The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566 สกจ.เชียงใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ice14122009, 2024-04-03 03:09:38

รายงานประจำปี 2566 สกจ.เชียงใหม่

รายงานประจำปี 2566 สกจ.เชียงใหม่

Keywords: รายงานประจำปี 2566 สกจ.เชียงใหม่

ANNUAL REPORT 2023 สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ 230หมู่1 อาคารรศูนย์สินค้าเกษตรภาคเหนือตำ บลช้างเผือก อำ เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่50300 สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ www.nfccmi.or.th


รายงานประจำ ปี 2566 สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ จัดทำ ขึ้น ตามอำ นาจ หน้าที่แห่งพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553 มาตรา 38 (6) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำ เนินงานโครงการ และ กิจกรรมต่างๆ ของสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่เป็นหน่วยงานใน สังกัดสำ นักงานสภา เกษตรกรแห่งชาติซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านธุรการและทำ หน้าที่เป็นเลขานุการ ของ สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ตามมาตรา 38 (1) ได้ดำ เนินการรวบรวมข้อมูลและจัด ทำ รายงานผลการดำ เนินงานของสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ในรอบปีงบประมาณ สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ คาดหวังว่าเนื้อหาที่ได้รวบรวมไว้ใน รายงานประจำ ปี 2566 นี้ จะนำ ประโยชน์และเป็นข้อมูลให้ผู้ที่สนใจ รวมถึงหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องสามารถนำ ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาภาคการเกษตรเพื่อความก้าวหน้าอย่าง ยั่งยืนต่อไป สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ตุลาคม 2566 คำ นำ


เรื่อรื่ง หน้า ส่วนที่ 1 โครงสร้างอำ นาจหน้าที่สภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ และสำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั่วทั่ไปจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนที่ 3 การดำ เนินงานปีงปีบประมาณ 2566 ส่วนที่ 4 รายงานการเงินปีงปีบประมาณ 2566 ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สารบัญ 1 11 24 70 78


ส่วนที่1 โครงสร้าง/อำ นาจหน้าที่ สภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ และ สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่


รายงานประจำ ปี 2566 1 โครงสร้างสภาเกษตรกรจังหวัด


นาย สมหมาย คำ มาสาร ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ (ชุดที่1) นาย วิทวิยา นาระต๊ะ รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ คนที่ 1 นาย สำ ราญ อรัญญี รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ คนที่ 2 รายงานประจำ ปี 2566 2


สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ (ชุดที่1) นาย สมบัติ ใจอ้าย อำ เภอเมืองเชียงใหม่ ว่าที่ ร.ท. บัญชาการ พลชมชื่น อำ เภอเมืองสารภี นาย กิจติศักดิ์ จันทร์ไพศรี อำ เภอดอยสะเก็ด นาย ดรุณุกิจ สว่างแสง อำ เภอสันกำ แพง นาย อานนท์ ข้าวแท่น อำ เภอสันทราย นาย ไมตรี วงศ์เลิศ อำ เภอแม่ริมริ นาย อนันต์ รุ่งเรือรืง อำ เภอแม่แตง นาย มะนิตร ลำ ไพเราะ อำ เภอเวียวีงแหง นาย บุญยืน สวนพลู อำ เภอไชยปราการ นาย นิธิโรจน์ วันดี อำ เภอฝาง นาย นิคม ตันจิน๊ะ อำ เภอแม่อาย นาย อ้าย เอี้ยงอ้าย อำ เภอสันป่าตอง นาย สุธรรม อ๊อดต่อกัน อำ เภอจอมทอม นาย ปรีชรีา ปาสอน อำ เภอดอยเต่า นาย สุชาติ แสนใจอิ อำ เภออมก๋อย นางอำ ไพพรรณ กันทาแก้ว อำ เภอแม่วาง นาย ไสว สุระเดช อำ เภอแม่ออน นาย เฉลิม สันนิธิรัตน์ อำ เภอกัลยานิวัฒนา รายงานประจำ ปี 2566 3


สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ (ชุดที่1) ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิ ดร. ตะวัน ห่างสูงเนิน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพืช นาย โชคสกุล มหาค้ารุ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสัตว์ นาย สุเทพ ปั๋นธิวงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประมง นาย อุดม จันทร์พรหม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเกษตรกรรมอื่นๆ รายงานประจำ ปี 2566 4


สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ (ชุดที่2) นาย นิกร ทะกลกิจ รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ คนที่ 2 นาย พัด ไชยวงค์ รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ คนที่ 1 นาย วิทวิยา นาระต๊ะ ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ รายงานประจำ ปี 2566 5


รายงานประจำ ปี 2566 6 สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ (ชุดที่2) นางอานันต์ศรี แก้วเลิศตระกูล อำ เภอกัลยาณิวัฒนา นายสุธรรม อ๊อดต่อกัน อำ เภอจอมทอง นายเกรียรีงไกร งามคาย อำ เภอเชียงดาว นายนพดล พงษ์สุวรรณ์ อำ เภอไชยปราการ นายปรีชรีา ปาสอน อำ เภอดอยเต่า นางภูริตริา ชาญธนะภิญโญ อำ เภอดอยสะเก็ด นายเจริญริหลุยจำ วัน อำ เภอดอยหล่อ นายพงศดิษฐ์ แก้วประเสริฐริ อำ เภอฝาง นายวีรวีะชัย ไชยมงคล อำ เภอเมืองเชียงใหม่ นายอินทร หนักแน่น อำ เภอแม่แจ่ม นายอนันต์ รุ่งเรือรืง อำ เภอแม่แตง นายประสิทธิ์ บุญสม อำ เภอแม่ริมริ นายบุญเรือรืน เต๋จา อำ เภอแม่วาง นายไสว สุระเดช อำ เภอแม่ออน นายนิคม ตันจิน๊ะ อำ เภอแม่อาย นายมะนิตร ลำ ไพเราะ อำ เภอเวียวีงแหง นายวิชิวิชิต กลิ่นทอง อำ เภอสันกำ แพง นายชยางกูร ชินวรภัทร อำ เภอสันทราย นายประจวบ ทาก๊า อำ เภอสันป่าตอง ว่าที่ ร.ท. บัญชาการ พลชมชื่น อำ เภอสารภี นายสุชาติ แสนใจอิ อำ เภออมก๋อย นายจงกล โนจา อำ เภอฮอด


สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ (ชุดที่2) ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิ วุฒิ นายนิธิโรจน์ วันดี ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านพืช นางศรัณยา กิตติคุณไพศาล ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านพืช ส.ต.ธงชัย นันไชยพงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านสัตว์ นายไมตรี วงศ์เลิศ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านสัตว์ นายสุเทพ ปั๋นธิวงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านประมง รายงานประจำ ปี 2566 7


(1.) พัฒนาและเสริมริสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรภายในจังหวัด (2.) ประสานนโยบายและการดำ เนินงานระหว่าง องค์กรเกษตรกร สถาบันวิจัวิจัยสถาบันการ ศึกษาและหน่วยงานรัฐ (3.) ส่งเสริมริและสนับสนุนการรวมกลุ่มขององค์กรเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และยุวเกษตรกร ในจังหวัดในรูปแบบต่างๆ (4.) เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัดต่อสภาเกษตรกรแห่งชาติเพื่อบูรณาการเป็น แผนแม่บทเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่รีต่อไป (5.) สนับสนุนและส่งเสริมริการศึกษา การฝึกฝึอบรม (6.) เสนอนโยบายและแนวทางในการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตรกรรม รวมทั้งทั้ราคาผลผลิตทางเกษตรกรรมที่ไม่เป็นธรรมต่อสภาเกษตรกรแห่งชาติ (7.) ให้คำ ปรึกรึษาและข้อแนะนำ แก่เกษตรกรหรือรืองค์กรเกษตรกร (8.) แต่งตั้งตั้คณะทำ งานเพื่อดำ เนินการใดๆ ให้บรรลุ (9.) ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากสภาเกษตรแห่งชาติ อำ นาจหน้าที่ส ที่ ภาเกษตรกรจัง จั หวัด วั เชีย ชี งใหม่ มาตรา 33สภาเกษตรกรจังหวัดมีอำมีอำนาจหน้าที่ดังต่อต่ ไปนี้ รายงานประจำ ปี 2566 8


