The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อีบุ๊คใช้ในรายวิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bunyanut.pt, 2022-01-20 22:13:03

คาบเรียนที่ 1 เรื่องสารตัวนำ

อีบุ๊คใช้ในรายวิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

20104-2102

อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ ว ง จ ร

(Electronic Devices and Circuits )

นางสาวบณุ ยนชุ พรมเพชร

เบอร์ติดตอ่ : 088-4892329

: วชิ าอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร ช่างไฟฟ้ากาลงั ปวช.2/1 ครบู ุณยนชุ

“ ข้อตกลง ”

1. เรยี นท้ังหมด 17 สัปดาห์ นกั เรยี นเข้าเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80 หรอื ขาดเกิน 3 คาบ จะมีผลการเรยี น ขร.

2. เชค็ ชือ่ กอ่ นเข้าเรยี น
เข้าห้องเรยี น เช็คช่อื เวลา 13.45น. หลัง เช็คช่อื คนสุดท้ายเสร็จ จะถือวา่ สาย
• สาย 3 คร้ัง = ขาด 1 คร้งั
• การลา ผ้ปู กครองโทรมาแจ้งครผู ูส้ อนกอ่ นเขา้ คาบเรยี น แลว้ จงึ สง่ ใบลาตามหลัง
• การลาปว่ ย ผปู้ กครองโทรมาแจ้งครูผูส้ อนแลว้ จึงส่งใบรับรองแพทยต์ ามหลัง

3. แต่งกายถูกต้องระเบยี บของโรงเรียน “ มผี ลตอ่ คะแนนจติ พิสยั ”

4. หา้ มเลน่ โทรศพั ท์มือถือในเวลาเรยี น

5. ห้ามนาอาหาร ลกู อม หมากฝรัง่ และเครอ่ื งดมื่ เข้ามาในห้องเรียน

6. ช่วยกนั รกั ษาความสะอาดในห้องเรียน และปฏบิ ัตติ ามเวรประจาอาทติ ย์

คะแนน

“ 100 คะแนน ”

คะแนนเกบ็ 60 คะแนน

• ใบงาน, แบบฝกึ ท้ายบทเรียน 30 คะแนน
• สมดุ / หนงั สือ 10 คะแนน
• สอบย่อย 20 คะแนน

สอบปลายภาค 20 คะแนน
20 คะแนน
จิตพสิ ยั

• การแต่งกาย
• ความประพฤติ
• การเข้าช้ันเรยี น
• การส่งงาน

“ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร ” 9 หน่วย

1. สารก่ึงตัวนา และไดโอด
2. วงจรเรียงกระแสด้วยไดโอด
3.ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้
4. วงจรรว่ ม
5. วงจรรักษาระดบั แรงดัน
6. อุปกรณ์เชอื่ มโยงทางแสง
7. ทรานซิสเตอร์แบบ BJT และอุปกรณ์ไทริสเตอร์
8. วงจรไบแอสทรานซสิ เตอรแ์ บบ BJT และสนามไฟฟา้
9. การทาแผ่นวงจรพมิ พ์และประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์

สารกึ่งตวั นา และไดโอด

“ อะตอม (Atom) ”

อนุภาคทรงกลมทเี่ ลก็ มากจนไม่สามารถมองเหน็ ได้
อนุภาคเล็กๆ เหลา่ น้ีจะรวมพวกเขา้ ด้วยกนั โดยวธิ ีการต่างๆ สาหรบั อนุภาคเองน้ันไมม่ ี
การเปลยี่ นแปลงและไมส่ ามารถจะแตกแยกออกเปน็ ชนิ้ สว่ นทเี่ ล็กลงไปอกี ได้ อะตอมเปน็ ชน้ิ สว่ นท่ี

เลก็ ทส่ี ดุ ของสสารทสี่ ามารถจะคงอยไู่ ด้

อะตอม

ประกอบดว้ ย นิวเคลียสทมี่ อี นุภาคทเ่ี ลก็ ลงไปอกี คือ
1. โปรตอน
2. นิวตรอน
3. อเิ ล็กตรอน

