The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by try.008, 2021-10-29 11:13:29

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

รวมวรรณกรรมทั้งหมด

วิวฒั นาการภาษาและ
วรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

คานา

หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) เร่ือง วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก จดั ทาขึ้น
เพ่ือศึกษาขอ้ มลู เกี่ยวกบั ภาษาและวรรณกรรมในแต่ละทวปี ซ่งึ มีรายละเอียดประกอบดว้ ย ทีม่ า ชนชาตใิ นทวปี ตา่ ง ๆ
ตัง้ แต่อดตี – ปัจจุบนั เหตกุ ารณ์สาคญั ที่เกิดข้ึนในแต่ละช่วง พรอ้ มทง้ั เช่ือมโยงเขา้ สูว่ รรณกรรมที่สาคญั ประเพณี
วฒั นธรรม โดยจัดทาขน้ึ มาเพอ่ื ให้คนทส่ี นใจหาความร้เู พิม่ เตมิ

โดยคณะผู้จดั ทาหวังว่า หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-book) เล่มนีจ้ ะมปี ระโยชน์ต่อนกั เรียน นักศกึ ษา และ
ผู้ตอ้ งการศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ทก่ี าลงั ศึกษาในเรอื่ งนี้อยู่ หากมีข้อผดิ พลาดประการใด คณะผู้จดั ทา ขออภยั มา ณ ทีน่ ด้ี ้วย

คณะผจู้ ดั ทา
กลุ่ม ASA1
นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ รุ่นที่ 76
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ



สารบญั หน้า

เร่ือง ข
คานา 1
สารบญั 27
บทนา 59
บทท่ี 1 วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมยูโรเปียน 91
บทท่ี 2 วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมภาระตะและเอเชียกลาง 133
บทท่ี 3 วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมจนี เกาหลี ญ่ีปุ่น 165
บทที่ 4 ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมอษุ าคเนย์-แปซิฟคิ 197
บทที 5 วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมอาหรบั อนาโตเลีย-เอเชียไมเนอร์ 229
บทที่ 6 ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอเมรกิ า 251
บทสรปุ
บรรณานกุ รม















บทนำ
กวำ่ จะมำเปน็ ภำษำและวรรณกรรม

ฃล

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

เกรนิ่ นำ

ภาษาคอื กญุ แจสาคญั สาหรบั การสอ่ื สาร เราจงึ ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ภาษานน้ั ไดเ้ ข้ามามีบทบาทในชีวิตของ
คนเราเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อส่ือสารกันโดยตรง การใช้อินเตอร์เน็ต การดูโทรทัศน์ การดู
ภาพยนตร์หรือการเขียนต่างๆ เพราะภาษาเป็นส่ิงที่ช่วยยึดให้มนุษย์มีความผูกผันต่อกัน เนื่องจากภาษามี
ระเบียบแบบแผน ซึ่งเป็นที่ตกลงกันในแต่ละชาติ แต่ละกลุ่ม การพูดภาษาเดียวกันจึงให้ความรู้สึกเหมือนเป็น
พวกเดียวกัน มีความผูกพันซ่ึงกันและกันในฐานะท่ีเป็นชาติเดียวกัน นอกจากน้ีภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหน่ึง
ของมนุษย์ และแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นด้วย เราจึงสามารถศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของชน
ชาติตา่ งๆไดจ้ าการศกึ ษาภาษาของชนชาตนิ ้นั ๆ วรรณกรรมคอื สงิ่ ท่แี ฝงอยใู่ นช่องระหวา่ งภาษา และยังสะทอ้ น
ให้เหน็ ถึงภูมปิ ัญญาของผูป้ ระพันธ์ และถา้ มองใหล้ ึกเข้าไปอีกก็จะเห็นความจรงิ ใจท่ผี ู้เขยี นต่อตนเองและผู้อ่าน
ด้วยเช่นเดียวกัน วรรณกรรมเป็นส่วนหน่ึงของอารยธรรมท่ีเจริญแล้วและทุกชาติมีวรรณกรรมเป็นของตนเอง
ไม่ว่าจะมากหรือน้อย ดีหรือเลว ก็แล้วแต่ความเจริญทางจิตใจของชนชาติน้ัน ด้วยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงเป็น
เคร่อื งมอื ส่อื สารความรูส้ ึกนึกคิดโดยถ่ายทอดผา่ นจินตนาการของผปู้ ระพันธ์ การศกึ ษาหรอื อ่านวรรณกรรมน้ัน
จะทาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของยุคสมัยที่ผู้ประพันธ์ได้สะท้อนผ่าน
มมุ มองของตนออกมา รวมท้ังทาใหผ้ ูอ้ ่านเข้าใจความรสู้ ึกนึกคิดของผู้คนที่มีต่อสภาพการณ์เหล่านน้ั ด้วย ดังน้ัน
วรรณกรรมจึงมีความสาคัญต่อมนุษย์แทบทุกด้าน เราอาจจะกล่าวได้ว่า สังคมมนุษย์ที่เจริญด้านอารยธรรม
และเทคโนโลยีในปจั จุบนั น้ี ต่างก็ต้ังอย่บู นพ้นื ฐานของวรรณกรรม

ในโครงงานเรื่อง วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมนั้น ไดแ้ บ่งหัวข้อใหญอ่ อกเป็น 6 หัวข้อ ไดแ้ ก่
1. วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมยโู รเปยี น
2. วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชยี กลาง
3. วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมจีน เกาหลี และญ่ปี นุ่
4. ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมอุษาคเนย์-แปซฟิ ิค
5. ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมอาหรับ อนาโตเลยี -เอเชยี ไมเนอร์
6. ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอเมริกา

3

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมยูโรเปยี น
ท่ีมา: https://en.wikipedia.org/wiki/Languages_of_Europe
https://en.wikipedia.org/wiki/Western_literature

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

วิวัฒนำกำรของภำษำและวรรณกรรมสรำ้ งสรรค์ ในดนิ แดนทวปี ยุโรป

ทวีปยุโรป โดยเฉพาะกรีซโบราณเป็นแหล่งกาเนิดวัฒนธรรมตะวันตก แต่การล่มสลายของจักรวรรดิ
โรมันตะวันตกใน ค.ศ 476 และการย้ายถ่ินฐานช่วงต่อมา น้ันเป็นจุดจบของสมัยโบราณและเป็นจุดเร่ิมต้น
ของสมัยกลาง ต่อมาในยุคฟ้ืนฟูศิลปะวิทยานั้น เป็นรากฐานที่สาคัญสู่ยุคสมัยใหม่ และต้ังแต่ยุคแห่งการ
สารวจเปน็ ตน้ มา ยุโรปก็มบี ทบาทสาคัญในด้านเศรษฐกิจระดับโลก

ภาษาท่ีใชใ้ นทวีปยุโรปมาจากตระกลู ภาษาอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งแบง่ เปน็ 3 กลุ่มคือ
1. กลมุ่ ภาษาเจอร์มานกิ ใชก้ ันในกลมุ่ สแกนดเิ นเวีย เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ออสเตรยี ไอร์แลนด์ สหราช
อาณาจักร และบางสว่ นของสวิตเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม
2. กลุ่มภาษาโรมานซ์ หรอื กลุม่ ภาษาละติน ใชก้ ันใน อิตาลี สเปน ฝร่ังเศส โปรตุเกส และโรมาเนยี
3. กลุ่มภาษาสลาวกิ ใช้กนั ในภาคกลางและภาคตะวันออกของยโุ รป ในคาบสมุทรบอลข่าน และสหพันธรฐั
รสั เซีย

วรรณกรรมยูโรเปียนมีจุดเร่ิมต้นข้ึนในสมัยแองโกล-แซกซัน โดยพวกเขาใช้ภาษาอังกฤษแบบเก่า ซึ่งมี
ความเก่ียวข้องกับภาษาเจอร์มานิก วรรณกรรมส่วนใหญ่ในสมัยนน้ั ยกย่องวีรบุรษุ และการสอนศาสนาหรอื
ศีลธรรม ส่วนในยคุ กลางวรรณกรรมจะนิยมแต่งเปน็ ภาษาละตนิ โดยแบ่งเป็น วรรณกรรมทางศาสนา และ
วรรณกรรมทางโลก

ต่อมาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป และเป็น
จุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ วรรณกรรมในยุโรปตะวันตกมีผลงานท่ีเขียนด้วยภาษาท้องถ่ินและสะท้อน
ความคดิ ด้านมนษุ ยนยิ มอยา่ งแพร่หลายเนื่องจากมเี คร่อื งแทน่ พิมพ์หนังสอื ท่สี ามารถพมิ พห์ นังสอื ไดจ้ านวน
มากในเวลารวดเรว็ นอกจากการพิมพ์จะเปน็ การเผยแพร่แนวคดิ แบบมนุษย์นิยมแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้
เกิดการผลติ ผลงานวรรณกรรมของนักวชิ าการ และกวีในสังคมยุโรปอกี ด้วย