อัตรากำ ลังสำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ นายพิชิต ไชยทา หัวหน้าสำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดวัเชียงใหม่ นางสาว นุสรา ภูทอง หัวหน้าฝ่าฝ่ยอำ นวยการ นายณัฐวัชวัฑ์ ผ่องเกษม หัวหน้าส่วนยุทธศาสตร์การเกษตร นางสาวมยุรา ชัยวรัตน์ นักจัดการงานทั่วไปชำ นาญการ นางสาวณัชภรณ์ กาวิชวิา นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ นางสาววรินริทร์กมล กฤตฤกษ์ นักวิชวิาการเกษตรชำ นาญการ นางสาวนารีย์รีย์คิอินธิ นักวิเวิคราะห์นโยบายและแผนชำ นาญการ นางนราทิพย์ วิชัวิชัยดิษฐ นักวิเวิคราะห์นโยบายและแผนชำ นาญการ รายงานประจำ ปี 2566 9


(1.) รับผิดชอบงานด้านธุรการ และทำ หน้าที่เป็นเลขานุการของสภาเกษตรกรจังหวัด (2.) รวบรวม ศึกษาและวิเวิคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำ เนิน งานของสภาเกษตรกรจังหวัด (3.) ประชาสัมพันธ์ให้เกษตร และองค์กรเกษตรกร ได้ทราบถึงนโยบายแผนพัฒนาเกษตรกรรม จังหวัดและการดำ เนินงานของสภาเกษตรกรจังหวัด (4.) จัดให้มีระบบฐานข้อมูลและการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ผลงานการวิจัวิจัยและองค์ความรู้เกี่ยว กับการผลิต ผลผลิต การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมรวมทั้งทั้การตลาดทั้งทั้ภายในประเทศ และต่างประเทศ (5.) ประสานการดำ เนินงานกับเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง (6.) จัดทำ รายงานประจำ ปีขปีองสภาเกษตรจังหวัด (7.) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่สภาเกษตรกรแห่งชาติ และสภาเกษตรกร จังหวัดมอบหมาย อำ นาจหน้าที่สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ มาตรา 38 สำ นักสภาเกษตรกรจังหวัดมีอำมีอำนาจหน้าที่ดังดัต่อไปนี้ รายงานประจำ ปี 2566 10


ส่วนที่2 ข้อมูลทั่วไป จังหวัด วั เชียงใหม่


รายงานประจ าปี 2566 11 ประวัติความเป็ นมาของจังหวัดเชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่มีชื่อที่ปรากฏในตา นานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" เป็นราชธานีของ อาณาจกัรลา้นนาไทยมาต้งัแต่พระยามงัรายไดท้รงสร้างข้ึน เมื่อ พ.ศ. 1839 ซึ่งจะมีอายุครบ 727 ปี ในปี พ.ศ. 2566และเมืองเชียงใหม่ไดม้ีววิฒันาการสืบเนื่องกนัมาในประวตัิศาสตร์ตลอดมา เชียงใหม่มีฐานะ เป็นนครหลวงอิสระปกครอง โดยกษตัริยร์าชวงศม์งัราย ประมาณ 261 ปี(ระหวา่ง พ.ศ. 1839 - 2100) ในปีพ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเอกราช ให้แก่กษัตริย์พม่าชื่อบุเรงนอง และได้ตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของพม่านานร่วมสองร้อยปีจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไดท้รงช่วยเหลือลา้นนาไทยภายใตก้ารนา ของพระยา กาวลิะและพระยาจ่าบา้นในการทา สงครามขบัไล่พม่าออกไปจากเชียงใหม่และเมืองเชียงแสนไดส้ าเร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชสถาปนาพระยากาวิละเป็นเจา้เมืองเชียงใหม่ในฐานะ เมืองประเทศราชของกรุงเทพมหานครและมีเช้ือสายของพระยากาวิละ ซ่ึงเรียกว่าตระกูลเจา้เจ็ดตน ปกครองเมืองเชียงใหม่เมืองลา พูนและลา ปาง สืบต่อมาจนกระทงั่ในรัชสมยัของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้เจา้อยูห่วัฯไดโ้ปรดให้ปฏิรูปการปกครองหวัเมืองประเทศราชไดย้กเลิกการมีเมืองประเทศ ราชในภาคเหนือจดัต้งัการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลเรียกวา่มณฑลพายพัและเมื่อปีพ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้เจา้อยหู่วั ไดป้รับปรุงการปกครองเป็นแบบจงัหวดัเชียงใหม่จึงมีฐานะเป็น จังหวัดจนถึงปัจจุบัน ขนาดและที่ตั้ง จงัหวดัเชียงใหม่ต้งัอยู่ทางทิศเหนือของประเทศไทย เส้นรุ้งที่16องศาเหนือและเส้นแวงที่99 องศาตะวนัออก สูงจากระดบัน้า ทะเลปานกลางประมาณ 1,027 ฟุต (310เมตร) ห่างจากกรุงเทพมหานคร 699กิโลเมตรโดยมีส่วนกวา้งที่สุดจากทิศตะวนัออกถึงตะวนัตกกวา้งประมาณ 138กิโลเมตรและส่วนที่ ยาวที่สุด คือ จากทิศเหนือถึงทิศใต้ยาวประมาณ 320 กิโลเมตร (ยาวมากที่สุดของประเทศ)จงัหวดั เชียงใหม่มีพ้ืนที่ประมาณ 20,107.057 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 12,566,911 ไร่มีขนาดใหญ่เป็น อนัดบั1ของภาคเหนือและเป็นอนัดบั2ของประเทศรองจากจงัหวดันครราชสีมา จา แนกเป็นพ้ืนที่ป่า ไม้8,755,504 ไร่คิดเป็นร้อยละ 69.67 พ้ืนที่ทางการเกษตร 2,980,973 ไร่คิดเป็นร้อยละ 23.74และพ้ืนที่ อยอู่าศยัและอื่นๆ 830,434ไร่คิดเป็นร้อยละ 6.59


รายงานประจ าปี 2566 12 การเมืองการปกครอง ประชากร จงัหวดัเชียงใหม่มีประชากรท้งัสิ้น 1,785,791คน เป็นเพศชาย863,373คน เพศหญิง922,418 คน และ มีจา นวนครัวเรือนท้งัสิ้น 840,721ครัวเรือน โดยจากขอ้มูลทะเบียนบา้นสามารถจา แนกเป็นรายอา เภอ ดงัน้ี ที่ อ าเภอ จ านวนประชากร จ านวนครัวเรือน ชาย(คน) หญิง(คน) รวม ร้อยละ จ านวน(คน) ร้อยละ 1 เมืองเชียงใหม่106,662 121,781 228,443 12.79 173,278 20.61 2 จอมทอง 32,342 33,876 66,218 3.71 24,495 2.91 3 แม่แจ่ม 30,403 29,551 59,954 3.36 19,739 2.35 4 เชียงดาว 49,307 49,953 99,260 5.56 33,584 3.99 5 ดอยสะเก็ด 35,699 39,418 75,117 4.21 36,958 4.40 6 แม่แตง 39,969 41,183 81,152 4.51 35,225 4.19 7 แม่ริม 45,995 48,084 94,079 5.27 43,544 5.18 8 สะเมิง 11,994 11,641 23,635 1.23 8,621 1.03 9 ฝาง 60,557 61,981 122,438 6.86 45,568 5.42 10 แม่อาย 38,917 39,261 78,178 4.38 32,934 3.92 11 พร้าว 23,690 24,471 48,161 2.70 21,026 2.50 12 สันป่ าตอง 35,027 39,462 74,484 4.17 33,640 4.00 13 สนักา แพง 41,299 47,120 88,419 4.95 48,634 5.78 14 สันทราย 64,336 74,837 139,173 7.79 74,039 8.81 15 หางดง 42,844 48,421 91,265 5.11 50,871 6.05 16 ฮอด 21,462 21,926 43,388 2.43 16,995 2.02 17 ดอยเต่า 13,564 13,660 27,224 1.52 10,569 1.06 18 อมก๋อย 31,281 30,726 62,043 3.47 23,422 2.79 19 สารภี 40,748 46,561 87,309 4.89 42,533 5.06 20 เวียงแหง 27,119 26,659 53,778 3.01 9,487 1.13 21 ไชยปราการ 25,172 25,945 51,117 2.86 18,205 2.17 22 แม่วาง 15,761 16,149 31,910 1.79 12,041 1.43 23 แม่ออน 10,451 10,632 21,083 1.18 9,461 1.13 24 ดอยหล่อ 12,209 12,920 25,129 1.41 11,549 1.37 25 กลัยาณิวฒันา 6,565 6,164 12,729 0.71 4,303 0.51 รวม 863,373 922,418 1,785,781 100 840,721 100