อะตอมเปน็ อนุภาคที่เลก็ มากๆ ของสสารที่สามารถจะคงอยไู่ ด้
ประกอบดว้ ยนิวเคลยี ส (Nucleus)

ทมี่ โี ปรตอน (Proton) ซ่ึงมปี ระจเุ ปน็ บวก (+)
และนิวตรอน (Neutron) ซ่ึงมีประจเุ ปน็ กลาง

รวมกนั อยตู่ รงกลาง
และอเิ ลก็ ตรอน (Electron) มีประจุลบ (-) วิ่งอยูร่ อบๆ

สารทางไฟฟา้

ตวั นำ สำรก่ึงตัวนำ ฉนวน
(Conductors) (Semiconductor) (Insulators)

ตวั นำ (Conductors)

สารท่ีมวี าเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนหลดุ เปน็ อสิ ระได้งา่ ย
อะตอมของตวั นาจะมวี าเลนซ์อเิ ล็กตรอน 1-3 ตัว อะตอมท่มี ี
วาเลนซ์อิเล็กตรอนตวั เดียวถอื วา่ เปน็ ตัวนาทางไฟฟา้ ท่ีดีทส่ี ดุ

ดังน้ัน ตัวนาจึงเปน็ วัสดุทย่ี อมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้งา่ ย

สำรก่งึ ตวั นำ (Semiconductor)

สารทม่ี วี าเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตวั ซ่ึงจะนาไฟฟา้ ไดก้ วา่
ฉนวน แตไ่ มด่ เี ท่าตัวนา วสั ดสุ ารก่ึงตวั นาจะนามาผลิตเปน็
อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ เปน็ ตน้

ฉนวน (Insulators)

สารท่มี ีวาเลนซ์อิเลก็ ตรอน 5 ตวั
หรือมากกว่า เปน็ สารท่วี าเลนซ์อเิ ล็กตรอน

หลดุ เปน็ อิสระไดย้ าก

ดังน้ัน ฉนวนจงึ เปน็ วัสดุท่ตี ่อตา้ นการไหล
ของกระแสไฟฟา้

สารกง่ึ ตวั นาซิลคิ อน (Silicon Semiconductor)

สารกงึ่ ตวั นาบรสิ ทุ ธิ์ เป็นอะตอมของสารกึ่งตัวนาชนิดหนงึ่ ท่สี าคัญและนามาใช้สร้างเปน็
อุปกรณส์ ารก่งึ ตัวนาเกอื บทุกชนิด อะตอมของซิลคิ อนจะมอี ิเล็กตรอน
ซลิ คิ อนอะตอม
(Silicon atom ; Si) วงนอกสดุ จานวน 4 ตวั แตล่ ะอะตอมจะแบ่งปนั การเกาะเกี่ยวกัน
กบั ซลิ คิ อนอะตอมอ่ืน ๆ ทาใหเ้ กิดแถบยึดเหนยี่ ว (Bond)

ทาให้วสั ดสุ ารกงึ่ ตัวนารวมกนั เปน็ ช้ินหรอื เป็นผลกึ ได้ แสดงการเกาะ
เกยี่ วกนั ของ อะตอมซลิ คิ อนบริสทุ ธ์ิ (IntrinsicSilicon)

เมอื่ มพี ลังงานจากภายนอก เชน่ ไฟฟา้ ความรอ้ น หรอื
พลงั งานจากแสงอาทติ ย์ มากระทบต่อสารกง่ึ ตัวนา

หากพลังงานมคี า่ มากกว่าแรงยึดเหนีย่ วของอิเลก็ ตรอน
วงนอกสดุ ของอะตอมซลิ คิ อน จะทาให้อิเลก็ ตรอน

หลุดออกมา เรียกวา่ อเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ (Free Electron)

ซึ่งคือกระแสไฟฟ้า มีประจุดเป็นลบ(-) และตาแหนง่ ทีม่ นั
หลดุ ออกมาจะเกดิ ช่องวา่ ง หรอื โฮล (Hole)
มปี ระจุไฟฟา้ เป็นบวก (+)

