวกคริสเตียนตกใจกลัวยิ่งนัก
ว่า พวกสัลญูกตุรกีจะยกทัพมาตียุโรป และตนจะไม่ไดเ้ ป็นเจ้าของศาสนสถานใน
ปาเลสไตน์อีก การปลุกใจครั้งน้ีไม่เร้าใจแต่เพียงขุนนาง อัศวินและสามัญชน ซึ่ง
เป็นสว่ นในสงครามครูเสดครั้งแรกเท่าน้นั พวกกษตั รยิ ์ต่าง ๆ กพ็ ลอยนยิ มไปด้วย
พระเจ้าหลุยส์ท่ี 7 แห่งฝร่ังเศสได้ถือเอาสงครามครูเสดเป็นเครื่องเบี่ยงบ่ายการ
กระทาอันโหดร้าย ต่อพลเมืองบางพวกที่เป็นกบฏตอ่ พระองค์ กษัตริย์คอนราดที่
3 แห่งเยอรมันเข้าร่วมทัพด้วย เหตุการณ์น้ีเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1147 ข้างพระเจ้า
หลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส มีพระมเหสีร่วมไปในกองทัพด้วย ชื่ออิเลนอร์ (เอลินอร์
แห่งอากีแตน มเหสีคนนี้ต่อมาไปสมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ท่ี 2 แห่งอังกฤษ) การท่ี
ราชินีเข้าร่วมกองทัพด้วยทาให้ผู้หญิงฝรั่งเศสอีกจานวนมากอาสาเข้ากองทัพครู
เสด ซ่ึงคราวน้ันมีพลประมาณ 900,000 คน พวกฝรั่งเศสได้กระทาชู้กับหญิงใน
กองทัพอย่างเปิดเผย กองทัพของสองกษัตริย์ได้รับการต่อต้านและเสียหายอย่าง
หนัก ส่วนหนงึ่ กองทัพของกษัตริยค์ อนราดถกู ทาลายที่เมืองลาซกิ ียะ
สว่ นกองทัพของพระเจา้ หลุยสท์ ี่ 7 ทีย่ กมาทางทะเลก็ถูกโจมตยี บั เยนิ โดย

เฉพาะท่ีเมอื งกอ็ ดมสู (Babadagh ปจั จบุ นั ในตรุ กี ภาษาละติน: Cadmus)

15

อย่างไรก็ตามเนื่องจากพวกครูเสดมีกาลังพลมาก จึงเหลือรอดมาถึงเมืองอันติ
ออก ซ่ึงเวลานั้นพวกขุนนางและอัศวินจานวนมากพักอยู่ในเมืองอันติออก ซ่ึง
เวลานั้นเรย์มอง ผู้เป็นลุงของราชินีอีเลนอร์ เป็นผู้ปกครองเวลาน้ันพวกขุนนาง
และอัศวนิ จานวนมากพกั อยู่ในเมืองอันติออกเชน่ เคาน์เตสแห่งบัวส์ (Countess
of Blois) เคาน์เตสแห่งรูสสี ( Countess of Roussi) ดัชเชสแห่งบุยยอง
(Duchess of Bouillon) Sybille แห่งแฟลนเดอร์ส และสตรีของผู้สูงศักด์ิอื่น ๆ
อีก แต่จอมราชินีของพวกเขา คือมเหสีของพระเจ้าหลุยส์ท่ี 7 เมื่อพักผ่อนและ
สนุกสนานกับพวกผู้หญิงเพียงพอแล้ว พวกครูเสดก็ยกทัพเข้าล้อมเมืองดามัสคัส
แต่ไม่สาเร็จ เพราะนูรุดดีน และสัยฟดุ ดีน อัลฆอซี บุตรทั้งสองของซังกี ไดย้ กทัพ
มาชว่ ย ท้งั กษตั รยิ ์คอนราดแห่งเยอรมนแี ละพระเจ้าหลยุ สท์ ี่ 7 แห่งฝรง่ั เศสได้เลิก
ทัพกลับยุโรป พวกครูเสดต้องล่าทัพกลับบ้านเมืองด้วยความผิดหวังและสูญเสีย
อยา่ งหนกั สว่ นพวกครเู สดทีม่ าจากพวกยโุ รปเหนอื ก็ได้เคลอื่ นทัพจนถงึ โปรตเุ กส
แล้วได้ร่วมมือกับกษัตริย์อัลฟอนโซ เพ่ือโจมตีนครลิสบอน และขับไล่พวกมุสลิม
ออกจากนครน้ีในปี 1147 กองทัพครูเสดจากเยอรมันได้เข้าไปโจมตีพวกสลาฟท่ี
อยรู่ อบอาณาเขตอาณาจักรเยอรมนั
สงครามครูเสดคร้งั ที่ 3 (1187–1192)

ศอลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย์ ได้ตีเอานครเยรูซาเลมกลับคืนมาเป็นของพวก
มุสลิมอีกครั้งในปี 1187 เมื่อศอลาฮุดดีนได้ข่าวพวกแฟรงก์ยกทัพมา จึงประชุม
นายทัพโดยให้ความเห็นว่าจะโจมตีพวกน้ีขณะเดินทัพอยู่ แต่พวกนายพลว่าให้ตี
เม่ือมาถึงชานเมืองอักกะ (Acre) พวกครูเสดได้ต้ังทัพล้อมเมืองนี้ไว้ และปีกข้าง
หนึง่ จดทะเล ทาให้สามารถรบั เสบยี งจากยุโรปได้สะดวก ถ้าศอลาฮดุ ดีนได้เรม่ิ

