The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สงครามโลกครั้งที่สอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanaear, 2022-03-10 01:09:33

สงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลก

ค รั้ ง ที่ ส อ ง

THE WORLD WAR II

สงครามโลกครั้งที่สอง

เป็ นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 แบ่งเป็ นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่ าย คือ ฝ่ ายสัมพันธมิตร

และฝ่ ายอักษะ เป็ นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนาย

สงครามเบ็ดเสร็จจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็ น "สงครามเบ็ดเสร็จ"

สงครามครั้งนี้ได้ขยายสมรภูมิรบออกไปทั่วโลกในระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยครอบคลุม อาณาบริเวณทั้งในยุโรป
แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิ ก เป็ นความขัดแย้งในวงกว้าง ครอบคลุมทุกทวีปทั่วโลก
สงครามครั้งนี้นับว่าเป็ นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและ

โครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น
เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้ องกันความขัดแย้งในอนาคต

ช่วงเวลา การรบเกิดขึ้นเมื่อ 1 ก.ย. 1939 - 2 ก.ย. 1945

วันเริ่มต้นสงคราม วันที่ 1 ก.ย. 1939 เยอรมันรุกรานโปแลนด์
วันที่ 7 ก.ค. 1937 ญี่ปุ่ นรุกรานจีน

วันสิ้นสุดสงคราม ในยุโรปสิ้นสุดเมื่อนาซีเยอรมันยอมจำนนในวันที่ 8 พ.ค.1945
ในเอเชียยังดำนินต่อไปจน ญี่ปุ่ นยอมจำนนในวันที่ 15 ส.ค. 1945

สงคราม

ฝ่ ายอักษะ (Axis Powers) ฝ่ ายพันธมติร

เยอรมนีเเละอิติาลีและ ญี่ปุ่ น ในนามของกลุ่มอักษะ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต จีน
โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo และสหรัฐอเมริกา

สงคราสมงคเรบา็มดเบเ็ดสเสร็ร็จจ คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ

อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม
โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร

สาเหตุสงครามโลกครั้งที่สอง

- สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็ นธรรมหลังสงครามโลกครั้งที่ 1

โดยเฉพาะสนธิสัญญาแวร์ซายส์ที่เยอรมันไม่พอใจที่ต้องถูกผูกมัดด้วยเงื่อนไขดังนี้
• เสียดินแดนอัลซาสลอเรนให้แก่ฝรั่งเศส +ยกดินแดนภาคตะวันออกให้โปแลนด์หลายแห่ง
• ต้องยอมให้สันนิบาตชาติเข้าดูแลแคว้นซาร์เป็ นเวลา 10 ปี ผรัสเซียตะวันออกถูกแยกออกจากเยอรมนี
• เกิดPOLISH CORRIDOR ผ่านดินแดนภาคตะวันออกเพื่อให้มีทางออกไปสู่ทะเลบอลติกเมืองดานซิก
• ถูกบังคับให้ยกดินแดนนี้ให้โปแลนด์เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
• เสียอาณานิคมทั้งหมดให้แก่องค์การสันนิบาตชาติดูแลฐานะดินแดนในอาณัติจนกว่าจะเป็ นเอกราช
• ต้องจํากัดอาวุธ+ทหารประจําการลง ชดใช้ค่าเสียหายจํานวนมหาศาลให้แก่ประเทศที่ชนะสงคราม

- ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่ น

คริสตศตวรรษที่ 20 ลัทธิชาตินิยมการสร้างชาติภายใต้ระบอบเผด็จการ

เยอรมนีพัฒนาตนเองจนเป็ นอาณาจักรเยอรมนีที่ 3 เข้าบุกรุกดินแดน

ฟาสซิสต์ในอิตาลี นาซีในเยอรมันและเผด็จการทหารในญี่ปุ่ น อดอล์ฟ ฮิตเลอ

ร์ (Adolf Hitler) ผู้นำเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซี เบนีโต มุสโสลีนี