สารกง่ึ ตวั นาไมบ่ รสิ ุทธ์ิ

คอื การนาเอาธาตุซิลคิ อนหรอื ธาตเุ ยอรมันเนยี มบริสทุ ธิ์มาเตมิ เจือปนลงไป

สารกง่ึ ตัวนาชนดิ N ( N – Type Semiconductor )
สารกง่ึ ตวั นาชนดิ พี (P-Type Semiconductor)

สารกงึ่ ตัวนาชนดิ N
( N – Type Semiconductor )

เปน็ การเติมสารท่ีมีอิเล็กตรอนวงนอก 5 ตัว
เชน่ สารหนู หรอื ฟอสฟอรสั ลงไป ทาให้เกิด
สภาวะมีอิเล็กตรอนอิสระมากกวา่ จานวนของ
โฮล ด้วยเหตุท่ีอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟา้ ลบและ
เป็นพาหะส่วนใหญ่ ส่วนโฮลเปน็ พาหะส่วนน้อย
ของสารเราจึงเรยี กวา่ เปน็ สารก่ึงตัวนา ชนิด N

(N-type Semiconductor)

สารกง่ึ ตวั นาชนดิ P
( P-Type Semiconductor )

เปน็ การเติมสารท่ีมีอิเล็กตรอนวงนอก 3 ตัว
เชน่ อลมู ิเนียม หรอื แกลเลียม ลงไป ทาให้เกิด
สภาวะขาดอิเล็กตรอน คือ จะมีท่ีวา่ งขออิเล็กตรอน

ซ่ึงเรยี กวา่ โฮล (Hole) มากกวา่ จานวน
อิเล็กตรอนอิสระ ด้วยเหตุท่ีโฮลมีสภาพเปน็ ประจุ

ไฟฟ้าบวกและเปน็ พาหะส่วนใหญข่ องสาร
ส่วนอิเล็กตรอนจะเปน็ พาหะส่วนน้อย เราจึงเรยี กวา่

สารก่ึงตัวนาชนิด P (P-type Semiconductor)

“ บทเรยี นคาบท่ี 2 ”

สารกึ่งตวั นา และไดโอด

“ ไดโอด ”(Diode)

สารกงึ่ ตัวนาที่สร้างมาจากสาร P-Type ,N-Type มาต่อกนั
โดยระหวา่ งรอยตอ่ ของสารทั้ง 2 มขี าใช้งาน 2 ขา

• ขาทต่ี ่อกับสาร P เรียกวา่ แอโนด (Anode) อักษรย่อ A
มศี กั ยไ์ ฟฟา้ เปน็ บวก (P = Positive)

• ขาทต่ี ่อกับสาร N เรียกวา่ แคโทด (Cathode) อกั ษรยอ่ K
มศี ักยไ์ ฟฟ้าเป็นลบ (N = Negative)

ไดโอดเปน็ อปุ กรณท์ นี่ ากระแสไดท้ ิศทางเดยี ว

การนาไดโอดไปใช้งานจะมีการป้อนแรงดันไฟฟ้าใหก้ บั ไดโอด ซงึ่ เรียกวา่ การไบแอส (Bias)

ไบแอสตรง (Forward Bias)
ไบแอสกลับ (Reverse Bias)

คา่ ของตวั ตา้ นทานจากัดกระแส = แรงดนั แหลง่ จา่ ยไฟ - แรงดนั ตกครอ่ มไดโอด
กระแสทต่ี อ้ งการใหไ้ หลผา่ นไดโอด

นากระแส  ขา A (สาร P) ไดร้ ับไบแอสบวก ขา K (สาร N) ได้รับไบแอสลบ

เรยี กว่า ไบแอสตรง (Forward Bias)

ลักษณะการทางานของไดโอด : เปรยี บเสมอื นสวติ ช์ทีป่ ดิ (Closed Switch)

หยุดนากระแส  ขา A ไดร้ บั ไบแอสลบ ขา Kไดร้ บั ไบแอสบวก
เรยี กว่า ไบแอสกลบั (Reverse Bias)