16

โจมตีพวกน้ีขณะเดินทาง ก็คงไม่ประสบสถาณะคับขันเช่นน้ี พวกตุรกีจากเมือง
ใกล้ ๆ ก็ยกทัพมาช่วย และในวันท่ี 1 ชะอฺบาน 585 (14 กันยายน 1189) ศอลา
ฮุดดีนได้เร่ิมโจมตีพวกครูเสด หลานชายของท่านคนหน่ึงช่ือ ตะกียุดดีน ได้แสดง
ความกล้าหาญมากในการรบ ตอนน้ีทหารศอลาฮุดดนี มีกาลงั น้อยกว่าพวกครุเสด
มาก เพราะต้องกระจายกาลังป้องกันเมืองหน้าด่านต่าง ๆ เช่นที่ยืนยันเขตแดน
ติดเมืองตริโปลี เอเดสสา อันติออก อเล็กซานเดรีย ฯลฯ ในรอบนอกเมืองอักกา
นั้น พวกครูเสดถูกฆ่าราว 10,000 คน ได้เกิดโรคระบาดขึ้นเพราะด้วยศพทหาร
เหล่าน้ี เนื่องจากติดพันอยู่การสงคราม ไม่สามารถรักษาท่ีรบให้สะอาดได้ ศอลา
ฮุดดีนเองได้รับโรคระบาดน้ีด้วย แพทย์แนะนาให้ถอนทหารและได้ยกทัพไปต้ัง
มั่นอยู่ท่ี อัลคอรรูบะหฺ พวกครูเสดจึงยกทัพเข้าเมืองอักกาและเริ่มขุดคูรอบตัว
เมือง ศอลาฮุดดีนได้มีหนังสือไปยังสุลฎอนของมอร็อคโคให้ยกทัพมาสมทบช่วย
แต่พวกนี้ได้ปฏิเสธ ในฤดูใบไม้ผลิศอลาฮุดดีนได้ยกทัพมาโจมตีเมืองอักกาอีก
พวกครูเสดไดเ้ สริมกาลังมั่นและสร้างหอคอยหลายแห่ง แตท่ ้ังหมดถูกกองทัพศอ
ลาฮุดดีนยิงด้วยด้วยลูกไฟ เกิดไฟไหม้ทาลายหมด ตอนน้ีกาลังสมทบจากอียิปต์
มาถึงทางเรือและกาลังการรบจากที่อ่ืนมาด้วย พวกแฟรงก์เสียกาลังการรบทาง
แก่อียิปต์อย่างยับเยิน พวกครูเสดถูกฆ่าและเสียกาลังทัพมาก แต่ในปลายเดือน
กรกฎาคม 1190 เคานต์เฮนรี่แห่งแชมเปญ ผู้มีสายสัมพันธ์กับพระเจ้าแผ่นดิน
ฝร่ังเศสไดย้ กทัพหนุนมาถึง ศอลาฮุดดีนได้ถอยทัพไปต้ังม่ันที่อัลคอรรูบะหฺอกี ได้
ท้ิงกองทหารย่อย ๆ ไว้ ซึ่งไดต้ ่อสู้พวกครูเสดอย่างกล้าหาญ ตอนนี้พวกครูเสดไม่
สามารถคืบหน้าได้ จึงจดหมายไปยังพระสันตะปาปาขอให้จัดทัพหนุนมาช่วย
พวกคริสเตยี นไดห้ ล่ังไหลกลบั มาสมทบพวกครูเสดอกี ครั้ง เพราะถอื วา่ การรบ

17

"พวกนอกศาสนา" ครั้งนี้ทาให้ตนถูกเว้นบาปกรรมท้ังหมดและได้ข้ึนสวรรค์ ศอ
ลาฮุดดีนจัดทัพรับมือพวกนี้อย่างเต็มที่ ให้ลูกชายของตนช่ือ อะลีย์ อุษมาน
และฆอซี อยู่กลางทัพ ส่วนปีกทางขวาให้น้องชายช่ือสัยฟุดดีนเป็นแม่ทัพ
ทางซ้ายให้เจ้านครต่าง ๆ คุม แตใ่ นวันประจัญบานกันนั้นตัวศอลาฮุดดนี เองป่วย
จึงได้เฝ้าดูการสู้รบจากยอดเขาแห่งหนึ่ง พวกครูเสดถูกตพี ่ายตกทะเลไดร้ ับความ
เสียหายอย่างหนัก พวกน้ีเริ่มขาดแคลนอาหารและโดยที่ฤดูหนาวย่างเข้ามา จึง
พักการรบ เม่ือถึงต้นฤดูใบไม้ผลิ คือเดือนเมษายน 1191 พวกครูเสดได้รับทัพ
หนุนเพ่ิมขึ้นอีก โดยพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสได้ยกทัพมา พร้อมกันน้ันพระเจ้าริ
ชาร์ดใจสิงห์แห่งอังกฤษก็ยกทัพมาอีกด้วย มีเรือรบมา 20 ลา เต็มไปด้วยทหาร
และกระสุนกาลังหนุนของศอลาฮุดดีนมาไม่พร้อม ทหารมุสลิมในเมืองอักกามี
กาลังน้อยกว่าจึงขอยอมแพ้พวกครูเสด โดยแม่ทัพมุสลิมมีนคนหนึ่งชื่อ มัชตูบ ผู้
คุมกาลังป้องกันอกั กาได้อุทรต่อพระเจ้าแผ่นดนิ ฝร่ังเศสแตถ่ ูกปฏิเสธเว้นแต่ พวก
มุสลมิ จะยอมยกเมอื งเยรูซาเลมให้ พวกมุสลิมจึงกลับสรู้ บอีกจนสุดชวี ิต ขณะการ
ล้อมเมืองและการสู้รบอยู่เป็นเช่นนี้ได้เกิดโรคระบาดเกิดข้ึน ในที่สุดมีเงื่อนไขว่า
พวกมสุ ลมิ จะต้องคนื ไม้กางเขน(ดงั้ เดมิ สมัยพระเยซ)ู และต้องเสยี คา่ ปรบั เป็นทอง
200,000 แท่ง แต่เน่ืองจากต้องเสียเวลาหาทองจานวนเท่าน้ี กษัตริย์ริชาร์ดใจ
สิงห์แห่งอังกฤษ ผู้ที่นักประวัติศาสตร์เคยยกย่องและช่ืนชมกันน้ันได้จับทหาร
มุสลิมจานวน 27,000 คน ออกจากเมืองและสับต่อหน้าต่อตาคนท้ังหลาย เมือง
อักกาตกอยู่ในมือพวกครูเสดที่บ้าศาสนาเหล่านี้ ส่วนทัพศอลาฮุดดีนต้องถอยทัพ
ไปตงั้ ทอี่ น่ื เพราะกาลังน้อยกว่าและกาลงั หนนุ ไม่มพี อ ตอนหน่ึงมีเรอื จากอียิปต์