(BenitoMussolini) ผู้นำอิตาลีหันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์ ส่วนญี่ปุ่ นต้องการเป็ น

ผู้นำในเอเชีย เกิดชาตินิยมในเยอรมนีฮิตเลอร์ใช้นโยบายกวาดล้างชาวยิวใน

ดินแดนต่าง ๆ - นโยบายที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ

- การเติบโตของลัทธิทางทหารหรือระบบเผด็จการ เพิ่มกำลังทหาร+รุกรานดินแดนต่างๆ ทำให้

ผู้นำหลายประเทศสร้างความเข้มแข็งทางทหาร สะสมอาวุธ ทำให้ เยอรมัน+พันธมิตรได้ใจและรุกรานมาก
เกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศมากขึ้น ไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
- เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก

โดยเฉพาะหลังสงครามโลก 1

ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง - บทบาทของสหรัฐอเมริกา

สหรัฐปิ ดประเทศไม่แทรกแซงกิจการประเทศอื่น

ระบอบประชาธิปไตยvsระบอบเผด็จการ และไม่ยอมให้ประเทศอื่นมาแทรกแซงกิจการของ
ตน ประชาชนเลือกพรรคเดโมแครตปกครอง
หลายประเทศหันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปั ญหาภายใน ประเทศโดยประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รุสเวลท์
นำไปสู่การแบ่งกลุ่มของเยอรมนีและอิตาลี ประเทศที่มี
ระบอบการปกครองเหมือนกันจะรวมกลุ่มกัน กลุ่มประเทศ 4ติดต่อกันถึง สมัย
ฟาสซิสต์รวมกันเป็ น มหาอำนาจอักษะ (Berlin-Rome-
Tokyo Axis ) เพื่อต่อต้านรัสเซีย ซึ่งเป็ นคอมมิวนิสต์ ต่อ — ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
ต้านชนชาติยิว เกิดความขัดแย้งกับประเทศฝ่ าย
สัมพันธมิตร ไม่สามารถเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างประเทศ
ไม่สามารถบังคับประเทศที่เป็ นสมาชิก+ที่ไม่ปฏิบัติตาม
สัตยาบันเป็ นเครื่องมือของประเทศที่ชนะใช้ลงโทษ

ประเทศที่แพ้สงคราม

ญี่ปุ่ นกับสงครามโลกครั้งที่สอง

ในปี 1937 (ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง 2 ปี ) ญี่ปุ่ นรุกรานจีนแผ่นดินใหญ่
เพราะต้องการครอบครองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด เนื่องจากญี่ปุ่ น
เป็ นประเทศหมู่เกาะเล็กๆ จึงต้องนำเข้าทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำมัน

27 กันยายน 1940 ในปี 1940 ญี่ปุ่ นเข้ายึดครองพื้นที่ใน

ญี่ปุ่ นเข้าร่วมพันธมิตรฝ่ ายอักษะ
เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออก

กับเยอรมนีและอิตาลี โดยลงนาม
เฉียงใต้ นั่นคือ สงครามมหาเอเชียบูรพา


ในสนธิสัญญาไตรภาคี และในวันที่ 1 สิงหาคม 1940 ญี่ปุ่ น

ประกาศแนวคิด “Greater East Asia

Co-Existence Sphere" - Yabe Teij


ซึ่งมีเป้ าหมายในทางเศรษฐกิจที่จะ
เข้ามาควบคุมทรัพยากรธรรมชาติและ

วัตถุดิบที่สำคัญของเอเชียตะวันออก


เฉียงใต้แทนที่มหาอำนาจตะวันตก

ญี่ปุ่ นกังวลว่าสหรัฐอเมริกาอาจมาหยุดยั้งการยึดครอง

บางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ญี่ปุ่ นจึงตัดสินใจโจมตี

ฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ (Pearl harbor) ของสหรัฐอเมริกา

หมู่เกาะฮาวาย ในวันที่ 7 ธันวาคม 1941 ทำให้สหรัฐอเมริกา


เข้าร่วมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองในวันรุ่งขึ้น โดยมี