สังเกตเหน็ วา่ รอยต่อ P-N จะกว้าง ทาใหอ้ เิ ล็กตรอนไมส่ ามารถเคลือ่ นทไ่ี ด้
ส่งผล : ไม่มกี ระแส หรือไดโอดไมน่ ากระแส

จะมแี รงดนั ตกคร่อมทต่ี ัวไดโอดเท่ากบั แหลง่ จ่าย

การทางานของไดโอด : เปรียบเสมือนสวติ ชเ์ ปิด (Open Swich)



ลกั ษณะรปู ร่างของไดโอด…

ไดโอดที่ใชง้ านอยใู่ นปัจจุบนั มี 2 ชนิด

1. ไดโอดทีท่ าจากซิลคิ อน เรียกว่า
เป็นไดโอดทท่ี นกระแสไฟได้สูง สามารถใชง้ านไดใ้ นที่มีอุณหภูมสิ ูงถึง200°C

นยิ มเอาไดโอดแบบนใ้ี ชใ้ นวงจรเรียงกระแส 0.2-0.3 V

ไดโอดทาจากเยอรม์ าเนยี่ ม เรยี กวา่

2. เป็นไดโอดที่ทนกระแสได้ตา่ กวา่ แบบซิลิคอน ทนความร้อนไดป้ ระมาณ 85°C

ไดโอดแบบเยอรม์ าเน่ียมใช้ได้ดีในวงจรทมี่ ีความถ่ีสูง 0.5-0.7 V

นยิ มนาไดโอดแบบน้ไี ปใชใ้ นวงจรแยกสญั ญาณหรอื วงจรผสมสัญญาณ

ประเภทของไดโอดชนดิ ตา่ งๆ

ไดโอดเปลง่ แสง
(LED)

เป็นไดโอดท่ีใชส้ ารประเภทสารแกลเลยี้ มฟอสไฟต์
เป็นสารก่ึงตัวนา สารเหลา่ น้มี คี ุณสมบัติ เมอื่ ไดร้ บั ไบอัสตรง

จะเกิดแสงท่ีตัวไดโอด LED ปัจจบุ นั นิยมนามาใช้แทน
หลอดไฟ เพราะให้แสงสวา่ งท่ีมากกว่าและประหยัดไฟ

โฟโตไดโอด (Photo Diode)

เป็นไดโอดทอ่ี าศยั แสงจากภายนอก
การต่อโฟโตไดโอดเพอ่ื ใชง้ านจะเป็นแบบไบอัสกลบั เพราะไม่ต้องการให้โฟโตไดโอดทางานทนั ทีทันใด
โฟโตไดโอดไดร้ ับแสงสวา่ งจะเกิดกระแสรว่ั ไหล ปริมาณกระแสร่ัวไหลน้ีเพิ่มขนึ้ ตามความเขม้ ของแสง

ไดโอดวาแรกเตอร์ (Varactor)

ไดโอดวาแรกเตอรส์ ามารถปรบั คา่ คาปาซแิ ตนซเ์ ช่อื มต่อ (Ct) ได้
โดยการปรับคา่ แรงดันไบอัสกลับ ขณะแรงดันไบอสั กลบั (Reverse Bias Voltage ; Vr)

ทาใหต้ รงรอยตอ่ Ct มคี า่ สงู ถา้ เราปรบั Vr ให้สูงขน้ึ จะทาให้ Ct มคี ่าต่า
จากลักษณะดงั กล่าว เราจึงนาวารแิ คปไปใช้ในวงจรปรับความถี่

เชน่ วงจรจูนความถ่อี ตั โนมัติ และวงจรกรองความถ่ซี ง่ึ ปรบั ช่วงความถไี่ ดต้ ามต้องการ

ซีเนอรไ์ ดโอด (Zenner Diode)

เป็นอุปกรณ์สารกึงตวั นาวธิ กี ารต่อจะต่อแบบไบอสั กลบั
นยิ มนามาใช้รักษาและควบคมุ แรงดนั ทตี่ ้องการแรงดันคงท่ี