18

ลาเลียงเสบียงมาช่วย แตเ่ กอื บถกู ครูเสดยึดได้ นายเรือจึงสัง่ ใหจ้ มเรือพร้อมท้งั คน
ในเรือท้ังหมด กองทัพครูเสดภายใต้การนาของพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์ได้บุกไป
ยังอัสก็อลาน (ภาษาละติน: Ascolon) ศอลาฮุดดีนไดย้ กกองทัพไปยันไว้ได้มีการ
รบกันอย่างกล้าหาญถึง 11 ครั้ง ในการรบที่อัรสูฟ ศอลาฮุดดีนเสียทหารราว
8,000 คน ซ่ึงเป็นทหารช้ันดีและพวกกล้าตาย เม่ือเห็นว่าอ่อนกาลังป้องกัน
ปาเลสไตนไ์ มไ่ ด้ จึงยกทพั ไปยงั อัสกอ็ อลาน อพยพผู้คนออกหมดแลว้ ร้อื อาคารท้ิง
เมื่อพระเจ้าริชาร์ดมาถึง ก็เห็นแต่เมืองร้าง จึงทาสัญญาสงบศึกด้วย โดยได้ส่ง
ทหารไปพบน้องชายศอลาฮุดดีนช่อื สัยฟดุ ดนี (ภาษาละติน: Saphadin) ท้ังสอง
ได้พบกัน ลูกของเจ้านครครูเสดคนหน่ึงเป็นล่าม พระเจ้าริชาร์ดจึงให้บอกความ
ประสงค์ท่ีอยากให้ทาสัญญาสงบศึก พร้อมท้ังบอกเงื่อนไขด้วย ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่
ฝา่ ยมุสลิมยอมรบั ไมไ่ ด้ การพบกนั ครัง้ น้ันไมไ่ ดผ้ ล ฝา่ ยมารค์ วสิ แหง่ มองเฟอร์รดั ผู้
ร่วมมาในกองทัพด้วยเห็นว่าการทาสัญญาโอ้เอ้ จึงส่งสารถึงศอลาฮุดดีน โดยระบุ
เงื่อนไขบางอย่าง แต่สัญญาน้ีไม่เป็นผลเช่นกัน ต่อมาพระเจ้าริชาร์ดขอพบศอลา
ฮุดดีนและเจรจาเร่ืองสัญญาสงบศึกอีก โดยเสนอเงื่อนไขว่า พวกครูเสดต้องมี
สิทธิครอบครองเมืองต่าง ๆ ที่ได้ตีไว้ และฝ่ายมุสลิมต้องคืนเยรูซาเลมให้พวกครู
เสด พร้อมกับไม้กางเขนท่ีทาดว้ ยไม้ ซ่ึงพวกเขาเช่อื ว่าเป็นไม้ท่ีพระเยซูถกู พวกยิว
ตรึงทรมานดว้ ย ศอลาฮุดดีนปฏิเสธท่ีจะยกเมืองเยรูซาเลมให้พวกครูเสด แต่ยอม
ในเร่ืองให้เอาไม้กางเขนท่ีกล่าวในเงื่อนไขที่ว่า พวกครูเสดต้องปฏิบัติตามสัญญา
ของตนอย่างเคร่งครัด การเจรจาน้ีก็ไม่เป็นผลอีกเช่นกัน พระเจ้าริชาร์ดจึงหันไป
เจรจากับสัยฟุดดีนใหม่โดยให้ความเห็นว่าการเจรจาน้ี จะเปน็ ผลบงั คับเม่ือศอลา
ฮุดดนี ยนิ ยอมดว้ ยในปั้นปลาย เงอ่ื นไขมีว่า กษตั รยิ ร์ ชิ ารด์ ยินดียกนอ้ งสาวของ