เป้ าหมายเพื่อเอาชนะฝ่ ายอักษะ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งญี่ปุ่ น

8 ธันวาคม 1941 ญี่ปุ่ นได้บุกโจมตีภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ อินโดจีนฝรั่งเศส
(กัมพูชา ลาว เวียดนาม) สิงคโปร์ มลายู ฟิ ลิปปิ นส์ และไทย ญี่ปุ่ นเข้ายึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่

ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างรวดเร็วและกำลังจะเข้าสู่อำนาจได้สำเร็จภายในปี 1942

เรือมิคุมะ หลังโดนถล่ม เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 1942 เกิดเหตุการณ์

ยุทธการมิดเวย์ (Battle of Midway)


สหรัฐอเมริกาสามารถเอาชนะกองทัพญี่ปุ่ น

ได้อย่างเด็จขาด โดยการจมเรือบรรทุก

เครื่องบินญี่ปุ่ นบริเวณหมู่เกาะมิดเวย์

ทำให้ญี่ปุ่ นเลิกบุกออสเตรเลีย และ
ขยายอำนาจในมหาสมุทรแปซิฟิ กแทน

ญี่ปุ่ นกับสงครามโลกครั้งที่สอง

เนื่องจากเสียนักบินไปจำนวนมากจากยุทธการมิดเวย์ จึงนำไปสู่ กองกำลังจู่โจมพิเศษหรือนักบิน คคะะมมิิกกะะเซเซะะ
คือ นักบินจะพลีชีพ โดยขับเครื่องบินพุ่งชนศัตรู ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็ นชาตินิยมได้อย่างชัดเจน

เรือ Intrepid (CV-11)
ถูกฝูงบินคะมิกะเซะเข้าโจมตี
ที่จุดสำคัญ (25 พฤศจิกายน 1944)

ปฏิบัติการครั้งแรก เริ่มขึ้น
ในวันที่ 22 ตุลาคม 1944 ณ อ่าวเลย์เต

ฮิโรชิมา นางาซากิ พฤษภาคม 1945 กองทัพ


สหรัฐอเมริกายึดครองเกาะ


โอกินาวา เตรียมพร้อมบุกเกาะ

โดยประธานาธิบดีแฮร์รี ทรูเมน

(Harry S. Truman) ตัดสินใจส่ง

เครื่องบินรบอีโนลาเกย์ B-29

ทิ้งระเบิดปรมณูลูกแรกชื่อว่า

Little Boy ในวันที่ 6 สิงหาคม

ที่เมืองฮิโรชิมา 3 วันต่อมา
ในวันที่ 9 สิงหาคม ทิ้งระเบิด

Fat Man ที่นางาซากิ

ทำให้ในวันที่ 15 สิงหาคม ผู้แทนของจักรวรรดิญี่ปุ่ นบนเรือ ยูเอสเอส มิสซูรี
จักรพรรดิญี่ปุ่ นฮิโรฮิโตะ ที่ยอมจำนนในวันที่ 2 กันยายน 1945
ประกาศยอมแพ้สงคราม
อย่างไม่มีเงื่อนไข และ
ลงนามยอมแพ้อย่างเป็ น
ทางการในวันที่ 2 กันยายน

1945 นับเป็ นการสิ้นสุด

สงครามโลกครั้งที่สอง

อย่างเป็ นทางการ

ก อ ง ทั พ น า ซี เ ย อ ร มั น

กั บ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง

1 ก.ย. 1939 นาซีฮิตเลอร์และนาซีครองอำนาจในเยอรมัน นาซีเยอรมันได้ทำสนธิสัญญากับ
อิตาลี ญี่ปุ่ น ผนวกออสเตรียเป็ นส่วนหนึ่งของเยอรมัน และได้มีการเจรจาลับกันกับสหภาพ

