âçàÃÕ¹ÊÑ¡§ÒÁ»ÃЪÒÊÃä(à¡ÉµÃÈÒʵÃ͹ÊØó37)
ʧѡѴÊÓ¹¡Ñ§Ò¹à¢µ¾¹×้·Õ่¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ¡ÓᾧྪÃࢵ2
คู่มือการบรหิ ารงานวิชาการ
โรงเรยี นสกั งามประชาสรรค(์ เกษตรศาสตร์อนสุ รณ์37)
การบรหิ ารงานวชิ าการ
แนวคิดหลกั ในการบรหิ ารวิชาการ
การบริหารงานวิชาการเป็นภารกิจที่สาคญั ของการบริหารโรงเรียนตามทพี่ ระราชบัญญัตกิ ารศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ.2545 ถอื เป็นงานทม่ี ีความสาคัญที่สุด เป็นหัวใจของ
การจัดการศึกษา ซ่ึงทั้งผู้บริหาร โรงเรียน คณะครู และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย ต้องมีความรู้ความเข้าใจ
ให้ความสาคัญและ มีส่วนร่วมในการวางแผน กาหนดแนวทางปฏิบัติการประเมินผล และการปรับปรุงแก้ไข
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องมุ่งให้กระจายอานาจในการบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากท่ีสุดด้วย
เจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เรียน โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถ่ิน และการมีสว่ นรว่ มจากผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ทุกฝ่าย ซ่ึงจะเป็นปัจจยั สาคัญทา
ให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารและจัดการ สามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้
ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทงั้ ปจั จัยเก้อื หนนุ การพฒั นาคุณภาพนักเรียน โรงเรียน ชุมชน ทอ้ งถ่ิน
ได้อย่างมคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการ
ของนักเรยี น สถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถนิ่
2. เพื่อให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับ
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมิน
หนว่ ยงานภายนอก
3. เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนนุ การเรียนรู้ที่สนอง
ต่อความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และ ท้องถิ่น โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญได้อย่างมีคุณภาพ และ
ประสทิ ธิภาพ
4. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ
ของบุคคล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และ สถาบันอ่นื ๆอย่างกวา้ งขวาง
ขอบขา่ ยและภารกจิ ผูร้ บั ผดิ ชอบ
1. การพฒั นาหรอื การดาเนินการเก่ียวกับการให้ความเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถน่ิ
บทบาทและหนา้ ที่
1. วิเคราะหก์ รอบสาระการเรียนร้ทู อ้ งถิ่นท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจดั ทาไว้
2. วเิ คราะห์หลกั สูตรสถานศึกษาเพื่อกาหนดจุดเนน้ หรอื ประเด็นที่สถานศึกษาให้
ความสาคัญ
3. ศึกษา และวิเคราะห์ขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศึกษา และชมุ ชนเพื่อนามาเปน็ ข้อมูล
จัดทาสาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ินของสถานศึกษาใหส้ มบรู ณย์ ่ิงขึน้
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 2
4. จัดทาสาระการเรียนรูท้ ้องถ่นิ ของสถานศึกษา เพ่อื นาไปจัดทารายวชิ าพ้นื ฐานหรือ
รายวิชาเพ่มิ เติมจัดทาคาอธิบายรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ เพ่อื จดั ประสบการณ์
และจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหแ้ กผ่ ู้เรียน ประเมนิ ผล และปรับปรงุ
5. ผบู้ รหิ ารศกึ ษาอนมุ ัติ
2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับดูแล นิเทศและติดตามเก่ียวกับงาน
วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และ
การเทียบโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ ส่ือ และ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มแี หล่งเรียนรู้การวิจัยเพ่ือพฒั นา คุณภาพการศึกษา และ
ส่งเสรมิ ชุมชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
2. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ตั โิ ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. จดั ทาแผนการเรียนรทู้ ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
2. จดั การเรยี นการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทุกชว่ งชัน้ ตามแนวปฏบิ ตั กิ ารเรียนรโู้ ดยเน้นผูเ้ รียน
เป็นสาคัญ พฒั นาคุณธรรมนาความร้ตู ามหลักการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. ใชส้ ือ่ การเรยี นการสอน และแหลง่ การเรยี นรู้
4. จัดกิจกรรมพฒั นาห้องสมุด ห้องปฏิบตั กิ ารต่างๆ ใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้
5. ส่งเสริมการวจิ ัย และพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
6. สง่ เสริมการพฒั นาความเปน็ เลศิ ของนักเรียน และช่วยเหลือนกั เรียนพิการ ด้อยโอกาสและ
มคี วามสามารถพเิ ศษ
4. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. จัดทาหลักสูตรเป็นของตนเองโดยจัดให้มีการวิจัย และพัฒนาหลักสูตร ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม จัดทาหลักสูตรท่ีมุง่ เน้นพฒั นานักเรียนให้เป็นมนุษย์ทีส่ มบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา มีความรู้และคุณธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมีความสุข จัดให้มีวชิ าต่างๆ ครบถ้วนตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาพน้ื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ
2. เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชา ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา การศึกษาที่
สง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ผ้บู กพร่อง
3. เพิ่มเติมเน้ือหาสาระของรายวิชาทส่ี อดคล้องสภาพปญั หาความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
สงั คม และอาเซยี น
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 3
5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
บทบาทและหน้าที่
1. จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง
ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
2. ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรูม้ าใช้ เพอ่ื ป้องกนั และ
แก้ไขปัญหา
3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็นรัก
การอา่ นและเกิดการใฝร่ อู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4. จดั การเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อยา่ งได้สดั ส่วนสมดลุ กันรวมทัง้ ปลูกฝัง
คุณธรรม ค่านยิ มท่ดี ีงามและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ไวใ้ นทกุ กลุ่มสาระ/วชิ า
5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความ
สะดวกเพ่อื ให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้งั สามารถใชก้ ารวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เรียนรู้ ท้ังน้ี ผู้สอนและผู้เรียนรู้อาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่าง ๆ
6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและ
บคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผูเ้ รียนตามศักยภาพ
7. ศกึ ษาคน้ คว้าพัฒนารปู แบบหรือการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่
6. การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทยี บโอนเทา่ ผลการเรียน
บทบาทและหน้าที่
1. กาหนดระเบียบการวัด และประเมินผลของสถานศกึ ษาตามหลักสตู รสถานศึกษาโดยให้
สอดคล้อง กับนโยบายระดบั ประเทศ
2. จดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามระเบยี บการวัด และประเมินผลของสถานศกึ ษา
3. วดั ผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ์ ผลการเรยี นและอนมุ ตั ิผลการเรยี น
4. จัดใหม้ กี ารประเมินผลการเรยี นทกุ ช่วงชัน้ และจดั ใหม้ ีการซ่อมเสรมิ กรณที ่ีมผี ู้เรียน ไม่ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ
5. ให้มีการพฒั นาเครอ่ื งมอื ในการวัดและประเมินผล
6. จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียนเพ่ือใช้ในการอ้างอิง
ตรวจสอบ และใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาการเรียนการสอน
7. ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี รายภาคและตัดสินผลการ
เรียนผา่ นระดบั ชน้ั และจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
8. การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอานาจของสถานศึกษา ท่ีจะแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการ
เพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการ พร้อม
ทงั้ ให้ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ตั กิ ารเทยี บโอน
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 4
7. การวจิ ยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวจิ ัยเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ และ
กระบวนการทางานของนักเรียน ครู และผ้เู กยี่ วขอ้ งกับการศึกษา
2. พัฒนาครู และนกั เรยี นใหม้ คี วามรเู้ ก่ียวกบั การปฏิรปู การเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจัยเป็นสาคญั
ในการเรยี นรู้ทซ่ี ับซอ้ นข้ึน ทาให้ผ้เู รยี นไดฝ้ กึ การคดิ การจดั การ การหาเหตผุ ลในการตอบปญั หา
3. พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการวจิ ยั
4. รวบรวม และเผยแพร่ผลการวจิ ัยเพ่ือการเรยี นรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมท้งั สนบั สนนุ ให้
ครนู าผลการวิจัยมาใชเ้ พ่ือพฒั นาการเรยี นรแู้ ละพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
8. การพฒั นาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้
บทบาทและหน้าท่ี
1. จดั ใหม้ แี หล่งเรียนรูอ้ ย่างหลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพยี งเพ่ือ
สนบั สนุนการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้
2. จดั ระบบแหล่งการเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี นใหเ้ อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน เชน่
พัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล
เปน็ ตน้