รายงานประจ าปี 2566 13 เขตการปกครอง จงัหวดัเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25อา เภอ204 ตา บล2,066 หมู่บา้น และมี องคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น จา นวน 211แห่ง เขตการปกครองและพืน้ทสี่่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ที่ อ าเภอ จ านวน จา นวนองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น ต าบล หมู่บา้น อบจ. ทม. ทน. ทต. อบต. 1 เมืองเชียงใหม่16 78 1 1 1 8 1 2 จอมทอง 6 103 6 1 3 แม่แจ่ม 7 104 2 6 4 เชียงดาว 7 83 7 2 5 ดอยสะเก็ด 14 112 13 1 6 แม่แตง 13 120 1 5 7 7 แม่ริม 11 92 6 5 8 สะเมิง 5 45 1 5 9 ฝาง 8 119 4 6 10 แม่อาย 7 93 1 6 11 พร้าว 11 109 6 4 12 สันป่ าตอง 5 120 6 7 13 สนักา แพง 10 100 1 6 3 14 สันทราย 12 125 1 11 - 15 หางดง 11 109 10 2 16 ฮอด 6 61 3 4 17 ดอยเต่า 6 43 1 5 18 อมก๋อย 6 95 1 6 19 สารภี 12 106 12 - 20 เวียงแหง 3 23 1 2 21 ไชยปราการ 4 44 2 2 22 แม่วาง 5 58 1 5 23 แม่ออน 6 49 - 6 24 ดอยหล่อ 4 54 3 1 25 กลัยาณิวัฒนา 3 21 3- รวม 204 2,066 1 4 1 116 89


รายงานประจ าปี 2566 14 สัญลักษณ์จังหวัดเชียงใหม่ ตราประจ าจังหวัด รูปช้างเผือกหันหน้าตรงในเรือนแก้วความหมาย ช้างเผือก หมายถึง ช้างที่เจ้าผู้ครองนคร เชียงใหม่นา ทูลเกลา้ถวายแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้นภาลยัและไดข้้ึนระวางเป็นชา้งเผือก เอกในรัชกาลของพระองค์เรือนแกว้หมายถึง ดินแดนที่พระพุทธศาสนาไดม้าต้งัมนั่เจริญรุ่งเรืองที่ ส าคัญเคยเป็ นสถานที่ส าหรับท าสังคายนา (คือการช าระตรวจสอบความถูกต้อง) พระไตรปิฎกเมื่อ ปี พ.ศ. 2020 ในสมัยพระเจ้าติโลกราชวงศ์มังราย ต้นไม้ประจ าจังหวัดเชียงใหม่ “ทองกวาว” ค าขวัญจังหวัดเชียงใหม่ “ดอยสุเทพเป็นศรีประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติลว้นงามตา นามล้า ค่านครพิงค”์ อาณาเขตติดต่อ - ทิศเหนือ ติดรัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา(The Republic of the Union of Myanmar)


รายงานประจ าปี 2566 15 - ทิศใต้ติดอา เภอสามเงาอา เภอแม่ระมาด อา เภอท่าสองยางจงัหวดัตาก - ทิศตะวนัออก ติดอา เภอแม่ฟ้าหลวงอา เภอเมืองเชียงรายอา เภอแม่สรวย อา เภอเวียงป่ า เป้า จังหวัดเชียงราย, อ าเภอเมืองปาน อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง,อ าเภอบ้านธิ อ าเภอเมือง ลา พูน อา เภอป่าซางอา เภอเวยีงหนองล่องอา เภอบา้นโฮ่งอา เภอล้ีจงัหวดัลา พูน - ทิศตะวนัตก ติดอา เภอปายอา เภอเมืองแม่ฮ่องสอน อา เภอขุนยวม อา เภอแม่ลานอ้ยอา เภอ แม่สะเรียงอา เภอสบเมย จงัหวดัแม่ฮ่องสอน ลกัษณะภูมิประเทศ พ้ืนที่โดยทวั่ ไปของจงัหวดัเชียงใหม่มีสภาพพ้ืนที่เป็นภูเขาและป่าละเมาะ มีที่ราบอยู่ ตอนกลางตามสองฟากฝั่งแม่น้า ปิงมีภูเขาสูงที่สุดในประเทศไทยคือ"ดอยอินทนนท์" มีความสูง จากระดบัน้า ทะเลปานกลางประมาณ 2,565 เมตร นอกจากน้ียงัมีดอยอื่นๆ ที่มีความสูงรองลงมาอีก หลายแห่ง เช่น ดอยผา้ห่มปก(ความสูงจากระดบัน้า ทะเลปานกลาง 2,285 เมตร) ดอยหลวงเชียง ดาว(ความสูงจากระดบัน้า ทะเลปานกลาง 2,170 เมตร)ดอยสุเทพ (ความสูงจากระดบัน้า ทะเลปาน กลาง 1,601 เมตร) สภาพพ้ืนที่จงัหวดัเชียงใหม่แบ่งออกเป็น 2ลกัษณะคือ พ้ืนที่ภูเขาคิดเป็นพ้ืนที่ ประมาณ 80% ของพ้ืนที่จงัหวดัเป็นพ้ืนที่ป่าตน้น้า ลา ธารไม่เหมาะต่อการเพาะปลูกและพ้ืนที่ราบ ลุ่มน้า และที่ราบเชิงเขา ทอดตวัในแนวเหนือ- ใต้ไดแ้ก่ที่ราบลุ่มน้า สาละวิน ลุ่มน้า กก-โขง และ ลุ่มน้า ปิง เป็นพ้ืนที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร ลกัษณะภูมิอากาศ เชียงใหม่เป็นจงัหวดัที่มีสภาพอากาศค่อนขา้งเยน็เกือบตลอดท้งัปีมีอุณหภูมิเฉลี่ยท้งัปี 25.4 องศาเซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่า สุดเฉลี่ย 20.1 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้า ฝนเฉลี่ย 1,100 - 1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจงัหวดัเชียงใหม่อยู่ ภายใต้อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตก-เฉียงใตแ้ละลมมรสุมตะวนัออกเฉียงเหนือแบ่ง ภูมิอากาศออกเป็น 3ฤดูไดแ้ก่ - ฤดูฝน เริ่มต้งัแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม - ฤดูหนาวเริ่มต้งัแต่เดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ - ฤดูร้อน เริ่มต้งัแต่เดือนกุมภาพนัธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม


รายงานประจ าปี 2566 16 ข้อมูลด้านการเกษตร จงัหวดัเชียงใหม่มีพ้ืนที่ทา การเกษตรกระจายอยู่ในท้งั25 อา เภอ โดยมีจา นวนท้งัสิ้น 1,854,294ไร่คิดเป็นร้อยละ14.76ของพ้ืนที่จงัหวดัท้งัหมด และมีครัวเรือนภาคการเกษตร จ านวน ท้งัสิ้น 181,371ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ21.57ของจา นวนครัวเรือนท้งัหมด ซ่ึงอา เภอที่มีพ้ืนที่ทาง การเกษตรมากที่สุด คืออา เภอฝาง จา นวน 210,000 ไร่และอา เภอที่มีครัวเรือนเกษตรกรมากที่สุด คือ อ าเภอจอมทอง จ านวน 12,998 ครัวเรือน การใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อการเกษตร อ าเภอ พ้ืนที่ท้งัหมด (ไร่) พ้ืนที่ทา การเกษตร ที่มา ไม้ผล/ไม้ยืนต้น พืชไร่พืชผัก/ ไม้ดอกไม้ประดับ/ รวมพ้ืนที่ทา การเกษตร จ านวน (ไร่) ร้อยละ พ้ืนที่ เกษตร จ านวน (ไร่) ร้อยละ พ้ืนที่ เกษตร จ านวน (ไร่) ร้อยละ พ้ืนที่ เกษตร จ านวน (ไร่) ร้อยละ พ้ืนที่ เกษตร จ านวน (ไร่) ร้อยละ พ้ืนที่ การเกษตร เมืองเชียงใหม่103,993 1,647 32.74 2,493 49.55 126 2.50 34 0.68 5,031 4.84 เชียงดาว 1,136,301 27,830 17.47 78,735 49.44 52,877 33.20 0 0.00 159,258 13.54 จอมทอง 470,956 14,779 15.00 66,303 67.31 11,823 12.00 280 0.28 98,500 20.91 ดอยสะเก็ด 419,548 28,878 55.07 18,338 34.97 2,497 4.76 11 0.02 52,436 12.50 ฝาง 555,103 28,297 13.47 72,752 34.64 22,815 10.86 0 0.00 210,000 37.83 หางดง 164,441 10,601 28.78 16,197 43.96 700 1.90 6 0.02 36,841 22.40 ฮอด 893,989 16,149 18.79 35,900 41.76 13,851 16.11 40 0.05 85,962 9.62 แม่แจ่ม 1,679,105 53,887 28.81 5,942 3.18 121,474 64.94 0 0.00 187,051 11.14 แม่ริม 277,271 15,120 33.92 10,455 23.46 2,905 6.52 867 1.95 44,573 16.08 แม่แตง 851,740 20,448 21.87 53,655 57.38 7,197 7.70 0 0.00 93,510 10.98 อมก๋อย 1,308,644 50,022 52.93 11,342 12.00 4,255 4.50 0 0.00 94,510 7.22 พร้าว 717,616 37,342 31.85 66,762 56.94 8,728 7.44 47 0.04 117,259 16.34 สะเมิง 561,264 14,337 40.69 4,390 12.46 12,715 36.09 38 0.11 35,232 6.28 สันกา แพง 135,946 31,380 83.80 3,621 9.67 1,558 4.16 0 0.00 37,446 27.54 สันป่ าตอง 110,743 15,034 30.56 27,401 55.71 2,538 5.16 2 0.00 49,189 44.42 สันทราย 178,137 16,752 35.87 11,584 24.81 3,948 8.45 134 0.29 46,700 26.22 สารภี 60,911 3,550 10.03 20,999 59.34 8,265 23.36 1 0.00 35,386 58.09 แม่อาย 460,438 54,282 50.11 31,024 28.64 20,789 19.19 0 0.00 108,321 23.53 ดอยเต่า 502,449 3,812 5.63 52,166 77.01 9,759 14.41 0 0.00 67,850 13.48 เวียงแหง 420,108 13,419 26.51 5,166 10.21 30,984 61.22 0 0.00 50,612 12.05 ไชยปราการ 319,282 10,115 15.36 43,835 66.57 13,707 20.82 0 0.00 65,850 20.62 แม่วาง 376,386 12,435 29.63 21,060 50.19 6,709 15.99 702 1.67 41,961 11.15 แม่ออน 264,114 8,230 15.36 11,388 21.09 3,372 6.25 466 0.86 53,995 20.44 ดอยหล่อ 136,813 7,553 16.08 21,590 45.97 1,252 2.67 0 0.00 46,964 34.33 กลัยาณิวฒันา 421,613 12,607 42.07 2,189 7.30 10,255 34.22 0 0.00 29,969 7.11 รวม 12,566,911 508,506 27.42 695,287 37.50 375,099 20.33 2,628 0.14 1,854,294 14.76


รายงานประจ าปี 2566 17 พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของจังหวัดเชียงใหม่ ชนิดพืช จ านวน เกษตรกร (ราย) เน้ือที่เพาะปลูก (ไร่) เน้ือที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตที่เก็บ เกี่ยวได้(ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่/กิโลกรัม) ข้าวนาปี 77,515 508,506 505,682 303,823 601 ล าไย 51,589 279,542 274,442 116,728 425 มะม่วง 10,984 60,662 46,310 56,591 1,222 ลิ้นจี่6,162 45,790 45,745 11,665 255 กาแฟ 9,099 32,195 30,182 3,924 130 กระเทียม 3,615 29,890 29,860 35,628 1,193 หอมแดง 2,933 10,683 10,683 26,390 2,470 หอมหวัใหญ่1,759 8,001 7,963 33,255 4,176 ยางพารา 1,192 14,889.61 12,842.89 2,235 174 มีเอกสารสิทธมิ- 520 6,078.97 5,710.02 999 0 ไม่มีเอกสารสิทธมิ- 672 8,810.64 7,132.87 1,241 0 รวม 164,848 990,159 963,710 590,239 10,646 สัตว์เศรษฐกิจที่ส าคัญของจังหวัดเชียงใหม่ - ด้านปศุสัตว์ ชนิดสัตว์ จ านวน เกษตรกร (ราย) จ านวนสัตว์ (ตัว) ข้อมูลผลผลิต ราคาเฉลี่ย (หน่วย/บาท) มูลค่าผลผลิต (บาท) จ านวน หน่วยนบั สุกร 15,317 382,975 291,625 (จ านวนที่ เขา้โรงฆ่าสตัว)์ ตัว 6,400 1,866,400,000 กระบือ 5,732 53,167 6,070 (จ านวนที่เข้า โรงฆ่าสตัว)์ ตัว 50,000 303,500,000 โคเน้ือ 15,008 164,121 52,500 (จ านวนที่ เขา้โรงฆ่าสตัว)์ ตัว 45,000 2,362,500,000 โคนม 1,134 53,089 84,212.94 (ปริมาณนม) ตัว 18 บาท/กิโลกรัม 1,505,000,001 ไก่62,936 7,449,098 4,574,923 (จ านวน ที่เขา้โรงฆ่าสตัว)์ ตัว 53 240,150,383 ผ้ึงพนัธุ์(ฟาร์ม) 179 n/a 1,562,900 น้า ผ้ึง (กิโลกรัม) 90 บาท/กิโลกรัม 140,661,000 รวม 100,306 8,102,450 6,428,211,384