5

และในยุคที่วรรณกรรมเฟื่องฟูมากที่สุด น้ันก็คือยุควิกตอเรีย ซึ่งเป็นรัชสมัยของสมเด็จพระราชินี
นาถวิกตอเรีย (พ.ศ. 2380-2444) การเขียนภาษาอังกฤษในยุคน้ีสะท้อนให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงครั้ง
สาคัญเช่นความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรเ์ ศรษฐกิจและเทคโนโลยีท่ีสาคญั ต่อการเปลย่ี นแปลงโครงสร้างชน
ช้ันและบทบาทของศาสนาในสังคม ในขณะที่ช่วงเวลาโรแมนติกเป็นช่วงเวลาแห่งการแสดงออกเชิง
นามธรรมและมุง่ เน้นไปในตัวนกั เขียนเรียงความกวีและนกั ประพนั ธ์

เอกสำรอ้ำงอิง

 "International migrant stock: By destination and origin". United Nations.
 Friedman, Lawrence; Perez-Perdomo, Rogelio (2003). Legal Culture in the Age of

Globalization: Latin America and Latin Europe. Stanford University Press. p. 1. ISBN 0-
8047-6695-9.
 Alexander, Marie; et al. (2009). "2nd International Conference of Maltese Linguistics:
Saturday, September 19 – Monday, September 21, 2009". International Association
of Maltese Linguistics. Retrieved 2 November 2009.
 "Western literature". Encyclopædia Britannica. Retrieved 19 May 2014.
 Reagan, Timothy (2014). "Language Policy for Sign Languages". The Encyclopedia of
Applied Linguistics. pp. 1-6. doi:10.1002/9781405198431.wbeal1417. ISBN
9781405194730

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

 Darquennes, Jeroen; Nelde, Peter (2006). "German as a Lingua Franca". Annual
Review of Applied Linguistics. 26: 61–
77. doi:10.1017/s0267190506000043. S2CID 61449212.

 Özkan, Hakan (2013). "The Pontic Greek spoken by Muslims in the villages of
Beşköy in the province of present-day Trabzon". Byzantine and Modern Greek
Studies. 37 (1): 130–150. doi:10.1179/0307013112z.00000000023.

 Jones, Branwen Gruffydd (2006). Decolonizing international relations. Lanham, MD:
Rowman & Littlefield. p. 98.

 Calvet, Louis Jean (1998). Language wars and linguistic politics. Oxford [England];
New York: Oxford University Press. pp. 175–76.

7

วิวัฒนาการของภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชยี กลาง
ท่มี า: https://hmong.in.th/wiki/Indian_literature

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Languages_of_India

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

วิวฒั นำกำรของภำษำและวรรณกรรมสร้ำงสรรค์ในดินแดนทวีปภำรตะและเอเชียกลำง

วิวัฒนาการของภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชียกลาง คือช่วงเวลาท่ีภาษาเเละวรรณกรรมนั้น
เกิดขึ้นมาเเละเหล่ียนเเปลงไปเรื่อยๆจนถึงปัจจุบัน ภาษาของเอเชียกลาง ในสมัยเก่าใช้เขียนคัมภีร์ พระ
ไตรปิฏก ในสมัยใหม่ถึงปัจจุบันเป็นภาษาท่ีมาจากภาษาปรกฤต มีภาษามากกว่า200ภาษาที่ใช้กันแต่ส่วน
ใหญ่จะใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษากลางในการสื่อสารหรือภาษาของเเต่ละประเทศ วรรณกรรมหรือศิลปะท่ี
เป็นผลงานอนั เกดิ จากการคิด และจนิ ตนาการ และเรยี บเรยี ง นามาบอกเล่า บนั ทึก ขบั ร้อง หรอื สือ่ ออกมา
ดว้ ยวธิ ตี ่าง ๆ ของชาวตะวนั ออกกลาง เชน่ วรรณกรรมเรื่อรามายณะที่เป็นวรรณกรรมทีโ่ ด่งดังเป็นวรรณคดี
ประเภทมหากาพยข์ องอินเดยี เชื่อว่าเป็นนทิ านที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นท่ีของชมพทู วีป
แต่ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ เมื่อกว่า 2,400 ปีมาแล้ว โดยประพันธ์ไว้เป็นบท
ร้อยกรองประเภทฉันท์ภาษาสันสกฤต จากตัวอย่างวรรณกรรมที่ได้กล่าวมาก็เชื่อมโยงกับภาษาที่ใช้เพื่อ
เเต่งวรรณกรรมดว้ ยจงึ เเสดงให้เหน็ วา่ วิวัฒนาการของวรรณกรรมเเละภาษานนั้ มีมาอยา่ งยาวนาน

เอกสำรอำ้ งอิง

 Press Trust of India (25 January 2010). "Hindi, not a national language: Court". The
Hindu. Ahmedabad. Retrieved 23 December 2014.

 "Decline of Farsi language – The Times of India". The Times of India. Retrieved 26
October 2015.

 Avari, Burjor (11 June 2007). India: The Ancient Past: A History of the Indian Sub-
Continent from C. 7000 BC to AD 1200. Routledge. ISBN 9781134251629.

9

ววิ ัฒนาการของภาษาและวรรณกรรมจีน เกาหลี ญีป่ นุ่
ที่มา: https://en.m.wikipedia.org/wiki/East_Asian_languages

https://en.m.wikipedia.org/wiki/East_Asian_literature

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

ววิ ฒั นำกำรของภำษำและวรรณกรรมสร้ำงสรรค์ ในดินแดนทวปี เอเชยี ตะวนั ออก

จนี เปน็ ประเทศท่ีมเี อกภาพแต่หลากชนชาติ มีชนชาตทิ ั้งหมด 56 ชนชาตดิ ้วยกัน ซึ่งใช้ภาษาจีนเป็นหลัก
ตัวอกั ษรจนี เปน็ ตัวอักษรท่ีมีการใชม้ าเป็นเวลานาน การสร้างและการใชต้ ัวอักษรจีนไมเ่ พียงทาให้วฒั นธรรม
จีนพัฒนาเท่านั้น แต่ไดส้ ่งอทิ ธิพลตอ่ การพัฒนาวฒั นธรรมโลก

ตวั อักษรจนี เรม่ิ กลายเป็นตวั อักษรทมี่ รี ะบบในสมัยราชวงศซ์ าง ศตวรรษท1่ี 6ก่อนคริสตก์ าล ภาษาจนี
เปน็ ภาษาในตระกูลจีน-ทเิ บต ในภาษาจนี มีภาษาถ่นิ มากมาย โดยแบ่งออกเป็นเขตภาษาถ่ิน 7 เขตดว้ ยกัน
แต่ระบบตวั อักษรทีป่ ระชาชนทวั่ ประเทศจีนใช้นน้ั เหมือนกันทุกประการ ดังนั้นภาษาทใ่ี ช้จงึ ถือว่าเป็นภาษา
เดยี วกันคอื ภาษาจีน

โดยดัง้ เดมิ นน้ั ชาวเกาหลีใช้ตัวอกั ษรของจนี ซงึ่ เขา้ มามีอิทธิพลในประเทศเกาหลตี ั้งแต่ 2,000 ปมี าแล้ว
เมื่อจีนได้เข้ามาปกครองประเทศเกาหลีในช่วง พ.ศ. 435 ถึง พ.ศ. 856 ทาให้ภาษาจีนมีการใช้อย่าง
กว้างขวาง และเริ่มใช้อักษรจีนโบราณในการเขียนภาษาเกาหลี เมื่อประมาณ พ.ศ. 1000 อักษรจีนที่ยืมมา
ใช้ได้แพร่เข้าสู่อาณาจักรเกาหลีผ่านพระพุทธศาสนา ชาวเกาหลีได้ปรับใช้ภาษาจีนให้เข้ากับไวยากรณ์
อักษรฮันจาได้ใช้ในการเขียนภาษาเกาหลีมาตลอด จนกระทั่งพระเจ้าเซจงได้ประดิษฐ์ตัวอักษรฮันกึลข้ึนมา
ในระหว่างปี พ.ศ. 1987 - 1989