19

เขาผู้เป็นแม่หม้าย (แต่เดิมเป็นมเหสีของกษัตริย์ครองเกาะซิซิลี) ให้แก่สัยฟุดดีน
(น้องชายศอลาฮุดดีน) ของหมั้นในการสมรสนี้คือ กษัตริย์ริชาร์ดจะยกเมืองท่ี
พระองค์ตไี ด้ ตามชายทะเลให้น้องสาวของตน และศอลาฮุดดีนกต็ ้องยกเมืองตา่ ง
ๆ ทีย่ ดึ ได้ให้ น้องชายเป็นการทาขวญั เชน่ กัน ใหถ้ อื เมอื งเยรซู าเลมเปน็ เมืองกลาง
ยกให้แก่คู่บ่าวสาวนี้ และศาสนิกของทั้งสองฝ่ายมีสิทธิ์ท่ีจะไปมาพานัก อยู่ใน
เมืองนี้อย่างเสรี บ้านเมืองและอาคารทางศาสนาที่ปรักหักพัง ต่างช่วยกัน
ซ่อมแซม ศอลาฮดุ ดีนยอมตามเงอ่ื นไขน้ี แตส่ ัญญาก็ไมเ่ ปน็ ผลอีก เพราะพวกพระ
ในศาสนาคริสต์ไม่ยอมให้พวกคริสเตยี นยกลกู สาว น้องสาว หรือผู้หญิงฝา่ ยตนไป
แต่งงานกับมุสลิมผู้ที่พวกเขาถือว่าเป็น “พวกนอกศาสนา” พวกบาทหลวงได้
ชุมนุมกันที่จะขับพระเจ้าริชาร์ดออกจากศาสนาคริสต์ให้ตกเป็นคน นอกศาสนา
ไปด้วย และได้ขู่เข็ญน้องสาวของพระองค์ต่าง ๆ นานา กษัตริย์ริชาร์ดจึงได้เข้า
พบสัยฟุดดีนอีก ขอให้เปล่ียนจากการนับถืออิสลามมาเป็นคริสเตียน แต่สัยฟุด
ดีนปฏิเสธ ในขณะเดยี วกันกษัตริย์ริชาร์ดเกิดการราคาญการแทรกแซงของมาร์ค
วิสแห่งมองเฟอร์รัด จึงจ้างให้ชาวพ้ืนเมืองลอบฆ่า เม่ือเรื่องมาถึงเช่นน้ี กษัตริย์ริ
ชาร์ดก็ท้อใจอยากยกทัพกลับบ้าน เพราะตีเอาเยรูซาเลมไม่ได้ ได้เสนอเงื่อนไขท่ี
จะทาสัญญาสงบศึกกับศอลาฮุดดีนไม่ยอมต่อเง่ือนไขบางข้อ เพราะบางเมืองที่
กล่าวน้ันมีความสาคัญตอ่ การปอ้ งกันอาณาจักรอย่างย่ิง ไม่สามารถปล่อยใหห้ ลดุ
มือไปได้ แต่ความพยายามของนักรบท้ังสองน้ียังคงมีต่อไป จนในท่ีสุดเมื่อวันท่ี
22 ชะอฺบาน 588 (2 กันยายน 1192) ท้ังสองฝ่ายได้ทาสัญญาสงบศึกเป็นการ
ถาวรและกษัตรยิ ์รชิ ารด์ ได้ยกทพั กลับบา้ นเมอื ง เขายกทพั ผา่ นทางตะวันออกของ

20

ยโุ รปโดยปลอมตัว แต่กลับถูกพวกเป็นครสิ เตยี นจับไว้ไดค้ มุ ขงั ไว้ ทางองั กฤษต้อง
ส่งเงินจานวนมากเพื่อไถ่ตัวเขา สงครามครูเสดคร้ังที่ 3 ก็ยุติลงเพียงนี้ ด้วยการ
สูญเสียชีวิตมนุษย์นับแสน ผู้คนนับล้านไร้ที่อยู่ บ้านเมืองถูกทาลาย หลังจากน้ัน
ศอลาฮุดดีนไดย้ กทหารกองเล็ก ๆ ไปตรวจตามเมืองชายฝ่ัง และซ่อมแซมสถานท่ี
ต่าง ๆ และไดก้ ลบั มาพักท่ีดามสั คสั พรอ้ มครอบครัว จนกระทั่งทา่ นได้ถงึ แก่กรรม
เมื่อวันที่ 27 ศอฟัร 589 (4 มีนาคม 1193) มีอายุเพยี ง 55 ปี
สงครามครูเสดครงั้ ท่ี 4 (1202-1204)

เป็นสงครามครูเสด ครั้งที่สี่ที่เร่ิมขึ้นในปี ค.ศ. 1202 และส้ินสุดลงใน
ปี ค.ศ. 1204 จุดประสงคแ์ รกของสงครามก็เพ่ือยึดเยรซู าเลมคนื จากมุสลมิ แต่ใน
เดือนเมษายน ค.ศ. 1204 นักรบครูเสดจากยุโรปตะวันตกก็เข้ารุกรานและยึด
เมืองคอนสแตนติโนเปิลที่เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ของอีสเติร์
นออร์โธด็อกซ์แทนที่ ซึ่งถือกันว่าเป็นวิกฤติการณ์สุดท้ายท่ีทาให้เกิดความ
แตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก (East-West Schism)
ระหว่างอีสเติรน์ ออร์โธดอ็ กซ์ และ โรมนั คาทอลกิ
สงครามครเู สดครั้งที่ 5 (1217- 1221)

เป็นสงครามครูเสด ที่พยายามยึดเยรูซาเลมและดินแดนศักดิ์สิทธ์ิท้ังหมด
คืนโดยเริ่มด้วยการโจมตีรัฐมหาอานาจของอัยยูบิดในอียิปต์ สมเด็จพระ
สันตะปาปาโฮโนริอุสท่ี 3 ทรงรวบรวมกองทัพครูเสดโดยการนาของเลโอโปลด์ที่
4 ดยุคแห่งออสเตรีย (Leopold VI, Duke of Austria) และ สมเด็จพระเจ้า
แอนดรวู ์ที่ 2 แหง่ ฮังการี ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1218 กองทัพเยอรมนีท่ีนาโดยโอลิเวอร์
แห่งโคโลญและกองกาลงั หลายชาติที่ประกอบดว้ ยกองทพั ชาวเนเธอร์แลนด,์