รายงานประจ าปี 2566 18 - ด้านประมง ชนิดสัตว์ จ านวนเกษตรกร (ราย) จา นวนบ่อ เน้ือที่เล้ียง (ไร่) ผลผลิต (กิโลกรัม) ราคาเฉลี่ย (หน่วย/บาท) มูลค่าผลผลิต (บาท) ปลาทับทิม 158 328 5,336.20 986,425 80 78,914,000 ปลานิล 5,780 6,753 5,309.31 1,974,867 60 26,734,535 ปลาไน 49 55 23.74 445,579 50 22,278,950 ปลาตะเพียน 240 260 896.63 92,943 50 4,647,146 ปลาบึก 7 15 5.66 2,806 60 1,683,336 ปลาสวาย 10 35 32.30 19,533 75 1,464,946 ปลาดุก 579 634 722.73 15,325 70 1,072,750 ปลาหมอไทย 27 63 826.53 11,893 78 927,648 ปลากด 7 9 2.25 7,865 100 786,500 ปลายี่สกเทศ 24 25 12.38 8,340 44 366,945 ปลานวลจันทร์เทศ 21 26 14.01 4,750 40 190,000 กบ 22 124 1.86 1,860 77 143,223 ปลาน้า จืดอื่นๆ 30 41 23.43 2,063 40 82,500 รวม 6,954 8,368 13,207.03 3,574,248 139,292,479 ข้อมูลแหล่งน า้และการชลประทานทสี่ าคัญ - แม่น้า ปิง เป็นแม่น้า สายหลกัมีความยาวประมาณ 600กิโลเมตร มีตน้น้า มาจากดอยถว้ยในอา เภอเชียงดาว ไหลผา่นอา เภอเชียงดาวอา เภอแม่แตง อา เภอสันทราย อา เภอแม่ริม อา เภอเมืองเชียงใหม่ (ความจุ440ลบ.ม./ วินาที) อ าเภอสารภี อ าเภอหางดง อ าเภอสันป่ าตอง อ าเภอจอมทอง อา เภอฮอด และอา เภอดอยเต่า จงัหวดัเชียงใหม่ผ่านจงัหวดัเชียงใหม่ จงัหวดัตากจงัหวดักา แพงเพชร และไหลมารวมกบัแม่น้า น่าน ที่ตา บล ปากน้า โพ จงัหวดันครสวรรค์เป็นแม่น้า เจา้พระยา - แม่น้า แตง มีความยาว 135กิโลเมตร ตน้น้า มาจากดอยบุกป่าแฝกขุนแม่ แตง ในเขตอา เภอเวยีงแหงผา่นอา เภอแม่แตง ไหลลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งขวา ที่ ตา บลสันมหาพน อา เภอแม่แตง จงัหวดัเชียงใหม่ความจุของลา น้า 300 ลบ.ม./วินาที - แม่น้า แม่งดัมีความยาว 70 กิโลเมตร มีตน้น้า มาจากภูเขาทางทิศเหนือ ของอา เภอพร้าว จงัหวดัเชียงใหม่ไหลผ่านตา บลเวียง ตา บลน้ าแพร่


รายงานประจ าปี 2566 19 ตา บลแม่แวน ตา บลแม่ปั๋ง ตา บลโหล่งขอด แลว้ไหลลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งซ้าย ที่บา้นช่อแลอา เภอแม่แตง จงัหวดัเชียงใหม่ - แม่น้า แม่กวง มีความยาว 105 กิโลเมตร มีตน้น้า จากดอยผีปันน้า ไหล ผ่านอา เภอดอยสะเก็ด อา เภอสันทราย อา เภอสันกา แพง อา เภอเมือง เชียงใหม่และอา เภอสารภีจงัหวดัเชียงใหม่และไหลผ่านจงัหวดัลา พูน อ าเภอบ้านธิ อ าเภอเมืองลา พูน ลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งซา้ยที่อา เภอป่าซาง - แม่น้า แม่ริม มีความยาว 49กิโลเมตร ตน้น้า เกิดจากป่าแป๋อา เภอแม่แตง จงัหวดัเชียงใหม่ไหลผา่นอา เภอแม่ริม ลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งขวาที่ตา บลริมใต้ อา เภอแม่ริม จงัหวดัเชียงใหม่ - แม่น้า แม่ขาน มีความยาว 107กิโลเมตร ตน้น้า เกิดจากดอยแม่ตะละกบั ดอยแม่แดดนอ้ยอา เภอสะเมิงจงัหวดัเชียงใหม่ไหลผา่นอา เภอแม่วางลง สู่แม่น้า ปิงฝั่งขวาที่ตา บลท่าวงัพร้าวอา เภอสันป่าตอง จงัหวดัเชียงใหม่ - แม่น้ ากลาง มีความยาว 45 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาดอยอิน ทนนท์ด้านตะวนัออก ไหลผ่านอา เภอจอมทอง จงัหวดัเชียงใหม่ลงสู่ แม่น้า ปิงฝั่งขวา - แม่น้า แม่แจ่ม มีความยาว 170กิโลเมตร ตน้น้า เกิดจากภูเขาทิศเหนือของ ช่องปางเกี๊ยะใน อา เภอแม่แจ่ม ผ่านตวัอา เภอแม่แจ่ม และอา เภอฮอด จงัหวดัเชียงใหม่ไหลลงสู่แม่น้ าปิงฝั่งขวาที่บ้านสบแจ่ม อา เภอฮอด จงัหวดัเชียงใหม่ - แม่น้า แม่หาด มีความยาวประมาณ 70กิโลเมตร ตน้น้า เกิดจากเทือกเขา ในเขตอา เภอล้ีจงัหวดัลา พูน ไหลลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งซ้ายที่อา เภอดอยเต่า จงัหวดัเชียงใหม่ - แม่น้ าแม่ตื่น มีความยาว 150 กิโลเมตร ต้นน้ าเกิดจากช่องเขาระหว่าง อา เภออมก๋อยจงัหวดัเชียงใหม่ไหลผา่นอา เภออมก๋อยแลว้ไหลลงสู่แม่น้า ปิงฝั่งขวาในเขตจงัหวดัตาก - แม่น้า กก มีความยาว 180 กิโลเมตร ตน้น้า จากภูเขาทางทิศใตข้องเมือง เชียงตุง ประเทศพม่า ไหลผ่านเมืองกกเมืองสาตะในพม่าผ่านอา เภอแม่ อาย จงัหวดัเชียงใหม่ผ่านอา เภอเมืองเชียงราย จงัหวดัเชียงรายแลว้ไหล ลงสู่แม่น้า โขง ที่อา เภอเชียงแสน จงหวัดเชียงราย ั


รายงานประจ าปี 2566 20 - แม่น้า ฝาง มีความยาว70กิโลเมตร ตน้น้า เกิดจากดอยหวัโท บนถนนสาย เชียงใหม่-ฝาง เขตอา เภอไชยปราการ ไหลข้ึนทางทิศเหนือ ผ่านอา เภอ ไชยปราการ อา เภอฝาง อา เภอแม่อาย จงัหวดัเชียงใหม่แล้วไหลลงสู่ แม่น้ ากกฝั่งขวา เนื่องจากการบริหารจัดการน้ า ในลุ่มน้ าปิงตอนบน ลกัษณะทางกายภาพของลุ่มน้า สาขามีความเด่นชดัจึงมีการแบ่งเป็นลุ่ม น้ าสาขาออกเป็น 12 ลุ่มน้ าสาขา และล าน้ าแม่ปิงตอนบน สามารถ แบ่งเป็น 3ลุ่มน้า สาขา รวมเป็น 15ลุ่มน้า สาขาครอบคลุม 2 จงัหวดัคือ จงัหวดัเชียงใหม่และเชียงราย ส าหรับลุ่มน้า โขงส่วนที่1และกก มีลุ่มน้า สาขาน้า ฝางจา นวน 1ลุ่มน้า สาขา โดยสรุปการแบ่งเป็นลุ่มน้า สาขาเฉพาะในพ้ืนที่จงัหวดัเชียงใหม่มีจา นวน 13ลุ่มน้า สาขา ไดแ้ก่ลุ่มน้า สาขาแม่แตงลุ่มน้า สาขาแม่งดัลุ่มน้า สาขาแม่กวง ลุ่มน้า สาขาแม่ริม ลุ่มน้า สาขาแม่ ขาน ลุ่มน้า สาขาแม่แจ่ม ลุ่มน้า สาขาแม่หาด ลุ่มน้า สาขาแม่ทาลุ่มน้า สาขาแม่ตื่น ลุ่มน้า สาขาแม่ปิง ส่วนที่1ลุ่มน้า สาขาแม่ปิงส่วนที่2ลุ่มน้า สาขาแม่ปิงส่วนที่3และลุ่มน้า สาขาน้า ฝาง ในส่วนของ ลุ่มน้า ยวมมีลา หว้ยสาขาเป็นตน้น้า ของลา น้า ยวมไหลลงสู่ลา น้า เมยและแม่น้า สาละวนิมีพ้ืนที่ลุ่มน้า บางส่วนในเขตพ้ืนที่จงัหวดัเชียงใหม่ ข้อมูลพืน้ทชี่ลประทานในจังหวดัเชียงใหม่ จงัหวดัเชียงใหม่มีโครงการพฒันาแหล่งน้า จา นวนมากท้งัโครงการขนาดใหญ่โครงการ ขนาดกลางโครงการขนาดเล็กและโครงการสูบน้า ดว้ยไฟฟ้า ซ่ึงโครงการเหล่าน้ีอยู่ภายใตค้วาม รับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ไดแ้ก่กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้า บาดาล กรมเจา้ท่ากรมโยธาธิการและผงัเมืองและองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่น รวมท้งัองคก์รภาคเอกชน โดยสามารถจา แนกได้ดงัน้ี โครงการขนาดใหญ่ประกอบด้วย 4 โครงการ ที่ ชื่อโครงการ ที่ต้งัโครงการ ระดบักกัเก็บ (ลบ.ม.) หมู่บา้น ต าบล อ าเภอ สูงสุด พ้ืนที่(ไร่) ต ่าสุด พ้ืนที่(ไร่) 1 เขื่อนแม่งดัสมบูรณ์ชล แม่วะ ช่อแล แม่แตง 265,000 10,000.00 10,000 2 เขื่อนแม่กวง ผาแตก ลวงเหนือ ดอยสะเก็ด 263,000 175,000 14,000 3 ฝายแม่แฝก หนองกอก ช่อแล แม่แตง 400,000 8,798.66 28,320 4 ฝายแม่แตง หัวป่ าห้า แม่แตง แม่แตง 347,000 99,298 344.50