ภาษาญี่ปนุ่ ไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอยา่ งมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ท่ไี ดน้ ามาเผยแพร่
มาในประเทศญ่ีปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีท่ีแล้ว ก่อนพ.ศ. 900 ภาษาญ่ีปุ่นไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง
หลังจากนั้น เริ่มปรับปรุงอักษรจีนมาใช้ คาดว่าผ่านมาทางเกาหลี คร้ังแรกภาษาญี่ปุ่นเขียนด้วยอักษรจีน
โบราณ หรือรูปแบบผสมระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เม่ือเวลาผ่านไป ระบบการเขียนเป็นแบบใช้อักษรจีนเขียนคา
ยืมจากภาษาจีน หรือคาในภาษาญ่ีปุ่นท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน รูปแบบอักษรจีนยังใช้แทนการออกเสียง
ในการเขียนไวยากรณ์

11

เกาหลแี ละญปี่ ่นุ ไดร้ ับอทิ ธิพลด้านภาษาและวรรณกรรมจากจนี ในระยะเร่มิ แรกของวรรณกรรมเกาหลี
และญี่ปนุ่ ก็ยงั มกี ารแต่งวรรณกรรมเป็นภาษาจีนอยู่จนกระทั่งมีการสรา้ งอักษรของตวั เอง

สมัยโบราณประเทศจีนมีวรรณกรรมที่มีเอกลักษณ์ในแต่ละสมัย เมื่อประมาณ 2500 ปีก่อน ใน
ราชวงศ์โจวปลายช่วงชุนชิว บทกวีเรื่องซือจิงซึ่งเป็นหนังสือรวมบทกวีที่รวบรวมโดยขงจื๊อได้ถือกาเนิดข้ึน
ต่อมากม็ บี ทกวีทีเ่ ขยี นโดยชวีเหวียน ซึ่งเป็นขนุ นางตงฉนิ ได้ผลติ บทกวซี ง่ึ ถือกนั วา่ เป็นวรรณกรรมช้นิ เอกใน
ประวัติศาสตร์จนี ในสมัยราชวงศ์ฮั่น ถังฯ ก็มีวรรณกรรมท่ีมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่างกัน บทกวีที่โดด
เด่นในสมัยราชวงศ์ฮั่นท่ีเป็นท่ีนิยมมาก เรียกว่าฟู่ ซึ่งมีลักษณะที่ผสมผสานกันระหว่างบทกลอนและความ
เรียง เล่าถึงเร่ืองราวในสมัยนั้นและตานานในสมัยโบราณและในสมัยราชวงศ์ถังวรรณกรรมประเภทบท
กลอนมคี วามเฟ่อื งฟมู าก

วรรณกรรมเกาหลีส่วนใหญ่มักจะแต่งเก่ียวกับเรื่องธรรมชาติ พระพุทธศาสนาในแง่ที่เก่ียวกับวิญญาณ
คือการเกิดใหม่หรือเชื่อว่าชาติหน้ามีจริง ความรักสันโดษและความพอใจในตนเองจะปรากฏเด่นใน
วรรณกรรมท่ัวๆไปของเกาหลี นอกจากน้ีก็ยังมีอิทธิพลของขงจื้อฝังรากลึกอยู่ในวรรณกรรมเกาหลีด้วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเก่ียวกับมนุษยธรรมนิยม เก่ียวกับอานาจเหนือธรรมชาติเวทมนตร์คาถา นอกจากน้ีก็
กล่าวถึงความซ่ือตรงจงรักต่อพระมหากษตั รยิ ์ความเหน็ อกเห็นใจกนั ความเช่ือถือในอาวุโสความไวว้ างใจท่ีมี
ต่อมิตรและความสมั พันธข์ องผหู้ ญิง

วรรณกรรมญ่ีปุ่นชิ้นแรกได้แก่หนังสือประวัติศาสตร์ท่ีชื่อ โคะจิกิ และ นิฮงโชะกิ และหนังสือบทกวี
สมัยศตวรรษที่ 8 ที่ชื่อ มังโยชู ซึ่งเขียนด้วยภาษาจีนท้ังหมด ในช่วงต้นของยุคเฮอัง มีการสร้างระบบการ
เขียนแทนเสียงท่ีเรียกว่า คะนะ นิทานคนตัดไม้ไผ่ ถูกพิจารณาว่าเป็นงานที่เก่าแก่ที่สุดท่ีเขียนด้วย
ภาษาญี่ปุ่น ตานานเก็นจิท่ีเขียนโดยมุระซะกิ ชิกิบุถูกเรียกว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นแรกของโลก ระหว่างยุคเอ
โดะวรรณกรรมไม่อยู่ในความสนใจของซามูไรเท่ากับโชนิน ชนช้ันประชาชนท่ัวไป ตัวอย่างเช่น โยะ

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

มิฮง กลายเป็นที่นิยมและเผยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่ลึกซึ้งระหว่างนักอ่านกับนักเขียน ในสมัยเม
จิ วรรณกรรมด้ังเดิมไดเ้ สอ่ื มสลายลง ขณะทวี่ รรณกรรมญปี่ ุน่ ได้รับอิทธิพลจากตะวนั ตกมากขน้ึ

เอกสำรอ้ำงองิ

 Starosta, Stanley (2005). "Proto-East Asian and the origin and dispersal of languages
of east and southeast Asia and the Pacific". In Sagart, Laurent; Blench, Roger;
Sanchez-Mazas, Alicia (eds.). The Peopling of East Asia: Putting Together
Archaeology, Linguistics and Genetics. London: Routledge Curzon. pp. 182–
197. ISBN 978-0-415-32242-3.

 Wulff, Kurt. 1934. Chinesisch und Tai: Sprachvergleichende Untersuchungen.
Copenhagen: Levin & Munksgaard.

 Blust, Robert; Trussel, Stephen (June 21, 2020). "Austronesian Comparative
Dictionary, web edition". Archived from the original on August 6, 2020.
Retrieved November 10, 2020.

 Miyake, Marc Hideo (2004), Old Japanese: A Phonetic Reconstruction,
RoutledgeCurzon, ISBN 978-0-415-30575-4.

 Ramsey, S. Robert (1987), The Languages of China, Princeton University
Press, ISBN 978-0-691-01468-5.

 Sidwell, Paul; Blench, Roger (2011), "The Austroasiatic Urheimat: the Southeastern
Riverine Hypothesis"(PDF), in Enfield, N.J. (ed.), Dynamics of Human Diversity: The
Case of Mainland Southeast Asia, Canberra: Pacific Linguistics, pp. 317–
345, ISBN 978-0-85883-638-9.

13

วิวัฒนาการของภาษาและวรรณกรรมอษุ าคเนย์-แปซฟิ คิ
ที่มา: https://en.m.wikipedia.org/wiki/Southeast_Asia

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Literature_about_Southeast_Asia

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

ววิ ัฒนำกำรของภำษำและวรรณกรรมสรำ้ งสรรค์ในดินแดนทวปี เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

อุษาคเนย์-แปซิฟิก(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-เอเชียแปซิฟิก) เอเชียแปซิฟิก เป็นเป็นภูมิภาคของโลกท่ี
อยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซ่ึงครอบคลุมพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของเอเชียตะวันออก เอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซงึ่ อาจรวมไปถงึ เอเชยี ใต้ สหพนั ธรฐั รัสเซยี และประเทศใน
ทวีปอเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใต้ทต่ี ดิ กับมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกดว้ ย

ส่วนเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ ป็นภมู ภิ าคท่ีอยู่ทางตะวนั ออกเฉียงใตข้ องทวปี เอเชยี ระหว่างประเทศใหญ่
2 ประเทศ คือ จีนกับอินเดีย ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยดินแดน 2
ส่วน คือ ส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ ประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชาและมาเลเซีย (ตะวันตก) ส่วนท่ีเป็น
เกาะ ไดแ้ ก่ สิงคโ์ ปร์ อินโดนเี ซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย (ตะวันออก) และตมิ อร์ คาวา่ "เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้" เริ่มใช้ระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เมื่อสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ หรือฝ่ายสัมพันธมิตร ได้ต้ังศูนย์
บัญชาการการรบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขึ้นใน ค.ศ.1943 เพื่อทาสงครามกับญ่ีปุ่น การเรียกช่ือแบบร้
เพราะ เพือ่ ความเดน่ ชัดในทางด้านภูมิศาสตร์

โดยอุษาคเนย์-แปซิฟิก(เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้-เอเชียแปซิฟิก)นักประวตั ิศาสตรเ์ อเชียตะวันออกเฉยี ง
ใต้ชาวออสเตรเลียแบ่งยคุ สมยั ไว้อยา่ งหลวมๆ คอื