เชน่ อปุ กรณ์แหลง่ จา่ ยไฟ หรือ โวลเทจเรกเู ลเตอร์

ไดโอดกาลัง (Power Diode)

จะทาหน้าที่คล้ายสวติ ช์ ทสี่ ามารถนากระแสได้ทางเดียว
เม่อื จา่ ยแรงดันไบอสั ตรง (Forward Bias)

นามาใชก้ บั งานทีก่ าลงั ไฟฟ้าสงู กระแสสูงๆ ทนความรอ้ นไดอ้ ย่างดี
นิยมนามาใชป้ ระกอบเป็นวงจรเรยี งกระแส ในอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วงจรทวแี รงดนั

วงจรแยกแรงดัน วงจรแหล่งจา่ ยไฟแบบ Switching
เม่ือกระแสไฟฟา้ มีค่าหลายร้อยแอมป์ ทาให้ไดโอดมีอณุ หภมู ิขณะทางานสงู
จึงใชร้ ่วมกับตัวระบายความรัอน (Heat Sinks)เพอ่ื เพ่ิมพ้นื ทีร่ ะบายความรัอนภายในตัวไดโอดกาลัง

“ บทเรยี นคาบท่ี 3 ”

“ วงจรเรยี งกระแสดว้ ยไดโอด”

หลักการพ้ืนฐาน โดยทวั่ ไปจะประกอบดว้ ย
ของแหล่งจา่ ยไฟฟ้า
- หมอ้ แปลง (Transformer) ทาหน้าทแ่ี ปลงแรงดนั ไฟฟ้าใหไ้ ด้ตามระดบั ที่ต้องการใชง้ าน
กระแสตรง - วงจรเรยี งกระแส (Rectifier) ทาหน้าท่ปี รับไฟฟ้ากระแสสลบั มาเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
- วงจรกรองสญั ญาณ (Filter) ทท่ี าหน้าทใ่ี ห้ไฟเรียบข้นึ
- วงจรรักษาระดบั แรงดนั (Voltage Regulator)

บล็อกไดอะแกรม แหลง่ จ่ายไฟฟา้ กระแสตรง

AC Voltage DC Output
Source Lode

วงจรเรยี งกระแสแบง่ ตามลักษณะของสัญญาณที่ไดท้ างเอาท์พตุ ได้ 2 แบบ คือ

1. วงจรเรยี งกระแสแบบคร่ึงคล่ืน (Half Wave Rectifier)
- วงจรเรียงกระแสครง่ึ คลื่นบวก
- วงจรเรยี งกระแสครึ่งคลน่ื ลบ 2. วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคล่นื (Full Wave Rectifier)
- วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคลื่นแบบใชห้ มอ้ แปลงมแี ทป็ กลาง
- วงจรกรองแบบใชต้ วั เกบ็ ประจุ (Capacitor Filter)

วงจรเรยี งกระแสแบบครง่ึ คลน่ื

วงจรที่ตดั เอาแรงดนั ไฟฟ้าสลับทีป่ ้อนเขา้ มา วงจรประกอบดว้ ยไดโอดตัวเดยี ว
อาจเป็นครงึ่ บวกหรือคร่ึงลบ วงจรไฟกระแสสลับจะมาปรากฏทขี่ าแอโนด
แลว้ แต่การจัดวงจรไดโอด ไดโอดจะยอมใหก้ ระแสไหลผ่านได้ทางเดยี ว

แรงดันที่สง่ ออกเอาท์พทุ จะเปน็ ชว่ งๆ คอื คอื ชว่ งทไ่ี ด้รับไบอัสตรง
ชว่ งมแี รงดันและช่วงไม่มแี รงดันสลับกันไป

ดังนั้น วงจรจะมีกระแสไหลเพียงช่วงบวกของไฟสลับเท่านั้น

ถ้าช่วงลบจะไมม่ กี ระแสไหล แรงไฟตรงทเ่ี อาท์พทุ น้ยี งั นาไปใช้งานในวงจรอเิ ล็กทรอนิกสไ์ มไ่ ด้