รายงานประจ าปี 2566 21 โครงการขนาดกลาง จ านวน 33 แห่ง ที่ ชื่อโครงการ ที่ต้งัโครงการ รายละเอียดโครงการ หมู่บา้น ต าบล อ าเภอ กว้าง (.ม) ยาว (.ม) สูง (.ม) ความจุ(ล้าน ลบ.ม.) พ้ืนที่ขป(ไร่) . 1 อ่างเก็บน้า ห้วยแม่ออน หนองหอย ออนเหนือ แม่ออน 8.00 880.00 23.00 4.530 5,001 2 อ่างเก็บน้า บา้นแม่ตะไคร้แม่ตะไคร้ ทาเหนือ แม่ออน 7.00 200.00 22.00 0.850 829 3 อ่างเก็บน้า แม่จอกหลวง พระนอน ดอนแกว้แม่ริม 8.00 554.00 18.00 1.100 อุปโภค 4 อ่างเก็บน้า แม่โก๋น เหล่า ป่ าไหน๋ พร้าว 6.00 432.00 30.50 5.530 8,835 5 อ่างเก็บน้า แม่สลวม บ้านสหกรณ์ ป่ าตุ้ม พร้าว 6.00 185.00 17.00 16.240 10,000 6 อ่างเก็บน้า แม่ทะลบหลวง แม่ทะลบ แม่ทะลบ ไชยปราการ 9.00 531.00 33.50 15.300 7,908 7 อ่างเก็บน้า ห้วยเดื่อ ห้วยเดื่อ แม่คะ ฝาง 6.00 180.00 20.00 4.276 5,523 8 อ่างเก็บน้า แม่แหลงหลวง แม่แหลง แม่อาย แม่อาย 8.00 265.00 29.70 3.641 7,484 9 อ่างเก็บน้า แม่ชอ้น ใหม่ เมืองงาย เชียงดาว 8.00 310.00 35.00 4.080 5,047 10 อ่างเก็บน้า ห้วยมะนาว ห้วยเนียม ดอนเปา แม่วาง 8.00 540.00 21.00 4.300 4,986 11 อ่างเก็บน้า สันหนอง ป่ าเท้อ ช่างเคิ่ง แม่แจ่ม 7.00 600.00 18.00 1.450 1,092 12 อ่างเก็บน้า ห้วยโป่งจอ้ โป่ งจ้อ สันติสุข ดอยหล่อ 8.00 400.00 18.00 2.600 9,742 13 อ่างเก็บน้า แม่ตูบ โปงทุ่ง โปงทุ่ง ดอยเต่า 8.00 120.00 30.00 39.000 14,200 14 อ่างเก็บน้า ห้วยหยวก ช่างเคียน ช้างเผือก เมือง 150.00 5.00 0.300 อุปโภค 15 อ่างเก็บน้า ผาลาด ห้วยแกว้สุเทพ เมือง 8.00 120.00 20.00 0.200 อุปโภค 16 อ่างเก็บน้า ห้วยแกว้สุเทพ เมือง 300.00 15.00 0.360 อุปโภค 17 อ่างเก็บห้วยเกี๋ยง แม่ฮกัพฒันาฯ หนองแหยง่ สันทราย 8.00 200.00 17.00 0.400 510 18 อ่างเก็บน้า ห้วยฮกัแม่ฮกัพฒันาฯ หนองแหยง่ สันทราย 9.00 185.00 15.00 0.600 465 19 ประตูระบายน้า ในลา นา ปิง (ป่ าแดด) ป่ าแดดเหนือ ป่ าแดด เมือง 35.00 130.00 6.50 20 ประตูระบายน้า แม่สอย หนองคัน แม่สอย จอมทอง 20.00 125.00 8.00 47,359 21 ฝายท่าศาลา (พญาค า) LMC๑ ท่าศาลา วัดเกตุ เมือง 20.00 130.00 2.00 28,000 22 ฝายหนองน้า ผ้งึ LMC๒ หนองหอย หนองหอย เมือง 15.00 110.00 2.50 5,200 23 ฝายท่าวงัตาล (ปตร.) น้า ในลา น้า ปิง LMC๓ ป่ าเปอะ ท่าวดัตาล สารภี 1.40 75.00 6.50 4,100 24 ฝายแม่สาใหม่แม่สาใหม่ โป่ งแยง แม่ริม 1.00 4.00 1.50 1,000 25 ฝายหนองหอย หนองหอย แม่แรม แม่ริม 1.50 7.00 2.00 800 26 ฝายแม่สาว แม่สาว แม่สาว แม่อาย 2.00 23.00 8.50 10,091 27 ฝายเชียงดาว ม่วงฆอ้ง เชียงดาว เชียงดาว - 193.00 9.00 2,676 28 ฝายตีนธาตุ ตีนธาตุ เมืองแหง เวียงแหง 10.00 91.00 2.50 3,208 29 ฝายห้วยผ้งึ (ผันน้า ลงอ่างฯห้วยมะนาว) ห้วยเนียม ดอนเป่ า แม่วาง 1.50 10.00 2.00 ผนัน้า 30 ฝายแม่ตื่น (ผันน้า ลงอ่างฯห้วยโป่งจอ) ้แม่ตื่น สันติสุข ดอยหล่อ 2.00 20.00 4.00 ผนัน้า 31 ฝายเหมืองใหม่ เมืองกลาง บ้านหลวง จอมทอง 3.00 3.00 1.50 8,219 32 ฝายแม่เทย(พร้อมระบบ) ห้วยไม้หก แม่ตื่น อมก๋อย 10.00 10.00 4.00 974 33 ฝายดอยน้อย ดอยน้อย ดอยหล่อ ดอยหล่อ 15.00 15.00 7.00 3,200