1. สมัยคลาสสิค สาหรับสมัยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่
ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณกับโรมันโบราณที่เรียกว่า โลกกรีก-โรมัน สมัย
คลาสสกิ เปน็ สมัยท่ีวรรณคดกี รีกและละตินมีความรุ่งเรืองฒนธรรมของกรีกโบราณมีอิทธิพลเป็นอัน
มากต่อภาษา ระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ปรัชญา วทิ ยาศาสตร์ ศิลปะ และสถาปตั ยกรรม
ของยุคใหม่ และเป็นเชื้อที่นามาสู่ยุคฟ้ืนฟูศิลปวิทยาต่อมาในยุโรปตะวันตก และต่อมาในยุคฟื้นฟู
คลาสสิกในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18 และ 19

2. .สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหนึ่งของอารยธรรมต่างๆ ซ่ึงในช่วงน้ี อารยธรรมน้ัน ๆ จะเริ่มมีการนา
เทคโนโลยีเข้ามาใช้ เร่ิมมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเช่ืองมงายหลายอย่างใน

15

อดีต นักวิชาการได้กาหนดช่วงเวลาท่ีเป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ.
1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และส้ินสุดลงหลังสงครามโลกคร้ังที่
สองยุติ

ทางดา้ นภาษาของอษุ าคเนย์-แปซิฟิก(เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้-เอเชียแปซิฟิก)สาเหตุสาคัญที่ทาให้ชาว
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดความคิดชาตนิ ิยมคือ ชาติตะวันตกใช้ภาษาของตนเป็นภาษาราชการ ทาให้ชาว
พื้นเมืองซึ่งมีความแตกต่างกันในเร่ืองภาษามากมายได้ใช้ภาษาของชาติตะวันตกเป็นภาษากลาง ทาให้ชาว
พ้ืนเมืองสามารถติดต่อส่ือสารถึงกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดหรือห่างไกลแค่ไหน ดังเช่นฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย
โดยส่วนใหญ่ ทุกประเทศในอุษาคเนย์-แปซิฟิก จะมีภาษาอังกฤษ เกือบทุกประเทศโดยประเทศท่ีใช้
ภาษาอังกฤษจะมี กัมพูชา ไทย บรูไน ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และบาง
ภาษาก็มีต้นกาเนิดมาจากภาษาหน่ึงมาแปลงเพ่ิมได้เป็นอีหนึ่งภาษา เช่น ภาษาไทยและภาษาลาว ภาษา
ลาวที่คลา้ ยกับภาษษไทยเพราะภาษาทางการของประเทศลาว เปน็ ภาษาที่มวี รรณยุกต์ในกลุม่ ภาษาไท และ
สัมพันธ์ใกล้ชิดกับของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซ่ึงเป็นระบบอักษรสระ
ประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระท่ีจะอยู่ด้านหน้า หลัง
บน ล่าง ของพยญั ชนะ) และสัมพันธ์ใกลช้ ิดกับอักษรไทย

เอกสำรอำ้ งองิ

 Cœdès, George (1968). Walter F. Vella (ed.). The Indianized States of Southeast
Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-0368-1.

 Panikkar, K. M. (1953). Asia and Western dominance, 1498-1945, by K.M. Panikkar.
London: G. Allen and Unwin.

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

 R. C. Majumdar, History of the Hindu Colonization and Hindu Culture in South-East
Asia; Ancient Indian colonisation in South-East Asia; Hindu Colonies in the Far East,
Calcutta, 1944, ISBN 99910-0-001-1

 Shorto, Harry L., et al. 2006. A Mon–Khmer Comparative Dictionary. Canberra:
Australian National University. Pacific Linguistics. ISBN 0-85883-570-3.

17

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอาหรับ อนาโตเลยี -เอเชียไมเนอร์
ที่มา: https://en.m.wikipedia.org/wiki/Middle_East

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Arabic_literature

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

ววิ ฒั นำกำรของภำษำและวรรณกรรมสรำ้ งสรรค์ในดินแดนทวปี เอเชียตะวนั ออกกลำง

อาหรบั เป็นดินแดนที่อยู่ในทวีปเอเชีย ในเอเชยี ตะวนั ออกกลาง ตั้งอยรู่ ะหว่าง 3 ทวีป คอื ยุโรป
แอฟริกา และเอเชีย ภมู ิภาคนี้เปน็ แหลง่ กาเนดิ อารยธรรมโบราณทส่ี าคญั คือ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี
อารยธรรมอยิ ิปต์ และอารยธรรมอิสลามท่ียงั คงอย่ถู งึ ปัจจุบนั แล้วยังเป็นแหลง่ กาเนิดศาสนาท่ีสาคญั คือ
ศาสนาคริสต์ อสิ ลาม และยูดายหรือยวิ นอกจากน้ีชาวตะวันออกกลางสว่ นใหญ่มีเชื้อสายอาหรบั จึงทาให้
อารยธรรมอสิ ลามมคี วามสาคัญเปน็ อย่างมาก

ภาษาอาหรับเคยเปน็ ภาษากลางที่มบี ทบาทต่อศาสตร์สาคัญตา่ งๆมากมาย ท้ังภาษาแห่งวิทยาศาสตร์
บทกวี วรรณกรรม การเมอื งการปกครอง และภาษาแหง่ ศิลปะ รวมถงึ มีการหยบิ เอาตาราภาษากรกี ภาษา
โรมัน และตาราโบราณอื่นๆในดา้ นวิทยาศาสตร์ ปรัชญาและวรรณกรรมมาแปลเปน็ ภาษาอาหรับ และหน่ึง
ในวทิ ยาการท่ีโดดเด่นและลา้ สมัยท่ีสดุ คอื ศาสตร์แห่งดวงดาวหรือดาราศาสตร์ ศาสตร์อีกแขนงทโี่ ดดเดน่
และเปน็ ทร่ี ู้จกั ทว่ั โลกคือ ศาสตรแ์ ห่งงานศลิ ป์ มหี นึง่ ในรปู แบบงานศลิ ปะทไ่ี ดร้ ับการบรู ณะคืองานอกั ษร
วิจติ ร ทม่ี ีการผสมผสานระหว่างตัวอกั ษรกบั รูปแบบของธรรมชาตแิ ละรปู ทรงเรขาคณติ อีกทั้งยังมตี วั เลข
อาหรบั หรอื ที่รจู้ ักกันดี คอื ตวั เลขอารบกิ เปน็ ตวั เลขท่ยี ังคงแพร่หลายมาถงึ ปัจจบุ นั

ตอ่ ไปคือวรรณกรรมอาหรับที่เกิดขน้ึ ในชว่ งศตวรรษท่ี 5 โดยมีเพียงเศษเสยี้ วของภาษาเขียนท่ีปรากฎ
กอ่ นหนา้ นัน้ ซงึ่ มีคัมภรี ์อัลกุรอานท่ีได้รบั การยกยอ่ งอย่างกวา้ งขวางวา่ เป็นชน้ิ สว่ นท่ดี ีทส่ี ดุ ของวรรณกรรม
ในภาษาอาหรับ

อนาโตเลยี – เอเชยี ไมเนอร์ เปน็ ดินแดนท่ีอยูใ่ นภมู ภิ าคเอเชียตะวันตกเฉยี งใต้ อย่รู ะหวา่ งทะเลดา
และทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ดินแดนในปจั จุบนั คือ ปาเลสไตน์ ตรุ กี และซเี รยี มีอารยธรรมเกา่ แกท่ ส่ี าคัญ คอื
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และอารยธรรมอิยิปต์ ซงึ่ ก่อใหเ้ กิดชนชาตทิ ี่เก่าแก่ ได้แก่ ฟนิ เิ ชยี น ฮบี รู และเปอร์
เชีย และมีศาสนาทเ่ี กดิ ขนึ้ คือ ศาสนายูดาย ครสิ ต์ อสิ ลาม และศาสนาโซโรแอสเตอร์

19

ชาวฟนิ เิ ชยี นไดม้ กี ารดัดแปลงแกไ้ ขอักษรไฮแรติกของอิยิปต์และอักษรลิม่ หรือคูนิฟอรม์ ของชาวสุเม
เรยี น มาเป็นอกั ษรแอลฟาเบต ซ่ึงไดม้ าเป็นต้นแบบของอกั ษรกรกี และได้มกี ารพฒั นามาเปน็ ตัวอกั ษรฮีบรู

ส่วนภาษาของอนาโตเลียทรี่ ู้จักกันดี คือ ภาษาฮิตไทต์ ซง่ึ มาจากตน้ ตระกูลของภาษาอนิ โด-ยโู รเปยี น
และยังมภี าษาลเู วีย ทีเ่ ป็นภาษาใกล้เคียงกบั ภาษาฮติ ไทต์ แบง่ เป็น ภาษาลูเวยี อักษรรูปล่ิม และภาษาลูเวีย
ไฮโรกลิฟ ซึ่งทง้ั หมดน้ถี ูกจดั ว่าเป็นภาษาทีต่ ายแล้ว เป็นภาษาทส่ี ูญหายไปประมาณ 557 ปกี ่อนพุทธศกั ราช

วรรณกรรมในอนาโตเลียส่วนใหญจ่ ะพบในตรุ กี ซ่ึงไดร้ บั อิทธพลมาจากเปอรเ์ ซียและวรรณคดี
อาหรับ วรรณกรรมจะแบง่ ออกเปน็ 3 ยุค คือ ก่อนอิสลาม - อสิ ลาม - สมยั ใหมห่ รือก่อนออตโตมนั กวี
นพิ นธท์ ีโ่ ดดเดน่ ในวรรณกรรมออตโตมนั คือกวีนิพนธ์ Divan-I Kebir ท่เี ขียนในภาษาเปอรเ์ ซีย

เอกสำรอำ้ งอิง

 Allen, Roger (1995). The Arabic Novel: An Historical and Critical Introduction (2nd
ed.). Syracuse University Press. ISBN 978-0815626411.