3. จดั ระบบขอ้ มลู แหลง่ การเรียนรใู้ นท้องถน่ิ ใหเ้ อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ ของผ้เู รียน ของ
สถานศกึ ษาของตนเอง
4. ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละผเู้ รยี นได้ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ ทง้ั ในและนอกสถานศึกษา เพอื่ พฒั นาการ
เรยี นรู้ และ นิเทศ กากับติดตาม ประเมินและปรบั ปรงุ อย่างต่อเนอ่ื ง
5. สง่ เสริมใหค้ รู และผเู้ รยี นใชแ้ หล่งเรียนรูท้ ้งั ภายในและภายนอก
9. การนเิ ทศการศึกษา
บทบาทและหน้าที่
1. สร้างความตระหนักให้แก่ครู และผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น
กระบวนการทางานร่วมกันที่ใช้เหตุผลการนิเทศ เป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทางานของแต่ละบุคคล ให้มี
คุณภาพการนิเทศเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพ่ือให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นว่าได้ปฏิบัติถูกต้อง
กา้ วหน้า และเกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อผ้เู รยี น และตัวครเู อง
2. จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพทั่วถงึ และตอ่ เน่ืองเป็นระบบและกระบวนการ
3. จดั ระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกบั ระบบนเิ ทศการศึกษาของสานักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศึกษา
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 5
10. การแนะแนว
บทบาทและหนา้ ที่
1. กาหนดนโยบายการจดั การศกึ ษา ทีม่ ีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคัญ โดยให้ทุก
คนในสถานศกึ ษาตระหนักถึงการมสี ว่ นร่วมในกระบวนการแนะแนว และการดแู ลช่วยเหลอื
2. จดั ระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศกึ ษาให้
ชัดเจน
3. สร้างความตระหนกั ให้ครูทุกคนเหน็ คุณคา่ ของการแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
4. ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติม เร่ืองจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น เพ่อื ให้สามารถบูรณาการในการจัดการเรยี นร้แู ละเชื่อมโยงส่กู ารดารงชวี ิตประจาวนั
5. คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทาหน้าท่ีครูแนะแนว
ครูทป่ี รึกษา ครปู ระจาชน้ั และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6. ดูแล กากับ นเิ ทศ ตดิ ตามและสนบั สนุนการดาเนนิ งานแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลือ
นกั เรยี นอย่างเป็นระบบ
7. สง่ เสรมิ ความร่วมมือ และความเข้าใจอนั ดีระหว่างครู ผปู้ กครอง และชุมชน
8. ประสานงานด้านการแนะแนวระหว่างสถานศึกษา องค์กร ภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสนสถาน
ชมุ ชนในลักษณะเครอื ข่ายการแนะแนว
9. เช่อื มโยงระบบแนะแนว และระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
11. การพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา
บทบาทและหน้าที่
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จดั ทาแผนสถานศกึ ษาที่มุ่งเนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ/์ แผนยุทธศาสตร)์
3. จดั ทาระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4. ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาต้องสรา้ งระบบ
การทางานที่เข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
โดยมีครเู ป็นผ้ใู ห้คาแนะนา อานวยความสะดวก และให้การส่งเสริม สนบั สนนุ
5. ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศึกษาโดยการดาเนินการอยา่ งจริงจังต่อเนอื่ งด้วยการสนับสนุน
ใหค้ รู ผู้ปกครองและชมุ ชนเขา้ มามสี ่วนร่วม
6. ประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานทกี่ าหนด เพอ่ื รองรบั การ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก
7. จดั ทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรปุ รายงานประจาปี โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเสนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กดั และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 6
12. การสง่ เสริมชุมชนให้มีความเขม้ แข็งทางวชิ าการ
บทบาทและหนา้ ที่
1. จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน เอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่นื
2. สง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ ของชุมชน โดยการจดั กระบวนการเรยี นร้ภู ายในชุมชน
3. สง่ เสริมใหช้ ุมชนมีการจดั การศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารและเลือกสรรภูมิ
ปญั ญา วิทยาการต่างๆ
4. พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการรวมท้ังหาวิธีการสนับสนุน
ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหว่างชุมชน
13. การประสานความรว่ มมือในการพฒั นาวิชาการกับสถานศกึ ษา และองค์กรอนื่
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อเสริมสร้าง
พฒั นาการของนักเรยี นทุกด้าน รวมทง้ั สืบสานจารตี ประเพณศี ิลปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่
2. เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรท้ังภาครัฐ
และเอกชน เพ่ือใหส้ ถานศึกษาเปน็ แหล่งวิทยาการของชุมชน เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ แหล่ง
วทิ ยาการของชุมชน และมีสว่ นในการพฒั นาชุมชนและท้องถิน่
3. ใหบ้ ริการดา้ นวชิ าการทส่ี ามารถเชื่อมโยงหรือแลกเปลย่ี นข้อมลู ขา่ วสารกบั แหลง่ วิชาการในท่ีอน่ื ๆ
4. จดั กจิ กรรมรว่ มกบั ชุมชนเพ่ือสง่ เสริมวฒั นธรรมการสร้างความสัมพันธอ์ ันดีกับศิษย์เก่า
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน การปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน การร่วมกิจกรรมกับสถาบันการศึกษาอ่ืน เป็น
ตน้
14. การส่งเสรมิ และสนับสนนุ งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน สถานประกอบการ
และสถาบันอน่ื ทีจ่ ดั การศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. ประชาสมั พนั ธ์สรา้ งความเข้าใจตอ่ บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องค์กร
ปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ิน เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน
สังคมอ่ืนในเรอื่ งเกย่ี วกับสิทธใิ นการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานการศกึ ษา
2. จัดให้มกี ารสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ การเพ่ิมความพร้อมให้กับบคุ คล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการและสถาบันสังคมอน่ื ท่ีร่วมจดั การศึกษา
3. รว่ มกับบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เอกชน
องค์กร เอกชนองค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอืน่ ทรี่ ่วมจดั การศึกษา
และใชท้ รพั ยากรร่วมกันใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ
4. สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้มีการจัดกจิ กรรมการเรียนรรู้ ะหว่างสถานศึกษากบั บคุ คล ครอบครวั
ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอื่น
5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหบ้ ุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบัน
ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ได้รบั ความช่วยเหลือทางดา้ นวชิ าการตามความ เหมาะสม
และจาเป็น
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 7
6. ส่งเสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ ทง้ั ดา้ นคุณภาพและปริมาณ เพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ
อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ
15. การจัดทาระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. ศกึ ษาและวิเคราะห์ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับงานด้านวชิ าการของสถานศึกษา
เพอ่ื ให้ ผู้ที่ เกีย่ วขอ้ งรบั รู้ และถือปฏิบตั เิ ปน็ แนวเดยี วกัน
2. จดั ระเบยี บ และแนวปฏบิ ัติเก่ียวกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อใหผ้ ู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
รับรู้ และถือปฏบิ ัติเปน็ แนวเดียวกัน
3. ตรวจสอบรา่ งระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา และแก้ไข
ปรับปรุง
4. นาระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษาไปสูก่ ารปฏบิ ัติ
5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั งานด้านวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนาไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป
16. การคดั เลือกหนงั สอื แบบเรยี นเพือ่ ใช้ในสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ คดั เลือกหนังสอื เรียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ งๆ ท่มี ีคุณภาพสอดคล้อง
กบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา เพ่ือเป็นหนงั สอื แบบเรยี นใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
2. จดั ทาหนงั สือเรยี น หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ แบบฝกึ หัด ใบ
งาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอน
3. ตรวจพิจารณาคุณภาพ หนังสือเรียนเรยี น หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนงั สอื อ่าน
ประกอบ แบบฝกึ หัด ใบงาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอน
17. การพัฒนา และใช้สื่อเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. จัดให้มีการร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้และ
เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา
2. พัฒนาบคุ ลากรใสถานศกึ ษาในเรอื่ งเก่ียวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
พร้อมทั้งให้มีการจดั ตงั้ เครือข่ายทางวิชาการ ชมรมวิชาการเพอื่ เป็นแหลง่ การเรียนรู้
3. พัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาที่ให้ข้อเท็จจริงเพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสริมการจัด การศึกษาของ
สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
4. พัฒนาห้องสมุดของสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ แหล่งการเรียนรขู้ องสถานศกึ ษา และชุมชน
5. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิต ใช้และพัฒนาสื่อ
และเทคโนโลยที างการศึกษา
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 8
ดา้ นบรหิ ารวิชาการ
หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าท่ี ดูแล กากับ
ติดตาม กลั่นกรองอานวยความสะดวก ให้คาแนะนา ปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่ม
การบริหารวิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารวิชาการ ปฏบิ ัติหน้าทีเ่ กี่ยวข้องกับการจดั ระบบบริหาร
องค์กร การประสานงานและให้บริการสนับสนุน ส่งเสรมิ ให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรียนสามารถ
บริหารจัดการและดาเนินการตามบทบาทภารกิจ อานาจหน้าท่ีด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและ
ให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาแก่
เจ้าหน้าทีข่ องแตล่ ะฝา่ ยงานเพือ่ ให้ฝา่ ยบรหิ ารจัดการได้อยา่ งสะดวกคล่องตัว มีคุณภาพและเกิดประสทิ ธิภาพ
ขอบขา่ ยงานบรหิ ารวิชาการ มดี งั น้ี
1. การพฒั นาหรอื การดาเนนิ งานเก่ียวกับการให้ความเหน็ การพัฒนาสาระหลักสตู รทอ้ งถนิ่
หน้าที่รบั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) วิเคราะหก์ รอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ ทส่ี านักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาจัดทาไว้
2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกาหนดจุดเน้นหรือประเด็นท่ีสถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย
สถานศึกษาให้ความสาคญั
3) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพ่ือนามาเป็นข้อมูลจัดทาสาระ
การเรยี นรทู้ ้องถนิ่ ของสถานศกึ ษาใหส้ มบรู ณ์ยงิ่ ขน้ึ
4) จดั ทาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินของสถานศกึ ษาเพ่ือนาไปจดั ทารายวิชาพ้ืนฐานหรือรายวชิ าเพ่มิ เติม
จัดทาคาอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียน
การสอนใหแ้ กผ่ ู้เรยี นประเมนิ ผลและปรบั ปรุง
5) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติ
2. การวางแผนงานด้านวชิ าการ หน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี
1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับ ดูแล นิเทศและติดตามเก่ียวกับงาน
วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการ
เทียบโอนผลการเรียนการประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริม
ชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแข็งทางวิชาการ
2) ผบู้ ริหารสถานศึกษาอนมุ ตั โิ ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษา หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี
1) จัดทาแผนการเรยี นรูท้ ุกกล่มุ สาระการเรยี นรโู้ ดยความร่วมมือของเครือข่ายสถานศึกษา
2) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงช้ัน ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ บูรณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาคุณธรรมนา
ความรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3) ใชส้ อื่ การเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
4) จัดกิจกรรมพฒั นาห้องสมุด ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ ใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้
5) ส่งเสริมการวิจยั และพฒั นาการเรียนการสอนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 9
6) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียนพิการด้อยโอกาสและมี
ความสามารถพเิ ศษ
4. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1 ) จดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเปน็ ของตนเอง
1.1 จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เศรษฐกจิ และสังคมและเป็นตน้ แบบใหก้ บั โรงเรยี นอื่น
1.2 จัดทาหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สตปิ ญั ญา มคี วามรู้และคณุ ธรรม สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมคี วามสุข
1.3 จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร
1.4 เพิ่มเติมเน้ือหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซ้ึงมากขึ้นสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาท่ีส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้บกพร่อง
พกิ าร และการศึกษาทางเลอื ก
1.5 เพ่ิมเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน
ผปู้ กครอง ชุมชน สงั คม และโลก
2) สถานศึกษาสามารถจัดทาหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่นๆให้เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
เครือขา่ ยสถานศกึ ษา
3) คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานใหค้ วามเห็นชอบหลักสตู รสถานศึกษา
4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้สานักงานเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษารับทราบ
5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
หน้าทร่ี ับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี
1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบคุ คล
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือ
ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา
3) จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ ฝึกการปฏบิ ัติให้ทาได้ คดิ เป็น ทาเป็น รักการ
อา่ นและเกดิ การใฝร่ ูอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง
4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมท้ัง
ปลูกฝงั คณุ ธรรม ค่านิยมทดี่ ีงานและคณุ ลกั ษณะอนั พึ่งประสงค์ไว้ในทกุ วิชา
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความ
สะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
เรียนรู้ ท้ังนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่างๆ
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 10
6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและ
บคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ
6. การวดั ผล ประเมินผลและดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น หน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) กาหนดระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศกึ ษาโดยสอดคล้องกับ
นโยบายระดับประเทศ
2) จัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
3) วดั ผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ์ผลการเรยี นและอนุมตั ผิ ลการเรยี น
4) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงชั้นและจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีท่ีมีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมนิ
5) จดั ให้มีการพฒั นาเคร่ืองมือในการวดั และประเมนิ ผล
6) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพ่ือใช้ในการอ้างอิง
ตรวจสอบและใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาการเรยี นการสอน
7) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการ
เรยี นการผ่านชว่ งชน้ั และจบการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอานาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเพื่อ
กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการพร้อมท้ังให้ผูบ้ รหิ าร
สถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารเทียบโอน
7. การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา
หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั น้ี
1) กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจยั เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางานของนักเรียน ครู
และผเู้ ก่ยี วขอ้ งกบั การศึกษา
2) พัฒนาครูและนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นสาคัญ
ในการเรียนรู้ท่ีซับซ้อนข้ึนทาให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา
การผสมผสานความรู้แบบสหวิทยาการและการเรียนร้ใู นปัญหาที่ตนสนใจ
3) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการวจิ ยั
4) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนนุ ให้
ครนู าผลการวจิ ยั มาใช้ เพือ่ พฒั นาการเรียนรแู้ ละพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
8. การพัฒนาและสง่ เสริมใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้
หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี
1) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพื่อสนับสนุน
การแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองกับการจดั กระบวนการเรียนรู้
2) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น พัฒนา มุม
หนังสือในห้องเรยี น ห้องพิพธิ ภณั ฑ์ ห้องคอมพวิ เตอร์ อนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ ต้น
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 11
3) จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษา
ของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนท่ี และระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุด
สถาบนั การศึกษา พิพิธภัณฑ์ พพิ ิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ฯลฯ
4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ท้ังในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และ
นิเทศ กากับติดตาม ประเมิน และปรับปรุงอยา่ งต่อเนื่อง
9. การนเิ ทศการศึกษา
หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี
1) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผเู้ กี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็นกระบวนการ
ทางานร่วมกันที่ใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทางานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การ
นิเทศเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และ
เกิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ผเู้ รียนและตวั ครูเอง