รายงานประจ าปี 2566 22 โครงการชลประทานขนาดเล็ก มีจ านวนทั้งสิ้น 262 แห่ง ประกอบด้วย อ่างเก็บน ้า 33 แห่ง และฝายทดน ้า 229 แห่ง โดยสามารถแยกตามรายอ าเภอได้ ดังนี้ ที่ อ าเภอ อ่างเก็บน้า ฝายทดน้า แม่น้า /ลา น้า /หนอง/บึง จ านวน (แห่ง) ระดบักกัเกบ ็ (ลบ.ม.) จ านวน (แห่ง) ระดบักกัเก็บ (ลบ.ม.) จ านวน (แห่ง) ระดบักกัเก็บ (ลบ.ม.) 1 เมือง - - 3 - 11 - 2 สารภี - - 1 - - 3 หางดง - - 4 - 6 - 4 สะเมิง 1 0.840 19 - 2 - 5 สนักา แพง 1 0.650 6 - 7 - 6 แม่ออน 1 0.120 8 - 12 - 7 สันทราย - - 1 - 16 - 8 ดอยสะเก็ด 1 0.800 2 - 6 - 9 แม่ริม 4 1.370 1 - 9 - 10 แม่แตง 4 1.130 11 - 31 - 11 พร้าว 1 0.680 22 - 21 - 12 ไชยปราการ 3 1.150 7 - 17 - 13 ฝาง 2 0.870 14 - 80 - 14 แม่อาย 2 3.120 14 - 61 - 15 เชียงดาว 2 2.150 27 - 11 - 16 เวียงแหง 1 0.310 8 - 3 - 17 สันป่ าตอง 1 0.720 10 - 19 - 18 แม่วาง - - 12 - 7 - 19 แม่แจ่ม 1 0.120 21 - 4 - 20 กลัยาณิวัฒนา - - 1 - 21 ดอยหล่อ 2 0.500 5 - 9 - 22 จอมทอง 5 1.830 10 - 15 - 23 ฮอด - - 10 - 25 - 24 ดอยเต่า 1 0.020 5 - 31 - 25 อมก๋อย - - 8 - 3 - รวม 33 16.730 229 - 407 -


รายงานประจ าปี 2566 23 โครงการชลประทานในพระราชด าริ มีจ านวนทั้งสิ้น 231 แห่ง ประกอบด้วย อ่างเก็บน ้า 76 แห่ง ฝายทดน ้า 155 แห่ง โดยสามารถแยกตามรายอ าเภอได้ ดังนี้ ที่ อ าเภอ จา นวนอ่างเก็บน้า (แห่ง) จา นวนฝายทดน้า (แห่ง) 1 เมือง 3 6 2 หางดง 1 2 3 สะเมิง 8 8 4 แม่ออน 6 4 5 สันทราย 1 - 6 ดอยสะเก็ด 1 - 7 แม่ริม 4 7 8 แม่แตง 6 - 9 พร้าว 3 6 10 ไชยปราการ - 1 12 ฝาง 4 11 13 แม่อาย 3 8 14 เชียงดาว 9 14 15 เวียงแหง 2 4 16 แม่วาง - 9 17 แม่แจ่ม 6 34 18 กลัยาณิวฒันา 3 5 19 จอมทอง 2 7 20 ฮอด 1 1 21 ดอยเต่า 11 3 22 อมก๋อย 2 25 รวม 76 155


ส่วนที่ 3 การดำ เนินงาน สภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ และ สำ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัด วั เชียงใหม่ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2566


รายงานประจ าปี 2566 24 รายงานผลการน าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบลเวียง อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สู่กจิกรรมการจัดทา แผนธุรกจิเกษตรกรรมกล่มุเกษตรกรบ้านป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ต าบลเวียง อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ความเป็ นมา สภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ ไดด้า เนินการจดัทา แผนพฒันาอาชีพเกษตรกรรมระดบัตา บลเวียง อา เภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566คร้ังที่1/2566 เมื่อวนัที่19 มกราคม 2566 ณ ห้อง ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตา บลเวียง อา เภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่เพื่อพฒันาและแก้ปัญหาในการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกรในต าบล และปรับเปลี่ยนรูปแบบการท าการเกษตรในลักษณะของ การนา ร่องหรือการทา เป็นตวัอยา่ง โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและภาคส่วนที่เกี่ยวขอ้ง จากการประชุมดงักล่าวมีกลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเทา้พ่อเขา้ร่วมประชุมและไดเ้สนอ ปัญหาเรื่องการพฒันาคุณภาพของกลุ่มเกษตรกรในการผลิตและจา หน่ายเมล็ดพนัธุ์ขา้วผ่านการวิเคราะห์ แผนธุรกิจและไดข้อแนวทางการส่งเสริมของ SME แก่กลุ่มเกษตรกรน้นั ผลการด าเนินงาน ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่จึงไดจ้ดัประชุมและเสนอแนะแนวทางในจดัทา แผนธุรกิจ เกษตรกรรมกลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเทา้พ่อในวนัที่8 สิงหาคม 2566 เวลา 08.30 – 17.00 น. ณ หอ้งประชุมกลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเทา้พ่อ301/1 หมู่2 บา้นป่าบง ตา บล เวียง อ าเภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่โดยมีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันาฯ ร่วมประชุมจา นวน 40คน มีหน่วยงานเขา้ร่วมใหค้วามรู้แก่กลุ่มเกษตรกรคือ ส านกังานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ยอ่ม และ สา นกังานกองทุนฟ้ืนฟูและพฒันาเกษตรกรสาขาจงัหวดัเชียงใหม่โดยส านกังานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมได้นา เสนอการจดัทา แผนธุรกิจเพื่อยื่นขอสนับสนุนงบประมาณ และวิธีการ ข้นัตอนการเขา้รับบริการโครงการส่งเสริมผูป้ระกอบการผา่นระบบBDS และสัดส่วนการรับเงินอุดหนุน ค่าใชจ้่ายผา่นโครงการและหวัหนา้สา นกังานกองทุนฟ้ืนฟูและพฒันาเกษตรกรสาขาจงัหวดัเชียงใหม่ ไดน้า เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรของกองทุนฟ้ืนฟูและพฒันาเกษตรกร และหลกัเกณฑ์การ ดา เนินโครงการปรับโครงสร้างหน้ีและฟ้ืนฟูอาชีพเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2566 25 นายนิธิโรจน์วนัดีสมาชิกสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ประเภทผูท้รงคุณวุฒิด้านพืช ประธาน กลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเทา้พ่อไดน้า เสนอผลการดา เนินงานกลุ่ม ปัญหา และความ ตอ้งการของกลุ่มให้แก่หน่วยงานที่เขา้ร่วมประชุมเพื่อหาแนวทางการส่งเสริมและสนบัสนุน ในส่วนของ แผนธุรกิจของกลุ่มมีความตอ้งการขยายธุรกิจบริการดา้นปัจจยัทางการเกษตร เช่น ปุ๋ย ยาและการบริการฉีด พน่ดวยโดรนทางการเกษตร ้ นายวทิยา นาระตะ๊ ประธานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ไดร้ับขอ้เสนอแผนธุรกิจเพื่อประสานไป ยงัสา นกังานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (DAPA) เพื่อเขา้ร่วมและขอรับการสนบัสนุนตามโครงการส่งเสริมการ ใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร(โดรนเพื่อการเกษตร) กลุ่มเกษตรกรบา้นป่าบงพฒันา 9101 ตามรอยเทา้พ่อได้ ดา เนินการจดัส่งเอกสารใหส้า นกังานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั (DAPA) และกา ลงัรอฟังผลการพิจารณาต่อไป