 Ashtiany, Julia; Johnstone, T. M.; Latham, J. D.; Serjeant, R. B.; Smith, G. Rex, ed.
(1990). Abbasid Belles-lettres. Cambridge University Press. ISBN 9780521240161.

 Beeston, A. F. L.; Johnstone T. M.; Serjeant, R. B.; Smith, G. R., ed. (1983). Arabic
Literature to the End of the Umayyad Period. Cambridge University Press. ISBN 0-
521-24015-8.

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

 Hassan, Nawal Muhammad (1980). Hayy Bin Yaqzan and Robinson Crusoe: a Study
of an Early Arabic Impact on English Literature. Al-Rashid House for Publication.

 Al-Jallad, Ahmad (2015). An Outline of the Grammar of the Safaitic Inscriptions.
Brill. ISBN 978-90-04-28982-6. Archived from the original on 23 July 2016.
.

21

วิวัฒนำกำรภำษำและวรรณกรรมอเมรกิ ำ
ที่มำ: https://en.m.wikipedia.org/wiki/American_English

https://en.m.wikipedia.org/wiki/American_literature

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

วิวฒั นำกำรของภำษำและวรรณกรรมสรำ้ งสรรค์ ในดนิ แดนทวปี อเมรกิ ำ

บรรพบรุ ุษของชนพ้ืนเมอื งอเมริกันเชื่อกันว่าเป็นผู้อพยพมาจากทวีปเอเชียเม่ือ 40,000-12,000 ปีก่อน
ผา่ นชอ่ งแคบเบริง โดยสมัยนั้นชาวยโุ รปจะเรียกชนพื้นเมืองกลุม่ นีว้ า่ Red Indian หรือท่เี ราเคยได้ยินกันว่า
อินเดียนแดง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 เผ่าใหญ่ ได้แก่ เผ่ามายา เผ่าแอซเท็ก และเผ่าอินคา (ในปัจจุบันใช้คาว่า
Native American) โดยมีพฒั นาการทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีหลากหลายในเวลาตอ่ มา

ภาษาของชาวอินเดียนแดงส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนา มีการใช้ภาษา Indigenous
languages of the Americas สื่อสารกัน ในชนเผ่าแอซเท็กช่วงแรกจะใช้ภาพและสัญลักษณ์ ท่ีเรียกว่า
glyphs เพื่อเป็นตัวแทนของคาพูดและความคิด และได้มีการทาเป็นหนังสือโบราณที่เขียนด้วยลายมือของ
ชนเผ่าแอซเท็กเกิดข้ึนตามมา หลังจากยุคล่าอาณานิคมได้จบลง ภาษาของอเมริกาก็มีความหลาหลายมาก
ขึ้น แตส่ ่วนมากจะได้รบั อิทธิพลจากภาษาอังกฤษ เนอื่ งจากเคยตกเป็นเมืองข้ึน และต่อมาภาษาอังกฤษก็ได้
กลายมาเป็นภาษาประจาชาติของอเมรกิ

วรรณกรรมในอเมรกิ าเกิดข้ึนในชว่ งเวลาไลเ่ ลี่ยกัน ซึ่งวิวัฒนาการด้านภาษาและวรรณกรรมในอเมริกา
ลว้ นได้รบั อิทธพิ ลมาจาก วิถชี วี ิต สภาพสังคม วัฒนธรรม ประเพณีและเหตกุ ารณ์ต่างๆทเี่ กดิ ข้ึนในชว่ งเวลา
น้ัน วรรณกรรมท่ีมีช่ือเสียงของอเมริกามีหลากหลาย ทั้งท่ีเป็นหนังสือ นิยาย นวนิยาย ภาพยนตร์ เพลง
การ์ตูน เช่น คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา, The Constitution of United States, The Power of
Sympathy, Brokeback Mountain, Fences, Strange Fruit, Ymca, Mickey Mouse, The Simpsons
Marvel Cinematic Universe; MCU จักรวาลมาร์เวล

เอกสำรอำ้ งอิง

 Lease, Benjamin (1972). That Wild Fellow John Neal and the American Literary
Revolution. Chicago, Illinois: University of Chicago Press. p. 80. ISBN 0-226-46969-7

23

ทวีปยุโรป เป็นแหล่งกาเนิดของภาษา,วรรณกรรมและวัฒนธรรมของชาวตะวันตก โดยมี 3 กลุ่มภาษาหลักท่ี
สาคัญ ได้แก่ กล่มุ ภาษาเจอรม์ านิก กล่มุ ภาษาโรมานซ์ และกลุม่ ภาษาสลาวิก โดยทงั้ 3 ภาษานัน้ มีตน้ กาเนิดมา
จากตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ส่วนวรรณกรรมของทวีปยุโรปนั้น จะมีจุดเปลี่ยนท่ีสาคัญอยู่ 3 ช่วง โดย
ช่วงแรกคือ ชนเผ่าแองโกล-แซกซัน ที่ใช้ภาษาอังกฤษแบบเก่าท่ีมีความเกี่ยวข้องกับภาษาเจอร์มานิกและได้
เขียนวรรณกรรมเล่มแรก ที่มีชื่อว่า Beowulf ซึ่งเป็นวรรณกรรมท่ีให้ความสาคัญกับความกล้าหาญและ
ศีลธรรมท่ีดีงาม ช่วงท่ีสองคือ ยุคฟ้ืนฟูศิลปะวิทยา นับเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ่ของวัฒนธรรมใน
ทวีปยุโรป และในวรรณกรรมได้มีผลงานท่ีแต่งด้วยภาษาท้องถิ่นและสะท้อนความคิดเรื่องมนุษยนิยมอย่าง
แพร่หลาย นอกจากนี้ยังมีการเข้ามาของแท่นพิมพ์หนังสือ ซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผลิตผลงานทาง
วรรณกรรมมากขึ้นด้วย ผลงานที่สาคัญ ตัวอย่างเช่น Romeo and Juliet และ The divine comedy และ
ช่วงสุดท้ายยุควิกตอเรีย เป็นยุคท่ีวรรณกรรมเฟื่องฟูมากท่ีสุด ตัวอย่างวรรณกรรมท่ีสาคัญคือ Jane Eyre,
Barchester Towers และ Great Expectations

ทวีปภาระตะและเอเชียกลาง ด้านภาษา ในสมัยก่อนใช้เขียนคัมภีร์ และพระไตรปิฎก ต่อมาสมัยใหม่ถึง
ปัจจุบันเป็นภาษาท่ีมาจากภาษาปรกฤต ซึ่งมีมากกว่า 200 ภาษา ด้านวรรณกรรม ส่วนใหญ่เป็นผลงานที่เกิด
จากการคิด และจินตนาการ โดยนามาบอกเล่า บันทึก ขับร้อง หรือการเขียน เช่นรามายณะท่ีเป็นวรรณกรรม
ประเภทมหากาพยข์ องอนิ เดีย โดยใช้ภาษาสันสกฤต