21

เฟลมมิช และฟรีเชียนที่นาโดยวิลเลียมท่ี 1 เคานท์แห่งฮอลแลนด์ (William I,
Count of Holland) ก็มาร่วม ในการที่จะโจมตีดามิยัตตาในอียิปต์ฝ่ายครูเสดก็
ไปเปน็ พนั ธมิตรกับอาณาจักรสลุ ต่านแห่งรัมในอานาโตเลียผโู้ จมตีอยั ยูบดิ ในซีเรยี
เพื่อที่ป้องกันไม่ให้นักรบครูเสดต้องเผชิญกับการต่อสู้กับศัตรูพร้อมกันสองด้าน
หลังจากยึดเมืองท่าดามิเอตตาได้แล้วนักรบครูเสดก็เดินทัพลงใต้ต่อไปยังไคโรใน
เดือนกรกฎาคมในปี ค.ศ. 1221 แตต่ ้องหันทัพกลับเพราะเสบยี งรอ่ ยหรอลง การ
จู่โจมยามกลางคืนของสุลตา่ นอัล-คามิลทาให้ฝ่าย ครูเสดเสียทหารไปเปน็ จานวน
มาก อลั -คามลิ ตกลงในสัญญาสงบศึกแปดปีกับยุโรป ในปี ค.ศ. 1213 สมเดจ็ พระ
สันตะปาปาอินโนเซนต์ท่ี 3 ทรงออกพระบัญญัติ “Quia maior” เรียกร้องให้
ผู้คนในคริสต์ศาสนจักรเข้าร่วมในสงครามครูเสด แต่ก็ไม่มีพระมหากษัตริย์และ
พระจักรพรรดขิ องยุโรปใด้ที่สนพระทัยเพราะมัวแตย่ ุ่งอยู่กับการต่อสู้กันเอง พระ
สันตะปาปาอินโนเซนต์เองก็ไม่ทรงต้องการความช่วยเหลือจากกลุ่มนี้เพราะเมื่อ
พระมหากษัตริย์นาการต่อสู้ในสงครามครูเสดคร้ังท่ี 2 ก็ประสบความล้มเหลว
พระองค์จึงทรงส่ังให้มีขบวนแห่, การสวดมนต์ และการเทศนาเพ่ือเป็นการ
ชักชวนให้คนท่วั ไป ขนุ นางระดบั รอง และอัศวนิ เข้ารว่ ม
สงครามครูเสดครงั้ ท่ี 6 (1228-1229)

สงครามครูเสด คร้ังน้ีเร่ิมขึ้นเพียงเจ็ดปีหลังจากความล้มเหลวของ
สงครามครูเสดครั้งที่ 5 สมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชท่ี 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธ์ิ
ทรงมีส่วนบทบาทเก่ียวข้องเป็นอันมากใน โดยการทรงส่งกองทัพจากเยอรมนีแต่
พระองค์มิได้ทรงเข้าร่วมในการยุทธการโดยตรงแม้ว่าจะทรงได้รับการหว่านล้อม
จากสมเด็จพระสนั ตะปาปาโฮโนรอิ ุสที่ 3 และต่อมาสมเด็จพระสนั ตะปาปาเก

22

รกอรีท่ี 9 ก็ตาม เพราะทรงต้องจัดการปัญหาภายในในเยอรมนี และ อิตาลีให้
เรียบร้อย เสียก่อนที่จะเข้าร่วมในสงครามครูเสด และทรงให้คาสัญญาว่าจะเข้า
ร่วมในสงครามหลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิโดยพระ
สันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3 ในปี ค.ศ. 1220 เสียก่อน ในปี ค.ศ. 1225 พระ
จักรพรรดิฟรีดริชก็ทรงเสกสมรสกับโยลันเดอแห่งเยรูซาเลม (หรืออิสซาเบลลา)
พระธดิ าของจอหน์ แห่งบริแอนน์ (John of Brienne) กษัตรยิ แ์ ต่เพียงในนามของ
ราชอาณาจักรเยรูซาเลม และ มาเรียแห่งมอนต์เฟอร์รัต จักรพรรดฟิ รีดริชจึงทรง
มีสิทธิในการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์เยรูซาเลมที่ยังเหลืออยู่ซ่ึงเป็นเหตุผลในการ
พยายามกู้เยรูซาเลมคืน ในปี ค.ศ. 1227 หลังจากเกรกอรีท่ี 9ได้เป็นพระ
สันตะปาปา จักรพรรดิฟรีดริชและกองทัพของพระองค์ก็เดินทางโดยเรือจากบ
รินดิซิไปยังอัคโคแต่โรคระบาดท่ีเกิดขึ้นทาให้พระองค์จาต้องเดินทางกลับ
อิตาลี พระสันตะปาปาเกรกอรีท่ี 9 จึงทรงประกาศคว่าบาตรเพราะจักรพรรดิ
ฟรีดริชทรงบิดพร้ิวสัญญาในการเข้าร่วมสงครามครูเสด ซึ่งก็เป็นเพียงข้ออ้าง
เพราะจักรพรรดิฟรีดริชทรงพยายามรวบรวมอานาจของพระองค์ในอิตาลีโดย
การลิดรอนอานาจของพระสันตะปาปามาเป็นเวลาหลายปกี อ่ นหน้าน้นั แลว้
พระสันตะปาปาเกรกอรีทรงกล่าวว่าเหตุผลในการทาการคว่าบาตรเป็นเพราะ

จักรพรรดิฟรีดริชไม่ทรงเต็มพระทัยในการเข้าร่วมสงครามครูเสดมาต้ังแต่

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 5แล้ว พระสันตะปาปาเกรกอรีการคว่าบาตรเป็นเพียง

ข้ออ้างเพราะความกลัวในความทะเยอทะยานของจักรพรรดิฟรีดริชในการขยาย

อานาจของพระองคใ์ นคาบสมุทรอติ าลี จกั รพรรดฟิ รีดรชิ ทรงพยายามเจรจา

23

ต่อรองกับพระสันตะปาปาเกรกอรีแต่ในท่ีสุดก็ทรงหันหลังให้ และทรงนาทัพไป
ยังซีเรีย ในปี ค.ศ. 1228 แม้ว่าจะยังทรงถูกคว่าบาตรก็ตามและเสด็จถึงอัคโคใน
เดอื นกนั ยายน
สงครามครูเสดครัง้ ท่ี 7 (1248 – 1254)