โซเวียตเรื่องการแบ่งดินแดนยุโรปตะวันออก

ในปี 1940 นาซีเคลื่อนทัพบุกโปแลนด์

เริ่มบุกยึดโปแลนด์ ทำให้อังกฤษกับฝรั่งเศส
ประกาศเริ่มสงคราม และโซเวียตบุกโจมตีทางด้าน

ตะวันออก โปแลนด์ประกาศยอมแพ้ นาซีกับสห
ภาพโวเวียตแบ่งดินแดนกันคนละครึ่ง ต่อมาก็ไปทำ
สงครามกับฟิ นแลนด์ เกิดเป็ น Winter War นาซี

ชนะได้ดินแดนมาส่วนหนึ่ง ต่อด้วยการโจมตี
เดนมาร์กและนอร์เวย์ซึ่งก็ได้ชัยชนะกลับมาเช่นเดิ
นาซึเยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่ น ลงนามฝ่ ายอักษะอย่าง

เป็ นทางการ

Winter war ชาวยิวในค่ายกักกันนาซี

นาซีประกาศสงครามกับสหรัฐ รถถังนาซีบุกโซเวียต

ในปี 1941
นาซีหักหลังโซเวียตโดยการบุกไปโจมตีโซเวีย

เกิดเป็ น Operation Barbarossa ซึ่งเป็ น
สมรภูมิที่มีความยิ่งใหญ่และผู้คนล้มตายมาก

ที่สุด ผลสุดท้ายนาซีพ่ายแพ้อย่างราบคาบ
โซเวียตตัดสินใจเข้าร่วมฝ่ ายสัมพันธมิตรและ
โต้กลับนาซีโดยโจมตีทางด้านตะวันออก และ

ในปลายปี นาซีประกาศสงครามกับสหรัฐ

ก อ ง ทั พ น า ซี เ ย อ ร มั น
กั บ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง

ในปี 1942 นาซีพยายามโจมตี
โซเวียตอีกครั้งแต่ก็พ่ายแพ้ ใน
ช่วงปลายปี 1942-ต้นปี 1943
โซเวียตเริ่มโจมตีนาซีโดยการยึด

ครองฮังการีและโรมาเนีย



ทหารโซเวียตเริ่มโจมตีนาซี

ในปี 1944
โซเวียตยึดโปแลนด์ได้

และเตรียมบุกนาซี



ทหารโซเวียตบุกโปแลนด์

ในปี 1945

นาซีใกล้แพ้สงคราม ฮิต

เล่อร์ผู้รู้ตัวว่ากำลังพ่ายแพ้ ทหารโซเวียตชูธงชาติเหนือรัฐสภาของเยอรมัน
แต่งงานกับเอฟา เบราน์ ผู้
เป็ นคู่รัก 30 เม.ย. ทั้งคู่ฆ่า
ตัวตายในขณะที่กองทัพ

โซเวียตกำลังยึดเมือง ฮิต

เลอร์ยิงตนเอง ส่วนเบราน์

ใช้ยาพิษ







7 พ.ค.1945 นาซีประกาศยอมแพ้ สมรภูมิรบในยุโรปยุติลง

ข บ ว น ก า ร เ ส รี ไ ท ย ?

ภายหลังจากที่ญี่ปุ่ นได้ยกทัพบุกไทยในวันที่ 8 ธันวาคม 1941 รัฐบาลของไทย
ที่นำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ตัดสินใจเข้าร่วม
เป็ นพันธมิตรกับญี่ปุ่ น (เข้าร่วมฝ่ ายอักษ:) และประกาศสงครามกับฝ่ ายสัมพันธมิตร



เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในปี 1945 ไทยได้รอดพ้นจากการเป็ นผู้แพ้
สงคราม เนื่องจากคนส่วนหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล ดำเนินงานเพื่อต่อต้านญี่ปุ่ น
กับกลุ่มขบวนการเสรีไทย (Free Thai Movement) ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อต่อต้านญี่ปุ่ น
และคัดค้านรัฐบาลไทยในการเข้าร่วมกับญี่ปุ่ น โดยประกาศว่าการเข้าร่วมกับญี่ปุ่ น

ของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็ นโมฆะ

ไทยกับสงครามโลก

ครั้งที่สอง

เริ่มแรกการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยประกาศเป็ น "กลาง" ทางสงคราม

หลังจากวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ.1941 ที่ญี่ปุ่ นประกาศสงครามกับสัมพันธมิตร ต่อมา
วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 1941 กองทหารญี่ปุ่ นนำเรือรบบุกเข้ามาทางสงขลา ปั ตตานี
ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ และ สมุทรปราการ ของประเทศไทย

ญี่ปุ่ นได้อ้างว่ามีนโยบายที่จะสร้างชาติเอเชียให้ยิ่งใหญ่ เอกอัครราชทูตญี่ปุ่ นจึง
ขอรัฐบาลไทย ให้ทหารญี่ปุ่ นเดินทัพผ่าน เพื่อไปโจมตีพม่าและมลายูของ อังกฤษ
และขอให้ระงับการต่อต้านของคนไทยเสีย

คณะรัฐมนตรีโดยมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ก็อนุโลมตามความต้องการของ
ญี่ปุ่ น และได้ทำกติกาสัมพันธไมตรีกับญี่ปุ่ นเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 1941

สาเหตุที่เข้าร่วมเป็ นพันธมิตรกับญี่ปุ่ น

1. ไม่อาจต้านทานกองกำลังญี่ปุ่ นได้นานและเพื่อป้ องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่ น
ในด้านเศรษฐกิจและการเมือง

2. สืบเนื่องมาจากไทยและญี่ปุ่ นรอดจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก และจากการ
ที่ไทยโดนยึดดินแดนรอบนอกส่วนต่างๆบริเวณลาวและเขมรบางส่วนทำให้เกิดความ
รู้สึกชาตินิยมขึ้นมา ประกอบกับเผด็จการจอมพลแปลก พิบูลสงครามที่ต้องการนำ
ส่วนที่เคยเสียไปกลับคืนมา

แต่มีกลุ่มคนไทยบางกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยที่ไทยเข้าร่วมกับญี่ปุ่ น มีการต่อต้านการเข้าร่วมกับญี่ปุ่ น
ได้จัดตั้งเป็ น "ขบวนการเสรีไทย" นำโดยแกนนำฝั่ งไทยคือปรีดี พนมยงค์ แกนนำฝั่ งอเมริกาคือ
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมชและแกนนำฝั่ งอังกฤษคือ ม.จ.ศุภสวัสดิวงศ์ สวัสดิวัฒน์ ร่วมมือกับฝ่ ายพันธมิตร

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ ายขบวนการเสรีไทยได้พยายามขอความเห็นใจจากฝ่ ายสัมพันธมิตร
ให้การประกาศสงครามของไทยเป็ นโมฆะ เพื่อจะได้ไม่ถูกปรับให้เป็ น
ประเทศแพ้สงคราม

การเกิดโศกนาฏกรรมครั้งยิ่งใหญ่
ทางรถไฟสายมรณะ

เกิดเหตุการณ์ขึ้น ณ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อเริ่มสร้างทางรถไฟสายมรณะในเดือนกันยายน พ.ศ. 2485 ทั้งคน
งานและเชลยศึกจำนวนหมื่นถูกเกณฑ์มาสร้างทางรถไฟยาว 415 กิโลเมตร ต้องโหมทำงานตลอดวันตลอดคืน
คนงานและเชลยศึกเหล่านั้นมีทั้งพม่า ชวา มลายู อังกฤษ ออสเตรเลีย ฮอลแลนด์ ต้องประสบความทุกข์
ทรมาน เจ็บปวดล้มตายเป็ นจำนวนมาก ทางรถไฟพังทลายเพราะน้ำเซาะคันดินและสะพานข้ามแม่น้ำแควถูก
ระเบิดครั้งแล้วครั้งเล่า จนถึงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2486 กองทัพญี่ปุ่ นจึงได้ทำพิธีเปิ ดทางรถไฟสายนี้อย่าง
เป็ นทางการ

ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง
ของไทย

1. ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญี่ปุ่ นรบ
2. เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง
3. ไทยได้ดินแดนเชียงตุง และสี่จังหวัดภาคใต้ที่ต้องเสียแกอังกฤษกลับมา
แต่ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง
4. ไทยได้รับเกียรติเป็ นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ

ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง

ด้านสังคม

สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำลายล้างชีวิตผู้คนจำนวน
มหาศาล มีผู้บาดเจ็บล้มตายในสงครามโลกครั้งที่ 2
มากกว่า 20 ล้านคน ทั้งยังทำให้เกิดการพลัดพราก
ในครอบครัว อนึ่ง สงครามโลกครั้งที่นี้ยังส่งผลกระ
ทบต่อจริยธรรมและศีลธรรมของผู้คนในสังคมอย่าง
มาก เนื่องจากการมีการประหัตประหารกันอย่าง
โหดร้ายทารุณ และการใช้อาวุธที่มีอานุภาพทำลาย
ล้างรุนแรงต่อมนุษยชาติ เช่น การที่สหรัฐอเมริกา
ทิ้งระเบิดปรมาณูญี่ปุ่ นที่เมืองฮิโรชิมา (Hiroshima)
วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 และที่เมืองนางาซากิ
(Nagasaki) ในอีก 3 วันต่อมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต
ทันทีมากกว่า 1 แสนคน

ด้านเศรษฐกิจ

ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากสงครามโลกครั้งที่ 2
มีมูลค่าที่ไม่อาจประเมินได้ ประเทศส่วนใหญ่ซึ่งรวม
ทั้งประเทศในยุโรปต้องเผชิญปั ญหาเศรษฐกิจนาน
นับ 10 ปี จึงฟื้ นตัวได้ ทำให้มีการก่อตั้งองค์การ
ทางการเงินระหว่างประเทศเพื่อช่วยบูรณะฟื้ นฟู
เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เช่น ธนาคารโลก และ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ
(International MonetaryFund = IMF)

ด้านการเมือง

สงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการ
เมืองของโลกที่สำคัญคือ ดินแดนอาณานิคมได้รับเอกราช
มีประเทศเกิดใหม่ในเอเชียและแอฟริกาจำนวนมาก อำนาจ
ของยุโรปเสื่อมลงจึงต้องผนึกกำลังเป็ นสหภาพยุโรป
(European Union)
ในปั จจุบัน สหรัฐอเมริกาซึ่งช่วยกอบกู้สถานการณ์สงคราม
และนำชัยชนะให้กับฝ่ ายพันธมิตรได้ขึ้นมาเป็ นผู้นำโลก
สหรัฐอเมริกาเข้าไปจัดระเบียบโลก และสร้างกฎเกณฑ์
ต่างๆ ขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะการนำ
ประชาคมโลกเข้าสู่ยุคสงครามเย็นที่ส่งผลต่อชะตากรรม
ของมนุษยชาติในโลกปั จจุบัน

ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง ?

1. การก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ(UN : United Nations)
2. การเกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ และบางประเทศถูกแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน เช่น
เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม
3. สภาพเศรษฐกิจตกต่ำ
4. ความสูญเสียทางด้านสังคมและทางจิตวิทยา
5. เกิดสงครามเย็นและการแบ่งกลุ่มระหว่างโลกเสรีประชาธิไตยกับโลกคอมมิวนิสต์

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

บ้านจอมยุทธ. (2543). ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. [ออนไลน์]. ได้จาก https://www.baanjomyut.com
/library_2/world_war_2/10.html [สืบค้นเมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565].

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาชน. ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. [ออนไลน์]. ได้จาก https://sar
anukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=4&chap=9&page=t4-9-infodetail06.html
[สืบค้นเมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565].