ทวีปเอเชยี ตะวันออก ท่ีประกอบไปด้วยประเทศจนี เกาหลแี ละญปี่ ุ่น โดยทปี่ ระเทศเกาหลกี ับประเทศ
ญี่ปุ่นนนั้ ได้รบั อิทธพิ ลดา้ นภาษาและวรรณกรรมมาจากประเทศจีน จึงทาให้ในระยะเริ่มแรกของวรรณกรรม
เกาหลแี ละญ่ีปนุ่ ยังใชภ้ าษาจีนอยู่จนกระทงั่ มีการสรา้ งตัวอักษรของตัวเอง ตัวอย่างวรรณกรรมทส่ี าคัญของจีน
ไดแ้ ก่ บทกวซี ือจิงซ่งึ เปน็ บทกวรี วมที่รวบรวมโดยขงจ้ือ และฟู่ที่เป็นการผสมผสานกันระหวา่ งบทกลอนและ
ความเรยี ง ตอ่ มาวรรณกรรมของเกาหลี ทีส่ ่วนใหญม่ กั จะแตง่ เกีย่ วกบั ธรรมชาติ พระพุทธศาสนา ความรกั
สนั โดษและความพอใจในตนเอง นอกจากนี้ยังมีอิทธพลของขงจอื้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เกยี่ วกับมนษุ ยธรรมนิยม
และความจงรักภักดตี ่อพระมหากษัตริย์ ส่วนวรรณกรรมญ่ีป่นุ ช้ินแรกทชี่ ือ่ โคะจิกิ และ นิฮงโซะกิ และมังโยซู

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

ทัง้ 3 เล่มเขยี นดว้ ยภาษาจีนท้งั หมด แต่ นทิ านคนตัดไม้ไผ่ ถูกพจิ ารณาว่าเปน็ งานท่ีเก่าแกท่ สี่ ดุ ที่เขียนดว้ ย
ภาษาญ่ปี ุน่

ทวปี อเมรกิ า มีบรรพบุรุษท่ีเชอื่ กนั ว่าอพยพมาจากทวปี เอเชยี โดยชาวยโุ รปเรียกชนพืน้ เมอื งกลุ่มน้วี ่า
อินเดยี แดงซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 3 ชนเผ่าใหญ่ ไดแ้ ก่ เผ่ามายา เผ่าแอซแท็ก และเผ่าอินคา ภาษาของชาวอนิ เดยี
แดงสว่ นใหญ่ได้รับอทิ ธิพลมาจากศาสนา และมกี ารใช้ภาษา Indigenous Languages of the Americas
ในช่วงแรกจะใชภ้ าพและสญั ลกั ษณ์ หร่ือทเี่ รียกว่า glyphs แทนคาพูดและความคดิ วรรณกรรมทส่ี าคญั ของ
อเมริกามหี ลายรปู แบบ ไม่วา่ จะเป็นหนังสอื ภาพยนตร์ เพลง และการต์ ูน ตัวอย่างเชน่ Strange Fruit, YMCA,
MCU และอน่ื ๆ

ทวปี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้นนั้ อยู่ระหว่างประเทศจีนกบั ประเทศอนิ เดยี ทางด้านภาษาของเอชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ในยุคลา่ อาณานคิ ม ชาติตะวันตกใช้ภาษาของตนเป็นภาษาราชการ ทาใหช้ าวพนื้ เมืองท่มี ี
ความแตกตา่ งทางดา้ นภาษา สอ่ื สารกนั ได้ง่ายข้นึ ตัวอย่างเช่น ฟลิ ิปปนิ สแ์ ละอินโดนเี ซีย แต่กม็ บี างภาษาท่ีมี
ต้นกาเนดิ มาจากภาษาหน่ึงแล้วมีการปรับให้เปน็ ภาษาของตัวเอง เช่น ภาษาไทยกบั ภาษาลาว

ทวีปตะวันออกกลาง เป็นแหลง่ กาเนดิ อารยธรรมทีส่ าคัญ คือ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี อารยธรรมอยี ปิ ต์
และยังกาเนิดศาสนาทสี่ าคัญ คอื ศาสนาอิสลาม นอกจากน้ียงั มตี วั เลขทเ่ี รารจู้ กั กันดี ท่เี รียกวา่ ตวั เลขอารบกิ
ทางด้านภาษา ทวปี ตะวนั ออกกลางมภี าษาอาหรบั เป็นภาษากลาง และทางด้านวรรณกรรม เกิดขน้ึ ช่วงศวรรษ
ท่ี 5 มีผลงานที่สาคญั คอื คมั ภีร์อัลกุรอาน ส่วนอนาโตเลยี -เอเชยี ไมเนอร์ หรอื ทวีปเอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใต้ อยู่
ระหวา่ งทะเลดาและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีอารยธรรมเก่าแก่ที่สาคัญคือ อารยธรรมเมโซโปเตเมยี และอารย
ธรรมอยี ิปต์ และศาสนาท่สี าคัญ คอื ศาสนายูดาย คริสต์ อิสลาม และไซโรแอสเตอร์ ภาษาของอนาโตเลยี ที่
รู้จกั กนั ดคี ือ ภาษาฮิตไทต์ ทีม่ าจากตระกลู ภาษาอนิ โด-ยูโรเปียนและยังมภี าษาลูเวีย ทมี่ คี วามใกล้เคียงกบั
ภาษาฮิตไทต์ ซึง่ ทง้ั หมดนเี้ ป็นภาษาทต่ี ายแลว้ ต่อมาวรรณกรรมของอนาโตเลยี ส่วนใหญ่พบทตี่ รุ กี โดย
วรรณกรรมจะแบ่งออกเปน็ 3 ยคุ คือ ก่อนอสิ ลาม อิสลาม และก่อนออตโตมนั ตัวอย่างท่ีสาคัญ คือ Divan-I
Kebir

25

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

บทท่ี 1
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมยโู รเปยี น

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

สว่ นนา

ยโุ รป (อ่านวา่ "ยุ-โหรฺ บ") เป็นทวีปท่ีต้ังอยู่ในซีกโลกเหนือและส่วนมากอยู่ในซีกโลกตะวนั ออก ทางทิศเหนือติด
กับมหาสมุทรอาร์กติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันออกติดกับทวีปเอเชีย ทางทิศ
ตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของทวีปยูเรเชีย โรปมีพื้นท่ีประมาณ
10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8% ของผืนดิน) ในทางการเมืองยุโรปมีรัฐ
อธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ ซึ่งมีรัสเซียเป็นประเทศท่ีใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพ้ืนที่ทวีป
ยุโรป 39% และมีประชากรท้ังหมด 15% ของทวีป ใน พ.ศ. 2560 ยุโรปมีประชากรประมาณ 741 ล้านคน
[1] (หรอื 11% ของประชากรโลก) ทวีปยโุ รปโดยเฉพาะกรีซโบราณเป็นแหล่งกาเนิดวัฒนธรรมตะวนั ตก การล่ม
สลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ 476 และสมัยการย้ายถ่ินช่วงต่อมา เป็นจุดจบของสมัยโบราณและ
เป็นจุดเร่มิ ต้นของสมัยกลาง มนษุ ยน์ ยิ มสมยั ฟ้ืนฟูศลิ ปวทิ ยา ยคุ แห่งการสารวจ ศลิ ปะและวิทยาศาสตร์อันเป็น
เป็นรากฐานนาไปสู่สมัยใหม่ ต้ังแต่ยุคแห่งการสารวจเป็นต้นมานั้นยุโรปมีบทบาทสาคัญระดับโลกในด้าน
เศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรปมีอานาจปกครองหลาย ๆ คร้ังในทวีปอเมริกา เกือบ
ทง้ั หมดของแอฟรกิ าและโอเชยี เนียร่วมถึงพ้ืนทส่ี ่วนใหญข่ องเอเชยี

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป (อังกฤษ: Indo-European
languages) ประกอบด้วยภาษาหลักและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ท่ีพูดโดยคน
ประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซ่ึงจัดอยู่ในตระกูลใหญ่
ภาษาปัจจุบันท่ีอยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกอล ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน ภาษา
ฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซยี และภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน)

29

วรรณกรรมยุโรปมีความหลากหลายเช่นเดียวกับภาษายุโรปเป็นสว่ นหนึ่งของมรดกร่วมกัน ภาษา
กรีกละตินเยอรมันบอลติกสลาฟเซลติกและโรแมนติกล้วนเป็นสมาชิกของตระกูลอินโด – ยูโรเปียน มรดกทาง
วรรณกรรมทั่วไปโดยพื้นฐานแล้ว ท่ีมีต้นกาเนิดในกรีกและโรมโบราณ ได้รับการอนุรักษ์เปลี่ยนแปลงและ
เผยแพร่โดยศาสนาคริสต์และส่งต่อไปยังภาษาพ้ืนถ่ินของทวีปยุโรปซีกโลกตะวันตกและภูมิภาคอื่น ๆ ที่ชาว
ยโุ รปต้งั ถิ่นฐาน จนถงึ ปจั จบุ นั เนอ้ื หาของงานเขียนนี้แสดงให้เหน็ ถึงความเป็นหนึง่ เดยี วในคุณสมบัตหิ ลกั ที่ทาให้
มนั แตกตา่ งจากวรรณกรรมของส่วนท่เี หลอื ของโลก