เป็นการทัพครูเสด ท่ีฝ่ายคริสต์ นาทัพโดยพระเจ้าหลุยส์ท่ี 9 แห่ง
ฝร่ังเศส รบกับสุลต่านแห่งราชวงศ์อัยยูบีย์ อัสซาลิห์ อัยยูบ์ ภายหลังการ
สนธิสัญญาระหว่างจักรพรรดิเฟรดเดอริคที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอัน
ศักด์ิสิทธิ์ กับอัล-คามิล สุลต่านแห่งอัยยูบีย์ในครั้งนั้น เยรูซาเล็มก็ถูกชาวมุสลิม
ยึดกลบั ไปอีก ในเวลานั้นเปน็ สมัยของสมเดจ็ พระสันตะปาปาอินโนเซนตท์ ่ี 4 ทรง
เรียกร้องให้จัดตั้งกองทัพครูเสด เพื่อยึดเยรูซาเล็มกลับคืนอีกครั้ง มีเพียงพระเจ้า
หลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส พระองค์เดียวเท่าน้ันท่ีอาสาออกรบ ทั้งที่เพ่ิงจะเสร็จสิ้น
สงครามที่ยืดเย้ือกับอังกฤษมายาวนาน และยังติดภารกิจออกปราบปรามเขต
แดนท่ีกระด้างกระเด่ืองทางตอนใต้ของฝร่ังเศส พระองค์จึงขอยืดเวลาออกไปอีก
ระยะหน่ึงจนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1249 พระองค์เลือกนาทพั ออกจากเมอื งท่าท่เี พิง่ เปิด
ขึ้นใหม่ทางใต้ฝร่ังเศส แทนท่ีจะเป็นเจนัวหรือเวนิส แต่ก็วางเป้าหมายไว้ท่ีอียิปต์
และยึดเมืองท่าดาเมียตตา หลังจากที่ยึดดาเมียตตาไดแ้ ล้ว หลุยส์ท่ี 9 ก็นาทัพมุ่ง
หน้าสู่ไคโร ช่วงนั้นอียิปต์ ปกครองโดยสุลต่านตุรันชา กองทัพครูเสด ออก
เดินทางสู่ไคโรในปี ค.ศ. 1250 แต่ยังไม่ทันถึงไคโร ก็ถูกโจมตีโดยทัพมุสลิมนา
โดยไบบาร์ส ขุนพลชาวมุสลิมที่มันซูระ กองทัพของหลุยส์ที่ 9 พ่ายแพ้ สูญเสีย
นกั รบเกอื บทง้ั หมด ระหวา่ งทางทห่ี ลยุ ส์ ท่ี 9 กาลงั ลา่ ถอยทพั กลบั ดาเมยี ตตา

24

พระองค์ถูกดักจับและนาไปควบคุมไว้ที่ไคโรในฐานะตัวประกันโดยฝ่ายมุสลิมได้
ตดิ ต่อไปยงั ฝร่ังเศส เพอื่ ขอเงนิ ค่าไถ่เพ่ือแลกกับการปล่อยพระองค์กลบั บา้ น
หลังจากความพ่ายแพ้ กองทัพครูเสดก็แตกกระสานซ่านเซ็นหนีเอาตัวรอด
หลังจากฝร่ังเศสยินยอมจ่ายค่าประกันเป็นจานวน 800,000 เหรียญทอง ฝ่าย
มุสลิมจึงยอมปล่อยหลุยส์ ท่ี 9 เป็นอิสระ แต่พระองค์ก็ไม่ยอมกลับบ้าน ยังคง
ท่องเท่ียวอย่ใู นดินแดนศักดิ์สิทธติ์ ่อไป อยู่ในซเี รยี นานถึง 4 ปี ช่วงเวลานนั้ หลุยส์
ท่ี 9 พยายามสรา้ งปราการต่าง ๆ ในซีเรยี ใหแ้ ข็งแกรง่ กว่าเดิมและจัดเตรียมอาวธุ
จัดเตรียมกาลังพลโดยรับสมัครผู้อาสามาเป็นทหารนามาฝึกรบให้เข้มแข็งขึ้น
เพราะพระองค์หวงั ว่าจะเข้าทาศึกกอบกู้เยรูซาเล็มอีกครั้งให้สาเร็จจนได้ จนกระ
ทั้งปี ค.ศ. 1254 พระองค์จงึ ได้คดิ เดินทางกลบั ฝรง่ั เศส
สงครามครเู สดครั้งท่ี 8 (1270)

สงครามครเู สด ครั้งนเี้ ริม่ ขน้ึ โดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แหง่ ฝรัง่ เศส ในปี ค.ศ.
1270 บางครั้ง “สงครามครูเสดครั้งที่ 8” ก็นับเป็นครั้งที่เจ็ด ถ้ารวมสงครามครู
เสดครั้งที่ 5 และ คร้ังที่ 6 ของสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอัน
ศักดิ์สิทธ์ิเข้าเป็นครั้งเดียวกัน และสงครามครูเสดครั้งที่ 9 ก็นับเป็นครั้งเดียวกับ
คร้ังที่ 8 พระเจ้าหลุยส์ทรงพระราชวิตกถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในซีเรียเมื่อสุลต่าน
มามลุคไบบาร์เข้าโจมตีอาณาจักรครูเสดที่ยังเหลืออยู่ ไบบาร์ฉวยโอกาสหลังจาก
ท่ีสาธารณรัฐเวนิส และ สาธารณรฐั เจนัวต่อสู้กนั ในสงครามระหวา่ งปี ค.ศ. 1256
ถึงปี ค.ศ. 1260 ในการโจมตีเมืองท่าในซีเรียท่ีท้ังสองสาธารณรัฐควบคุม เม่ือ
มาถึงปี ค.ศ. 1265 ไบบาร์ก็ยึดนาซาเร็ธ, ไฮฟา, โตรอน และ อาร์ซุฟ ได้ พระเจ้า
ฮวิ จท์ ี่ 3 แห่งไซปรสั พระมหากษัตริย์ในนามแหง่ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมขึน้ ฝง่ั