เพราะเปน็ ไฟตรงที่ไม่เรียบพอ (Pulse D.C) จึงตอ้ งมีการกรอง (Filter) ให้เรยี บ

โดยใช้ตัวเก็บประจทุ าหนา้ ที่กรอง

หมอ้ แปลงไฟฟ้า ไดโอด +
- VDC = 0.318 Vp
แรงดนั ไฟ AC C

220 VAC Load

หมอ้ แปลงไฟฟ้า ไดโอด +
- VDC = 0.318 Vp
แรงดนั ไฟ AC Load C

220 VAC

เม่ือจ่ายแรงเคล่ือนไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V เข้าทางขดปฐมภูมิ (Primary) ของหม้อแปลงไฟฟ้าจะเกิดการเหน่ียวนา
แรงดนั ไฟฟ้ามายงั ขดทุตยิ ภูมิ (Secondary) เฟสของสัญญาณเข้ากับเฟสของสัญญาณออกจะต่างเฟสกันอยู่ 180 องศา
เม่ือข้ัวบนของขดปฐมภูมิได้รับเฟสลบ จะทาให้ขดทุติยภูมิข้ัวบนเป็นเฟสบวก ขาแอโนด (A) ของไดโอดได้รับแรงดนั ซีก

บวก ขาแคโทด (K) ไดร้ ับแรงดันซีกลบเปน็ ผลให้ไดโอดไดร้ ับไบอัสตรงไดโอดนากระแส มกี ระแสไหลเข้าขาแอโนด
ออกขาแคโทดผ่านโหลด (Load) ครบวงจรทข่ี วั้ ลา่ งของทุติยภูมิ มแี รงดนั ซีกบวกตกคร่อมท่ีโหลด

หมอ้ แปลงไฟฟ้า ไดโอด +
- VDC = 0.318 Vp
แรงดนั ไฟ AC Load C

220 VAC

ในชว่ งเวลาต่อมา ครึง่ ไซเกลิ หลังของไฟสลับ ขัว้ บนของทุตยิ ภมู เิ ป็นเฟสลบ
ลักษณะเชน่ น้จี ะทาให้ขาแอโนดของไดโอดไดร้ ับแรงดันซีกลบและขาแคโทดไดร้ ับแรงดนั ซกี บวก

ไดโอดไดร้ ับไบอัสกลับ จะไม่นากระแส เปน็ ผลให้ไมม่ ีแรงดันปรากฏท่โี หลด

ในรอบต่อมาการทางานกจ็ ะเปน็ ไปตามลักษณะเดมิ ซา้ ๆ กนั ไปเรือ่ ยๆ
โดยมแี รงดันปรากฏทเ่ี อาท์พุทเปน็ ชว่ งๆ (ชว่ งเวน้ ช่วง)



วงจรเรยี งกระแสครงึ่ คลน่ื บวก

220 VAC + การจดั วงจรไดโอดให้นากระแสเฉพาะซีกบวก
220 VAC - แรงดนั เอาทพ์ ทุ ของไฟสลับ ทาใหแ้ รงดนั ท่ไี ด้จากการเรียงกระแสออกมา
Load C

ทเ่ี อาทพ์ ุทเพยี งช่วงบวกของไฟสลับเท่าน้นั

+
- แรงดนั เอาทพ์ ทุ
แรงดันไฟตรงที่ได้จะยังไม่เรียบในการใช้งาน

Load C จะต้องทาการกรองใหเ้ รียบโดยใชต้ วั เก็บประจุทาการกรอง

ก็จะทาให้แรงดนั ทไี่ ดเ้ รียบขึน้

คลื่นแรงดันไฟตรงเมอื่ ใชต้ ัวเก็บประจุกรองแรงดนั

ช่วงประจุ ช่วงคายประจุ พลั สด์ .ี ซี ที่ไดจ้ ากวงจรเรียงกระแสแบบครึง่ คล่นื จะเป็นซีกบวก
Vp ตัวเก็บประจุฟลิ เตอร์จะทาการประจแุ รงดันในช่วงท่ีพัลสด์ ี.ซี