วรรณกรรมในสมัยกลางนอกจากจะเน้นเรื่องราวความเช่ือในคริสต์ศาสนา แล้วยังมีวรรณกรรม
ทางโลกด้วย แต่งเป็นภาษาละตินซึ่งถือกันว่าเป็นภาษาหนังสือที่เป็นสากล และเป็นภาษาสาคัญทางศาสนา
วรรณกรรมทางศาสนาท่ีมีอิทธิพลต่อแนวความคิดของคริสต์ศาสนิกชนในสมยั กลางมากท่ีสุดเล่มหนึ่ง ได้แก่ เท
วนคร เขียนโดยนักบญุ ออกสั ตินในสมยั ปลายจกั รวรรดโิ รมนั

ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรมจากการมุ่งเน้นเรื่องศาสนาและ
ชีวิตหลงั ความตาย มาเปน็ ความรักอมตะและศักยภาพของมนุษย์ แต่ในยุคโรแมนติก เร่ิมมีการใช้ภาษาอังกฤษ
แบบในยุคปัจจุบัน วรรณกรรมส่วนมากเน้นเร่ืองการมองเห็นความหมายที่แท้จริงในโลกรอบตัวของพวกเขา
และนวนิยายสยองขวัญแนวโกธิกก็ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเช่นเดียวกันในช่วงนั้นและแล้วก็ถึงยุคท่ี
วรรณกรรมเฟ่ืองฟมู ากทีส่ ุด นนั้ ก็คือยุควิกตอเรยี ซ่ึงมกี ารเผยแพร่นิยายหรือวรรณกรรมเขา้ สู่สาธารณะมากข้ึน
เพราะการเข้ามาของเคร่ืองพิมพ์ วรรณกรรมยุคนั้นมักเป็นเรื่องรักสามเศร้า และความขัดแย้งระหว่างคนรวย
กับคนจน

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

ภาษาที่สาคญั และภาษาทีม่ นุษย์ยังใชอ้ ยู่ในปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่ ภาษาองั กฤษ ภาษาเยอรมนั ภาษาอิตาลี
ภาษาฝร่ังเศส

ภาษาโบราณทีย่ ังสามารถพบได้ทว่ั ไปในช่ือทางวทิ ยาศาสตร์และประวัติศาสตรโ์ บราณในตะวันตก ได้แก่ ภาษา
ละติน ภาษากรีก วรรณกรรมโบราณ ได้แก่ The City of God , Ecclesiastical History of the English
people , ตานานสบิ ราตรี วรรณกรรมที่เลื่องช่ือในปจั จุบัน ได้แก่ Romeo and Juliet , Harry potter
, Sherlock Holmes , Snow White
ภาษาและวรรณกรรมทก่ี ล่าวมาทั้งหมดนน้ั สามารถดูได้ตามตวั อย่างต่อไปนี้

31

Romeo and Juliet
ที่มา: https://en.m.wikipedia.org/wiki/Romeo_and_Juliet

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

Romeo and Juliet เปน็ บทละครแนวโศกนาฏกรรม ของประเทศองั กฤษ ประพนั ธโ์ ดย วลิ เลยี ม เชกส

เปียร์ กวีชาวอังกฤษในช่วงสมัยสมเด็จพระราชนิ ีนาถเอลซิ าเบธท่ี 1 เร่ืองนีแ้ ตง่ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1595 ภาษาที่
นามาใชแ้ ตง่ คือภาษาองั กฤษ ความรักคร้งั นี้เกดิ ขน้ึ ท่ี เมืองเวโรนา ประเทศอติ าลี โดยเรมิ่ จาก 2 ตระกูล คือ
ตระกูลคาปเุ ล็ตและมอนตะคิวซ่ึงไม่ถูกกนั มานาน เม่ือโรเมโอแหง่ มอนตะควิ ไดแ้ อบเข้าไปในงานเลี้ยงของ
ตระกลู คาปุเลต็ ก็ไดพ้ บกบั จูเลียต ทั้งค่กู ็ตกหลมุ รกั กันทันที โรเมโอกบั จเู ลยี ตจัดงานแต่งงานกนั อย่างลับๆ
วนั หน่ึงเมอร์ควิ ชิโอเพื่อนของโรเมโอถกู ทีบอลต์น้องของจูเลยี ตฆ่าตาย โรเมโอจึงพลง้ั มือฆา่ ทบี อลตไ์ ป โรเม
โอโดนเนรเทศออกนอกเมือง แต่จูเลียตไม่อยากแตง่ งานกับชายอนื่ จงึ หลีกหนีการแต่งงาน และไดร้ ู้เร่ืองยา
ทท่ี าใหค้ นเปน็ นอนหลบั ราวกับคนตาย จงึ กนิ เขา้ ไปเพ่ือหวงั จะใหค้ นอน่ื คิดวา่ จเู ลยี ตตายไปแล้ว และคิดว่า
โรเมโอจะมาถงึ ตอนทตี่ นเองฟื้นขน้ึ มาพอดี และแลว้ เรอื่ งการจัดงานแตง่ ของจเู ลยี ตก็ได้ถึงหูโรเมโอ พอโรเม
โอมาถึงกค็ ิดว่าจเู ลยี ตตายไปแล้ว จงึ ด่มื ยาพษิ ฆา่ ตวั ตาย จเู ลียตท่ฟี น้ื ข้นึ มาก็เสียใจมากจงึ ใชก้ ริชฆ่าตวั ตาย
ตามคนรักไป ปจั จุบันเมืองเวโรนา ยังมีสถานท่ีท่ีบ่งบอกถึงความโดง่ ดงั ของบทละครเร่ืองนอ้ี ยู่ นัน่ ก็คือบา้ น
ของจูเลยี ตน่ันเอง บริเวณอโุ มงค์ทางเขา้ บา้ นจะเต็มไปด้วยคาอธิษฐานเก่ียวกับความรัก ยังมอี ีกทหี่ นึ่งท่ี
สาคญั ไม่แพ้กนั คือ สุสานของจูเลียต ซึ่งตงั้ อยู่ในสานักแม่ชีคณะฟรันซสิ กัน สรา้ งขนึ้ ชว่ งศตวรรษท่ี 13 เป็น
สถานทที่ จ่ี เู ลยี ตเสยี ชวี ติ ในบทละคร

เอกสารอา้ งอิง

 Gibbons, Brian, ed. (1980). Romeo and Juliet. The Arden Shakespeare, second
series. London: Thomson Learning. ISBN 978-1-903436-41-7.

เลขท่ี 4 นางสาวกมลพรรณ เสนแสนยา

33

The Canterbury Tale
ท่ีมา:https://www.google.com/search?q=The+Canterbury+Tale&tbm=isch&ved=
2ahUKEwiH-6iWkKnyAhUQsksFHT4UBA0Q2-
cCegQIABAA#imgrc=WH6Am7DXMEZZdM

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

The Canterbury Tale เปน็ วรรณกรรมทเี่ ขยี นโดยเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 14 เปน็ เร่ืองส้ัน