25

ที่อัคโคเพื่อรักษาเมืองขณะที่ไบเบอร์เดินทัพขึ้นไปทางเหนือถึง อาร์มีเนีย ซึ่ง
ขณะนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมของมองโกล เหตุการณ์เหล่าน้ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้
พระเจ้าหลุยส์ทีร่ วบรวมกองกาลงั เพอื่ เขา้ ร่วมในสงครามครูเสดครั้งใหม่ในปี ค.ศ.
1267 แม้ว่าจะไม่มีผู้สนับสนุนเท่าใดนัก นักพงศาวดารฌอนเดอฌวนวิลล์ (Jean
de Joinville) ผ้ตู ดิ ตามพระเจา้ หลยุ สไ์ ปในสงครามครเู สดครงั้ ท่ี 7 ไมย่ อมติดตาม
ไปด้วย พระอนุชาชาร์ลสแ์ หง่ อองชทู รงหวา่ นล้อมใหพ้ ระเจ้าหลุยส์โจมตีตนู สิ ก่อน
เพื่อจะใช้เป็นฐานท่ีม่ันในการเข้าโจมตีอียิปต์ จุดประสงค์ของพระเจ้าหลุยส์ใน
การทาสงครามคร้ังก่อนหน้านั้น (ครั้งที่ 6) และในครั้งที่ 5ก่อนรัชสมัยของ
พระองค์ต่างก็พ่ายแพ้ท่ีนั่น ชาร์ลส์ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งซิซิลีมีพระ
ประสงค์ส่วนพระองค์ในการขยายอานาจในเมดิเตอเรเนียน กาหลิปแห่ง
ตนู ิส Muhammad I al-Mustansirเองกท็ รงมีความสัมพนั ธก์ ับครสิ เตยี นในสเปน
และถือว่าเป็นผู้ที่จะง่ายต่อการชักชวนให้มานับถือคริสต์ศาสนา ในเดือน
กรกฎาคมปี ค.ศ. 1270 พระเจ้าหลุยส์ก็ทรงข้ึนฝ่ังแอฟริกา แต่กองทัพก็ล้มเจ็บ
กันเป็นแถวเพราะน้าดื่มท่ีไม่สะอาด จอห์น ซอร์โรว์พระราชโอรสที่เกิดที่ดามิเอต
ตาก็มาสิ้นพระชนม์เมื่อวันท่ี 3 สิงหาคม และเมื่อวันท่ี 25 สิงหาคม พระเจ้า
หลุยส์เองก็เสด็จสวรรคตด้วย “flux in the stomach” หน่ึงวันหลังจากที่พระ
อนุชาเสด็จมาถึง พระวจนะสุดท้ายคือ “เยรูซาเลม” ชาร์ลส์จึงประกาศให้ฟิลิ
ปพระราชโอรสของพระเจ้าหลุยส์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของฝร่ังเศส แต่ฟิ
ลิปยังทรงพระเยาวช์ าร์ลส์จึงกลายเป็นผู้นาของสงครามครูเสด แตก่ องทหารก็ยัง
ถกู บ่นั ทอนดว้ ยโรครา้ ยซ่งึ ทาใหก้ ารลอ้ มเมอื งตูนิสตอ้ งยตุ ิลงเม่ือวันท่ี 30 ตลุ าคม

26

โดยการตกลงกับสุลต่าน ในข้อตกลงนี้ฝ่ายคริสเตียนสามารถทาการค้าขายอย่าง
เสรีกับตูนิสได้ และท่ีพานักสาหรับนักบวชในเมืองก็ได้รับการการันตี ฉะน้ัน
สงครามครูเสดครั้งนจ้ี ึงถอื วา่ ไดร้ บั ความสาเร็จอยบู่ ้าง หลงั จากได้รบั ข่าวการเสดจ็
สวรรคตของพระเจ้าหลุยส์แลว้ สุลต่านมามลุคไบบาร์แหง่ อียิปต์ก็ยกเลิกแผนท่ีจะ
ส่งกองทัพอียิปต์ไปต่อสู้กับพระเจ้าหลุยส์ในตูนิสขณะเดียวกันชาร์ลส์ก็ไปเป็น
พันธมิตรกับเจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษผู้เพ่ิงเสด็จมาถึง เม่ือชาร์ลส์ยกเลิกการ
โจมตีตูนิส เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดก็ตัดสินใจเดินทางต่อไปยังอัคโคที่เป็นท่ีมั่นครูเสด
สุดท้ายในซีเรียด้วยพระองค์เอง ช่วงระยะเวลาจากนั้นถือว่าเป็นช่วงเวลาของ
สงครามครูเสดครง้ั ท่ี 9
สงครามครเู สดครง้ั ที่ 9

เป็นหน่ึงในสงครามครูเสด และเป็นสงครามครูเสดครั้งสุดท้าย ท่ีเกิดขึ้น
ระหว่างปี ค.ศ. 1271 – ค.ศ. 1272 เป็นสงครามที่ต่อสู้กันในตะวันออกใกล้
ระหว่างฝ่ายผู้นับถือคริสต์ศาสนาและฝ่ายผู้นับถือศาสนาอิสลาม ในสงครามคร้ัง
น้ีฝ่ายมุสลิมเป็นฝ่ายท่ีได้รับชัยชนะ ที่เป็นผลทาให้สงครามครูเสดยุติลงในที่สุด
และอาณาจักรครูเสดต่างๆ ในบริเวณลว้านก็สลายตัวไป ทางฝ่ายคริสเตียนมี
กาลังคนท้ังสิ้นประมาณ 60,000 คน โดยมีผู้นาที่รวมทั้ง สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี
1 แห่งเนเปิลส์, สมเด็จพระเจ้าฮิวจ์ที่ 3 แห่งไซปรัส, เจ้าชายเอ็ดเวริ ์ดแห่งอังกฤษ
, โบฮีมอนด์ที่ 6 แห่งอันติโอค, อบาคา ข่านแห่งมองโกล และ สมเด็จพระเจ้า
ชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย ทางฝ่ายมุสลิมมีกาลังคนที่ไม่ทราบจานวน โดยมีไบ
บารส์ เปน็ ผู้นา