Satit. สงครามโลกครั้งที่ 2. [ออนไลน์]. ได้จาก http://satit.up.ac.th/BBC07/AboutStudent/Document
/Hist_ModernWorld/Century20th/pdf/WW2.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565].

วิกิพีเดีย. สงครามโลกครั้งที่ 2 World War II. [ออนไลน์]. ได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ สงคราม
โลกครั้งที่สอง [สืบค้นเมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565].

ผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 2. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จาก https://sites.google.com/site/singthi
snci555/phlk-ra-thb-khxng-sngkhramlok-khrang-thi-2 [สืบค้นเมื่อ วันที่ 19 กุมภาพันธ์
2565].

จตุพร ศุภลักษณ์. ผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่2. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จาก https://sites.google.co
m/site/jatuporn666g/home/phlk-ra-thb-khxng-sngkhramlok-khrang-thi2 [สืบค้นเมื่อ วันที่
19 กุมภาพันธ์ 2565].

สงครามโลกครั้งที่ 2 ฉบับรวบรัด. (2564). [ออนไลน์]. ได้จาก https://www.blockdit.com/posts/60b63
98d05bbb50d85fb9aeb [สืบค้นเมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565].

สุชยา เกษจำรัส. ลำดับเหตุการณ์ “ยุทธนาวีมิดเวย์”. (2562). [ออนไลน์]. ได้จาก https://www.beartai.
com/lifestyle/movies/376847 [สืบค้นเมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565].

นักรบพลีชีพ ของกองทหารกามิกาเซ่. (2564). [ออนไลน์]. ได้จาก https://patriotoutfitthailand.com/
blog/นักรบพลีชีพ-kamikaze/ [สืบค้นเมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565].

การยอมจำนนของกองทัพญี่ปุ่ นในสงครามโลกครั้งที่ 2. (2563). [ออนไลน์]. ได้จาก https://youtu.be/Xwh
3AxnK8sc [สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565].

พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2545) การศึกษาการขยายตัวของกองทัพญี่ปุ่ นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัย
สงครามมหาเอเชียบูรพา. [ออนไลน์]. ได้จาก file:///C:/Users/ADMINS/Downloads/student_arts,
+%7B$userGroup%7D,+25-01-02.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565].

สงครามโลกครั้งที่2. [ออนไลน์.] ได้จาก http://www.digitalschool.club/digitalschool/
social1_1_1/social3_1/lesson1_1/page4.php [สืบค้นเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565].

สาเหตุสงครามโลกครั้งที่2|ประวัติศาสตร์สากล. [ออนไลน์.] ได้จาก สงครามโลกครั้งที่ 2 | ประวัติศาสตร์สากล
(wordpress.com) [สืบค้นเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565].

สาเหตุสงครามโลกครั้งที่2-เหตุการณ์สำคัญ. [ออนไลน์] ได้จาก https://sites.google.com/site/hetkans
umkun/hetukarn-sakhay-ni-smay-krung-ratnkosinthr/sngkhramlok-khrang-thi-2 [สืบค้น
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565].

ชัยชนะของโซเวียตในสมรภูมิเบอร์ลิน – จุดจบของ นาซีเยอรมนี [ออนไลน์.] ได้จาก https://ngthai.com/his
tory/35888/sovietvictorybattleberlin/ [สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565].

นาซีรุกโปแลนด์มิใช่ต้นเหตุสงครามโลกครั้งที่ 2 ? เผยต้นเหตุในมุมฮิตเลอร์. [ออนไลน์.] ได้จาก https://
www.silpa-mag.com/history/article_43167 [สืบค้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565].

ส ม า ชิ ก

นายธนกร ชุณหะ เลขที่ 4



นายธนพัชร ชัยสุวรรณ เลขที่ 5



นางสาวภัทรวดี อดทน เลขที่ 26



นางสาววรญา โพธิ์อำพร เลขที่ 28



นางสาววิภาพร ภูษณวิทย์ เลขที่ 30



นางสาวอาทิตยา ไทรศรีคำ เลขที่ 34


Click to View FlipBook Version