ที่รวบรวมกนั เป็นหนงั สือ สองเล่มเป็นรอ้ ยแก้ว อกี ยี่สิบสองเลม่ เป็นรอ้ ยกรอง เป็นตานานที่เลา่ โดยนกั แสวงบุญ
แตล่ ะคนจากซทั เธริ ค์ (Southwark) ในลอนดอนท่ีเดนิ ทางกนั ไปแสวงบญุ ทชี่ าเปลของนักบญุ ทอมัส เบค็ เคท็ ท่ี
มหาวิหารแคนเตอรบ์ รี “ตานานแคนเตอร์บรี” เขยี นเปน็ ภาษาอังกฤษสมยั กลางเรือ่ งราวตา่ งถอื กันว่าเป็นหนง่ึ
ในมหาวรรณกรรม(magnum opus) ท่ีได้รับอิทธพิ ลมาจาก “ตานานสบิ ราตรี” (The Decameron) ทเ่ี ขยี น
โดยกวชี าวอิตาลีจโิ อวานนิ โบคคาชโช ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 14 ทก่ี ล่าวกนั วา่ ชอเซอรไ์ ดอ้ ่านเมอื่ เดินทางไป
ทอ่ งเทยี่ วในอิตาลีกอ่ นหน้าน้ัน เรอื่ งมีอยวู่ ่า ในวันหน่ึงในเดอื นเมษายนกลุ่มนักแสวงบญุ พบปะกันหน้าโรงเตี๊ยม
ไมไ่ กลจากลอนดอนพร้อมกับเจา้ ของโรงเต๊ยี ม เพื่อจะเดนิ ทางจากลอนดอนไปยงั แคนเตอร์บรี เพือ่ จะไป
สกั การะหลุมศพของนกั บุญทอมัส เบค็ เคท็ ท่ีมหาวหิ ารแคนเตอร์บรี สมาชกิ แตล่ ะคนในกล่มุ มาจากชนช้ันท่ี
ต่างกนั ทัง้ ชนชนั้ สงู ชัน้ กลาง และช้นั ตา่ ทีม่ ีอาชพี แตกตา่ งกนั เจา้ ของโรงแรมเสนอใหท้ ุกคนในกลุม่ เล่าเรื่อง
ของตนเองระหว่างการเดินทางซ่ึงก็เป็นทต่ี กลงกนั ว่าแตล่ ะคนเล่าเรอ่ื งคนละสีเ่ ร่ือง ผทู้ ี่เลา่ เร่อื งไดน้ ่าฟังทสี่ ุดก็
จะได้กนิ อาหารฟรีโดยสมาชกิ ในกลมุ่ เร่ืองแตล่ ะเรื่องกส็ ะท้อนให้เห็นถงึ ฐานะทางสงั คมของผู้เล่า บางเร่ืองเลา่
ขึน้ เพื่อเสยี ดสีผู้อื่นในกลุ่ม แต่ในตอนจบก็ไม่มเี รื่องใดที่ได้รับเลอื กว่าเป็นเรื่องทีด่ ีที่สุด และนักแสวงบุญก็ไม่ได้
เล่าเร่อื งกนั ทกุ คน วรรณกรรมเร่อื งน้ีสะทอ้ นเรื่องความแตกตา่ งทางชนชนั้ ในยุคกลาง

เอกสารอา้ งอิง

 Bisson, Lillian. (1998). Chaucer and the Late Medieval World. New York: St. Martin's
Press.

 Cooper, Helen. (1996). The Canterbury Tales. Oxford Oxfordshire: Oxford University
Press.

เลขที่ 2 นางสาวกนกวรรณ บางสอน

35

Beowulf
ทมี่ า:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0
%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%8C%E0%B8%9F

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

Beowulf เบวลู ์ฟ (Beowulf) เปน็ บทกวมี หากาพยเ์ กีย่ วกับวรี บุรุษยุคองั กฤษโบราณ แต่งโดยผูป้ ระพนั ธ์

หลายคนทไ่ี ม่ทราบชอื่ และแตง่ เปน็ ภาษาอังกฤษแบบเกา่ งานวรรณกรรมภาษาแองโกลแซกซอนช้ินนี้ คาดว่า
แต่งข้นึ ในระหวา่ งครสิ ต์ศตวรรษท่ี 8 ถึง 11 โดยมีต้นฉบับท่หี ลงเหลือมาถงึ ปัจจบุ นั คาดวา่ เขยี นขนึ้ ในราวปี
ค.ศ. 1010 มีความยาวทง้ั ส้ิน 3,183 บรรทัด ซึ่งถือเปน็ บทกวีที่มีความยาวมาก ได้รับยกย่องเปน็ วรรณกรรม
มหากาพยแ์ หง่ ประเทศองั กฤษ จุดประสงค์ที่แตง่ คาดได้ว่าเปน็ บทลานาพื้นบ้านทีข่ บั ร้องตอ่ ๆ กันมาในหมู่
พลเมอื ง และน่าจะมีข้อเท็จจรงิ ทางประวัติศาสตร์บางสว่ นแฝงอยู่ในเนื้อเร่อื งด้วย วรรณกรรมเรื่องราวของ
กษัตรยิ ์ รอ็ ธการ์ ผูส้ ร้างหอเมรัยขนาดใหญ่ชอ่ื เฮรอ็ ต ระหวา่ งทก่ี าลังเฉลิมฉลองอย่ใู นหอเมรัย แตเ่ กรนเดล
เข้ามาบุกทาลายหอเมรยั กษัตรยิ ์ ร็อธการ์ จึงสง่ สาส์นขอความช่วยเหลือจากเบวลู ฟ์ เขาเดินทางออกจาก กีตส์
ลันด์ ปจั จุบันคอื อยู่ในสวเี ดน พวกเขาคา้ งคนื ในเฮร็อต หลงั จากพวกเขาหลบั ไป เกรนเดลก็เขา้ มาโจมตี สว่ น
เบวลู ์ฟทแี่ สร้งหลับอยู่ จงึ ใช้พละกาลังของเขาลอ็ คตัวเกรนเดล แลว้ ฉกี แขนของมันขาดจนตาย แตเ่ ขากถ็ กู แม่
ของเกรนเดลโจมตี แต่นางไม่สามารถทาอันตรายแกเ่ บวลู ์ฟได้ จนวนั หนงึ่ เมื่อกษตั ริย์ทรงชราภาพ ทาสคนหนึ่ง
ลอบขโมยถ้วยทองคาออกมาจากรงั มงั กร พระองคส์ ามารถสงั หารมังกรได้ดว้ ยความช่วยเหลอื ของวิกลัฟ แต่
พระองค์เองกท็ รงได้รบั บาดเจ็บจนสนิ้ พระชนม์ เบวลู ์ฟ ถูกฝงั อยู่ใน กตี ส์ลนั ด์ สว่ นสมบตั ิของมังกรนน้ั เช่อื วา่ ถูก
ฝังไปพร้อมกนั ตามประเพณีของชาวเยอรมนั และสแกนดเิ นเวีย วรรณกรรมเรือ่ งน้ี ใหค้ วามสาคญั กบั ความกลา้
หาญและการมคี ุณธรรมท่ีสูงส่ง และจุดประกายให้คนในยคุ แอกโกล-แซกซนั น้นั มี Beowulf เป็นแบบอยา่ ง

เอกสารอ้างองิ

 Kevin S. Kiernan (1997). Beowulf and the Beowulf Manuscript Ann Arbor, MI: University
of Michigan Press. ISBN 978-0-472-08412-8.

 Mitchell, Bruce (1986). "Diphthongs", A Guide to Old English. Blackwell, 14-15

เลขท่ี 10 นางสาวเกวลิน ทรพั ยน์ วล

37

Harry Potter
ที่ ม า : https://sites.google.com/site/haerricemsphxttexr/home/khorng-reuxng-
hae-ri-phxt-texr
http://pirun.ku.ac.th/~b521110223/sypth.html

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

Harry Potter: เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจานวนเจ็ดเลม่ ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็น
เร่อื งราวการผจญภัยของพอ่ มดวัยรุน่ แฮร์รี่ พอตเตอร์ กบั เพ่ือนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์
ซึ่งท้ังหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเร่ืองหลักเกี่ยวกับ
ภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดมืดท่ีช่ัวร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้มีเป้าหมายเพ่ือพิชิตประชากรท่ีไม่มี
อานาจวเิ ศษ พชิ ติ โลกพ่อมด และทาลายทุกคนท่ขี ดั ขวาง โดยเฉพาะอย่างยิง่ แฮร์รี่ พอตเตอร์
แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับศิลาอาถรรพ์ (Harry Potter And The Philosopher's Stone)
แฮรร์ ่ี พอตเตอร์ กบั หอ้ งแห่งความลบั (Harry Potter And The Chamber Of Secrets)
แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับนกั โทษแห่งอัซคาบัน (Harry Potter And The Prisoner Of Azkaban)
แฮร์ร่ี พอตเตอร์ กบั ถว้ ยอคั นี (Harry Potter And The Goblet Of Fire)
แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับภาคีนกฟนี กิ ซ์ (Harry Potter And The Order Of The Phoenix)
แฮร์ร่ี พอตเตอร์ กับเจ้าชายเลอื ดผสม Harry Potter And The Half Blood Prince)
แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเครื่องรางยมทตู (Harry Potter and the Deathly)

เอกสารอ้างอิง

• JK. Rowling.(1997) Harry Potter and the Philosopher's Stone. Bloomsbury
• JK. Rowling.(1998) Harry Potter And The Chamber Of Secrets. Bloomsbury
• JK. Rowling.(1999) Harry Potter And The Prisoner Of Azkaban. Bloomsbury
• JK. Rowling.(2000) Harry Potter And The Goblet Of Fire. Bloomsbury
• JK. Rowling.(2003) Harry Potter And The Order Of The Phoenix. Bloomsbury
• JK. Rowling.(2005) Harry Potter And The Half Blood Prince. Bloomsbury
• JK. Rowling.(2007) Harry Potter and the Deathly. Bloomsbury

เลขท่ี 12 นางสาวขวัญชนก ทองอน้

39


Click to View FlipBook Version