27

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 9 บางครั้งก็รวมกับสงครามครูเสดครั้งที่ 8 ถือกันว่าเป็น
สงครามครูเสดคร้ังสุดท้าย และเป็นสงครามใหญ่สงครามสุดท้ายของยุคกลางใน
การทีฝ่ า่ ยครสิ เตยี นพยายามยดึ ครองดินแดนศกั ด์สิ ิทธิ์
เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝร่ังเศสไม่ทรงสามารถยึดตูนิสได้ในสงครามครูเสด
คร้ังท่ี 8 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษก็เสด็จไปเอเคอร์ เพ่ือเข้าร่วมในสงครามครู
เสดครั้งท่ี 9 แต่เป็นสงครามที่ทางฝ่ายคริสเตียนพ่ายแพ้ ซ่ึงส่วนหน่ึงอาจจะเป็น
เพราะพลังใจในการท่ีจะดาเนินการสงครามเหือดหายไป และเพราะอานาจของ
มามลุค ในอียิปต์ขยายตัวมากข้ึน นอกจากน้ันผลของสงครามก็นามาซึ่งการล่ม
สลายของที่ม่ันต่างๆ ริมฝ่ังทะเลเมดิเตอเรเนยี นไปด้วยในขณะเดียวกนั

28

บทท่ี 3
วธิ ีการดาเนนิ การ

1. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
- วางแผนการดาเนินงาน โดยการมอบหมายให้แต่ละคนรับผิดชอบงาน

(ตามความเหมาะสม)
- ทาการศึกษาข้อมูลพร้อมทั้ง แสดงความคิดเห็นภายในกลุ่ม เพ่ือทา

ความเข้าใจเกยี่ วกับการทาสงครามครเู สด
- เกบ็ ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์
- วเิ คราะห์ข้อมลู อย่างละเอียด
- รวบรวมเปน็ รปู เลม่
- ข้ึนรปู เล่มและโครงงาน

2. การรวบรวมเกบ็ ขอ้ มูล
เม่ือกาหนดขอบเขตของโครงงานเสร็จแล้ว จากน้ันทาการเก็บรวบรวม

ข้อมูล ในเวบ็ ไซต์
3. การวิเคราะหข์ อ้ มูล

ศึกษาข้อมูลที่รวบรวมมาได้ นามาวิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเพื่อให้ได้
ทราบโดยทวั่ กนั

29

บทท่ี 4
ผลการศึกษา

จากการศกึ ษาการทาสงครามครูเสดนท้ี าให้ทราบว่า การทาสงครามครูเสด
เป็นการต่อสู้เพ่ือความถูกต้องชอบธรรม เป็นความถูกต้องชอบธรรมตามหลัก
ศรัทธาทางศาสนา เป็นสงครามที่ตอ่ สู้เพื่อความถกู ตอ้ งตามพระประสงคข์ องพระ
ผู้เป็นเจ้า ซ่ึงชาวมุสลิมใชค้ าว่า จิฮัด ในภายหลังคาว่า สงครามครูเสดถูกนาไปใช้
ในทานองการรณรงค์ต่อสู้เพ่ือความชอบธรรมด้านต่าง ๆ เป็นสงครามศักดิ์สิทธ์ิ
ตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า ฆ่าคนนอกรีต-คนต่างศาสนา ไม่บาป แล้วยัง
ได้ข้ึนสวรรค์ โดยการทาสงคราครูเสดมีข้ึนท้ังหมด 9 คร้ัง แต่ข้อมูลในส่วนน้ีก็ยัง
ไมส่ ามารถยืนยันได้ชดั เจน บางตาราบอกเอาไวเว่ามเี พยี งแค่ 8 คร้ังเท่านนั้

30

บทที่ 5
สรปุ และขอ้ เสนอแนะ

จากการทาโครงงานพบวา่ สาเหตุหลักท่ีก่อให้เกดิ สงครามครเู สด คือ เปน็
ผลของความขดั แยง้ กนั เป็นเวลาชา้ นาน ระหว่างครสิ ตจกั รทางภาคตะวนั ตกกับ
ทางภาคตะวันออก ต่างฝ่ายต่างกพ็ ยายามทีจ่ ะมอี านาจเหนอื อีกฝ่ายหนึ่ง โดย
นาเสนอความเป็นผนู้ าในการรบเพอื่ ทวงคืนดินแดนศักดิส์ ทิ ธ์ิ และหยดุ ยง้ั การ
แพร่ขยายของศาสนาอิสลามท่เี ปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ จนกอ่ ใหเ้ กดิ ความหวาดกลวั
ขึ้นทว่ั ไปในหมชู่ าวครสิ เตียนในยโุ รป ด้วยเหตดุ งั กลา่ ว ในศตวรรษที่ 11 ชาวครสิ
เตยี นจงึ ไดส้ ง่ กองกาลงั มาปะทะกบั มสุ ลมิ
ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั

1. ทราบประวัตทิ ั่วไปของการทาสงครามครูเสด
2. โครงงานเป็นประโยชน์ต่อผูอ้ ่ืน

อ้างองิ

สงครามครเู สด สงครามศาสนาแห่งมวลมนุษยชาติ. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา :
https://hilight.kapook.com/view/76761

สงครามครเู สด. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/สงครามครเู สด

ภาคผนวก

ภาพกรงุ เยรูซาเลมในสงครามครูเสดคร้ังแรก

สมเด็จพระสนั ตะปาปาเออร์บันท่ี 2
ประกาศใหแ้ ย่งชงิ แดนศักดสิ ทิ ธ์คิ ืน

ภาคผนวก

การพิชติ คอนสแตนติโนเปลิ โดยนกั รบครูเสดในปี ค.ศ. 1204
พระเจา้ หลุยส์ที่ 9 ในสงครามครเู สดครั้งท่ี 7


Click to View FlipBook Version