2) จดั การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพทั่วถึงและต่อเนื่องเป็นระบบและกระบวนการ
3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เช่ือมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา
10. การแนะแนวการศึกษา
มีหน้าท่รี ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาท่ีมีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคัญ โดยให้ทุกคนใน
สถานศึกษาตระหนักถงึ การมีสว่ นร่วมในกระบวนการแนะแนวและการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
2) จัดระบบงานและโครงสรา้ งองค์กรแนะนาและดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
3 สร้างความตระหนักให้ครทู กุ คนเหน็ คณุ ค่าของการแนะแนวและดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลือ
นกั เรยี นเพอ่ื ให้สามารถ บูรณาการ ในการจัดการเรียนรู้และเชือ่ มโยง สูก่ ารดารงชวี ติ ประจาวนั
5) คัดเลือกบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทาหน้าท่ีครูแนะแนวครูท่ี
ปรกึ ษา ครปู ระจาชั้น และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6) ดูแล กากับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง
เป็นระบบ
7) ส่งเสรมิ ความรว่ มมือและความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งครู ผูป้ กครองและชุมชน
8) ประสานงานดา้ นการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครฐั และเอกชน บา้ น ศาสน-สถาน
ชุมชน ในลกั ษณะเครอื ขา่ ยการแนะแนว
9) เชื่อมโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
11. การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา
มหี น้าทรี่ บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐานมาตรฐานสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาและความต้องการของชมุ ชน
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 12
2) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสรา้ งการบรหิ ารท่ีเอื้อต่อการพฒั นางานและการสร้าง
ระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก
รวดเรว็ ปรับปรงุ ใหเ้ ปน็ ปัจจุบันอย่เู สมอ
3) จัดทาแผนสถานศกึ ษาท่ีมุง่ เนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ/์ แผนยทุ ธศาสตร์)
4) ดาเนนิ การตามแผนพฒั นาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาตอ้ งสรา้ งระบบ
การทางานท่ีเข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
โดยมีครูเปน็ ผู้ให้คาแนะนา อานวยความสะดวก และให้การสง่ เสริม สนบั สนุน
5) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดาเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการสนับสนุนให้
ครู ผ้ปู กครองและชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ีกาหนดเพ่ือรองรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก
7) จัดทารายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความเหน็ ชอบของ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานเสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สังกัดและเผยแพรต่ ่อสาธารณชน
12. การสง่ เสริมชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ ทางวชิ าการ
มหี น้าทร่ี ับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี
1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอื่น
2) สง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของชุมชนโดยการจดั กระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน
3) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จักเลือกสรร
ภมู ิปญั ญาและวิทยาการตา่ งๆ
4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างชมุ ชน
13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองค์กรอน่ื
มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
1) ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อเสริมสร้าง
พฒั นาการของนักเรียนทุกด้านรวมทัง้ สบื สานจารตี ประเพณีศลิ ปวฒั นธรรมของท้องถน่ิ
2) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรท้ังภาครัฐ
และเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชนและมีสว่ นในการพัฒนาชุมชนและท้องถ่นิ
3) ให้บรกิ ารดา้ นวิชาการทีส่ ามารถเช่อื มโยงหรือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารกบั แหล่งวชิ าการในที่อ่นื ๆ
4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพ่ือส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าการประชุม
ผ้ปู กครองนกั เรยี น การปฏิบตั ิงานร่วมกบั ชุมชน การร่วมกจิ กรรมกบั สถานบันการศกึ ษาอื่นเป็นตน้
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 13
14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ
และสถาบันอ่ืนทจี่ ัดการศกึ ษา
มีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนในเรื่อง
เกย่ี วกบั สิทธใิ นการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพ่ิมความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร
ชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคม
อนื่ ท่รี ว่ มจัดการศึกษา
3) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กร-
เอกชน องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นร่วมกันจัดการศึกษาและใช้
ทรพั ยากรรว่ มกนั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุดแก่ผเู้ รยี น
4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ ร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอ่ืน
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอน่ื ไดร้ ับความช่วยเหลือ
ทางด้านวชิ าการตามความเหมาะสมและจาเปน็
6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ท้ังด้านคุณภาพและปริมาณเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
15. การจดั ทาระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ กยี่ วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา
มหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) ศึกษาและวิเคราะห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกย่ี วกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ที่
เกยี่ วขอ้ งทุกรายรับร้แู ละถอื ปฏิบัตเิ ปน็ แนวเดยี วกัน
2) จัดทาร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ที่เก่ียวข้อง
ทกุ ฝ่ายรับรแู้ ละถอื ปฏบิ ัติเป็นแนวเดยี วกนั
3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไข
ปรบั ปรุง
4) นาระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ
5) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ
สถานศึกษาและนาไปแกไ้ ขปรบั ปรุงให้เหมาะสมตอ่ ไป
16. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพอื่ ใชใ้ นสถานศกึ ษา มหี นา้ ทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้องกลับ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาเพื่อเปน็ หนงั สือแบบเรียนเพือ่ ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
2) จัดทาหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน
ใบความร้เู พื่อใช้ประกอบการเรยี นการสอน
คู่ มื อ ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ ช า ก า ร
ห น้ า | 14
3) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสอื เรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสอื อ่านประกอบ แบบฝึกหัด
ใบงาน ใบความรู้เพือ่ ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน
17. การพฒั นาและใชส้ อื่ และเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา มหี น้าท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) จัดให้มีการร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาส่ือการเ รียนรู้
และเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเร่ืองเก่ียวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้และเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา พร้อมทั้งใหม้ กี ารจัดตั้งเครอื ขา่ ยทางวชิ าการ ชมรมวชิ าการเพือ่ เปน็ แหลง่ เรียนรขู้ องสถานศกึ ษา
3) พัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาท่ีให้ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดข้ึน โดยเฉพาะหาแหล่งส่ือท่ีเสริมการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
4) พัฒนาหอ้ งสมุดของสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นแหลง่ การเรยี นรูข้ องสถานศึกษาและชมุ ชน
5) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากรในการจดั หา ผลิตใชแ้ ละพฒั นาส่ือและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา
18. การรับนักเรยี น
หนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) ให้สถานศึกษาประสานงานการดาเนินการแบ่งเขตพ้ืนท่ีบริการการศึกษาร่วมกัน และเสนอ
ข้อตกลงใหเ้ ขตพน้ื ท่กี ารศึกษาเห็นชอบ
2) กาหนดแผนการรบั นักเรียนของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกบั เขตพืน้ ที่การศึกษา
3) ดาเนนิ การรบั นกั เรียนตามท่ีแผนกาหนด
4) รว่ มมือกับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน ในการติดตามช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีมปี ัญหาในการเข้า
เรยี น
5) ประเมินผลและรายงานผลรับเด็กเขา้ เรยี นใหเ้ ขตพ้ืนท่กี ารศึกษาทราบ
19. การจัดทาสามะโนนกั เรียน
มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสารวจข้อมูล จานวนนักเรียนท่ีจะเข้ารับบริการทาง
การศึกษาในเขตบริการของสถานศึกษา
2) จดั ทาสามะโนผเู้ รยี นทจี่ ะเขา้ รบั บริการทางการศึกษาของสถานศึกษา
3) จดั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศจากสามะโนผเู้ รยี นใหเ้ ขตพน้ื ที่การศึกษารบั ทราบ
20. การทศั นศึกษา มหี นา้ ที่รับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั นี้
1) วางแผนการนานกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษา
2) ดาเนนิ การนานักเรียนไปทศั นศกึ ษานอกสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทก่ี าหนด