0 มีค่าเพ่ิมข้ึนและจะคายประจุในช่วงที่พัลส์ดี.ซี มีคา่ ลดลง
จะเปน็ ไปในลกั ษณะเช่นน้เี รื่อยๆ

t โดยเสริมรูปคลื่นท่ีขาดหายให้เชอื่ มตอ่ เข้าด้วยกนั

แรงดนั ไฟตรงทีไ่ ดจ้ ะมคี ่าเพมิ่ ขนึ้ เน่อื งจากตัวเกบ็ ประจุ
จะประจแุ รงดันสงู สุดของแรงดันพคี จึงทาให้แรงดนั เพมิ่ สูงขนึ้



วงจรเรียงกระแสครงึ่ คลน่ื ลบ

220 VAC Load C

การจดั วงจรไดโอดให้นากระแสเฉพาะซกี ลบของไฟสลบั กจ็ ะได้วงจรเรยี งกระแสแบบครึง่ คล่นื ลบ
ขั้วบนของขดทุตยิ ภูมิได้รบั เฟสลบ จะทาใหไ้ ดโอดได้รบั ไบอสั กลับ ไดโอดไม่สามารถนากระแสได้
ไมม่ ีแรงดนั ออกมาทโ่ี หลด กระแสจะไหลจากขัว้ ล่างของหม้อแปลงผา่ นโหลดเข้าทางขาแอโนด(A) ออกทางแคโทด(K)

ครบวงจรท่ีขัว้ บนของหม้อแปลง

รูปคล่ืนเมอ่ื ใชต้ ัวเก็บประจเุ ป็นวงจรกรอง

0t
-Vp

ช่วงคายประจุ

เมื่อตอ่ ตัวเกบ็ ประจฟุ ิลเตอร์เขา้ ไปในวงจร ตัวเก็บประจุกจ็ ะทาหน้าท่ปี ระจแุ รงดนั เอาไว้ในชว่ งแรงดนั ท่ีมีคา่ สงู
และจะคายประจใุ นช่วงแรงดนั ทีม่ ีคา่ ลดลง การใช้วงจรเรียงกระแสแบบนีจ้ ะได้ไฟกระแสตรงออกมา

ในลักษณะพลั สค์ ร่งึ คลืน่ เท่าน้นั เมอื่ เปรยี บเทียบแรงดันอนิ พุทกับแรงดนั เอาท์พทุ ที่ได้จะเห็นวา่ มีประสิทธภิ าพตา่



วงจรเรยี งกระแสเตม็ คลน่ื

วงจรสามารถเรยี งแรงดันไฟสลับใหอ้ อกเอาทพ์ ุทได้ทัง้ ชว่ งบวกและช่วงลบของแรงดนั ไฟสลบั ทีป่ ้อนเข้ามา

ท่ีอินพุทของวงจร โดยไม่มีสว่ นใดของแรงดนั ไฟสลบั ถกู ตดั ทงิ้ ไป

ลกั ษณะของวงจรจะใช้ไดโอด 2 ตวั ทาหนา้ ที่แปลงสญั ญาณไฟสลับเป็นสัญญาณไฟตรง

หมอ้ แปลงไฟฟ้า D1

¢´ » ° ÁÀÙÁÔ ¢´ · صÔÂÀÁÙÔ RL VDC = 0.636 VP
220 V

D2

โดยมหี ม้อแปลงไฟฟ้าแบบมแี ทป็ กลาง (Center Trap)
ทาใหม้ ขี นาดของแรงเคล่ือนไฟฟา้ ได้หลายระดบั
ทาหน้าท่ีแบ่งเฟสให้เกดิ การตา่ งเฟสกนั 180 องศา

ระหวา่ งสัญญาณทอี่ อกจากส่วนบนและส่วนล่างของขดทุตยิ ภมู ิ
ของหมอ้ แปลงเพอ่ื ใหไ้ ดโอดทั้ง 2 ตวั สลับกนั ทางาน

ดงั นั้น วงจรจึงสามารถจา่ ยกระแสได้เรียบและสูงกวา่ วงจรเรยี ง
กระแสแบบครง่ึ คล่ืน


Click to View FlipBook Version