รายงานประจ าปี 2566 26 สรุปการจัดทา เวทรีะดมความคดิเห็นการจัดทา แผนพฒันาเกษตรกรรมระดับ ต าบลเวียง อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ดว้ยสภาเกษตรกรแห่งชาติกา หนดนโยบายให้สภาเกษตรกรจงัหวดัทุกจงัหวดัดา เนินการ จัดท าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบลในปี งบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดละ 1 ต าบล เพื่อพัฒนา และแกป้ ัญหาในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกรในตา บล หรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการท า การเกษตรในลกัษณะของการนา ร่องหรือการทา เป็นตวัอยา่ง โดยผา่นกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกร และภาคส่วนที่เกี่ยวขอ้งในพ้ืนที่ที่จะดา เนินการจดัทา แผนพฒันาอาชีพเกษตรกรรม โดยให้ความส าคญักบั การพฒันาและแกไ้ขปัญหาอยา่งนอ้ย ๖ ด้าน ประกอบด้วย 1) ดา้นหน้ีสิน 2) ดา้นแหล่งน้า เพื่อการเกษตร 3) ดา้นที่ดินทา กิน 4) ดา้นราคาสินคา้เกษตร 5) ดา้นสวสัดิการเกษตรกร สิทธิเกษตรกรและการไม่ไดร้ับ ความเป็ นธรรม และ 6) ด้านสังคมหรือคุณภาพชีวิตของเกษตรกร และให้เกิดการบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานหรือองค์กรพฒันาและแกไ้ขปัญหาด้านการเกษตรตลอดจนขับเคลื่อนแผนพัฒนาเกษตรกรรม ระดบัตา บลในชุมชนไดอ้ยา่งเป็นรูปธรรม สา นกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่จึงไดด้า เนินการจดัเวทีระดมความคิดเห็นในการ ทา แผนพฒันาอาชีพเกษตรกรรมระดับตา บลเวียง อา เภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่คร้ังที่1/2566 เมื่อวนั พฤหัสบดีที่ 19 มกราคม 2566 เวลา 08.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมสภาองคก์ารบริหารส่วนตา บลเวียง อา เภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่โดยมีหน่วยงานและภาคประชาชนเขา้ร่วมประชุมดงัน้ี1) ส านักงานกองทุน ฟ้ืนฟูและพฒันาเกษตรกรสาขาจังหวดัเชียงใหม่2) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) 3)อุตสาหกรรมจงัหวดัเชียงใหม่4) สมาพนัธ์SME ไทย จงัหวดัเชียงใหม่5) ส านกังานเกษตรอา เภอฝาง 6) องค์การบริหารส่วนตา บลเวียง อา เภอฝาง จงัหวดัเชียงใหม่7) สถาบนัพฒันาองค์กรชุมชน(องค์การ มหาชน) 8) กา นันและผูใ้หญ่บา้นตา บลเวียง 9) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตา บลเวียง 10) ผูแ้ทน เกษตรกรระดบัหมู่บา้นตา บลเวียง 11)สมาชิกสภาเกษตรกรอา เภอฝาง และแม่อาย โดยมีผูเ้ขา้ร่วมจา นวน ท้งัสิ้น 60คน โดยการจดัเวทีรับฟังความเห็นจากเกษตรกรและผูเ้กี่ยวขอ้ง และปรับปรุง จดัทา แผนพฒันา เกษตรกรรมระดับต าบลให้สมบูรณ์ ที่ในประชุมไดม้ีการนา เสนอขอ้มูลปัญหาและแนวทางการแกไ้ข ดงัน้ี


รายงานประจ าปี 2566 27 1.ข้อมูลปัญหาหนีส้ินของเกษตรกร 1. ปัญหาหน้ีสินเกิดจากเกษตรกรมีรายไดแ้ละค่าใชจ้่ายในครัวเรือนสูงข้ึน ส่วนใหญ่นา ไปใชเ้พื่อการเกษตรและ ธุรกิจที่ก่อใหเ้กิดรายได้และเกษตรกรส่วนมากยงันิยมการปลูกพืชเชิงเดียว ซ่ึงราคาผลผลิตพืชผลทางการเกษตร ค่อนขา้งผนัผวน และมีราคาต่า 2. ตน้ทุนการผลิตมีราคาสูง ท้งัจากเมล็ดพนัธุ์อาหารสัตว์ปุ๋ยเคมีสารเคมีทางการเกษตร น้า มนัเช้ือเพลิงและ ไฟฟ้าเพื่อการเกษตร 3. เกษตรกรมีหน้ีสินเพิ่มข้ึนจากการนา เงินกูไ้ปใชผ้ิดวตัถุประสงค์การขาดวินยัทางการเงิน การขาดความรู้ใน การบริหารจดัการทางการเงินการมีหน้ีสินลน้พน้ตวัมีหน้ีหลายทางรวมถึงการประสบภยัพิบตัิและราคาผลผลิต ทางการเกษตร 4. เป็นหน้ีนอกระบบผูม้ีรายไดน้อ้ยส่วนใหญ่เป็นหน้ีนอกระบบ สาเหตุเกิดจากค่าครองชีพสูงข้ึน การไม่มีวินยั ทางการเงิน และการเขา้ไม่ถึงแหล่งทุน เพราะการเขม้งวดในการปล่อยสินเชื่อของสถาบนัการเงิน 5. การเขา้ไม่ถึงแหล่งทุนของเกษตรกร สาเหตุที่เกษตรกรไม่สามารถเขา้ถึงแหล่งเงินทุนที่เป็นทางการได้ เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่อยใู่นชนบทอาจจะมีรายไดไ้ม่เพียงพอมีความเสี่ยงทางการเงินสูง ซ่ึงส่วนใหญ่จะไป หาแหล่งทุนผา่นระบบสหกรณ์สถาบนัการเงินเฉพาะกิจต่าง ๆ เช่น ธนาคารออมสิน หรือธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์เพื่อการเกษตรกู้เงินนอกระบบหรือหยิบยืมเงินญาติพี่น้องโดยเกษตรกรมากกว่าคร่ึงกู้เงินจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 6. การช่วยเหลือแกไ้ขปัญหาหน้ีสินบางกองทุนยงัช่วยเหลือเกษตรกรไม่เต็มประสิทธิภาพ 7. เกษตรกรบางส่วนยงัไม่มีกองทุนใดที่จะใหก้ารช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาความเดือดร้อนตอ้งการเงินทุน ความต้องการ/แนวทางการพัฒนา 1. จดัระบบการจดัการหน้ีสินโดยการรวมหน้ีเดิมและหน้ีปัจจุบนัเป็นกอ้นเดียวกนัเพื่อจะไดแ้กไ้ขปัญหา หน้ีสินที่เกิดข้ึนไดอ้ยา่งแทจ้ริง 2. สา รวจหน้ีสินท้งัในและนอกระบบเพื่อนา มาจดัการหน้ีสินไดอ้ยา่งเป็นระบบ 3. ยดืเวลาพกัช้า ระหน้ีโดยไม่มีการคิดดอกเบ้ียเพิ่มเติม 4. รัฐบาลควรกา หนดนโยบายในการจดัการดา้นสินคา้เกษตร 5. จดัทา นโยบายดา้นเกษตรกรรมโดยใหเ้กษตรกรมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายดา้นเกษตรกรรมของรัฐบาล 5.1 ในการปรับโครงสร้างหน้ีขอใหป้รับดอกเบ้ียเป็นศูนยเ์พื่อลดความเดือดร้อนแก่เกษตรกร 5.2 กระทรวงพาณิชยจ์ดัหาตลาดรับซ้ือที่แน่นอนในแต่ละชนิดพืชโดยเฉพาะพืชอ่อนไหว 5.3 ภาครัฐมีการประกนัราคาสินคา้เกษตรทุกชนิด


รายงานประจ าปี 2566 28 5.4 แก้ไขปัญหาหน้ีสินจากการปลูกหอมหัวใหญ่ที่เกิดจากราคาหัวพนัธุ์แพงเกินกว่าราคาที่ สหกรณ์กา หนด 5.5 ลดหยอ่นหลกัเกณฑ์ในการใชห้ลกัประกนัโดยหากใชห้ลกัทรัพยค์้า ประกนัแลว้ให้ยกเวน้การใช ้ บุคคลค้า ประกนั 5.6 จัดระบบโควตาของสหกรณ์ให้เป็ นธรรม 2.ปัญหาที่ดินท ากิน 1. เกษตรกรบางส่วนมีที่ดินที่ไม่มีเอกสารสิทธ์ิส่งผลใหม้ีจา กดัในการเขา้ถึงมาตรการใหค้วามช่วยเหลือและ เยียวยาจากรัฐ 2. เกษตรกรไม่มีที่ดินทา การเกษตรโดยไม่มีที่ดินเป็นของตนเองเลยเป็นการเช่าที่ดินท้งัหมดหรือมีแต่ไม่ เพียงพอทา กินโดยเกษตรกรส่วนใหญ่มีที่ดินทา กินน้อยเป็นการเช่าที่ดินเพื่อทา การเกษตรเพิ่มจากที่ดินซ่ึง ตนเองมีอยู่เพื่อสร้างรายไดแ้ละใชจ้่ายในครัวเรือน 3. ปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์และปัญหาขาดแคลนพันธุ์พืชคุณภาพดี 4. สภาพดินเสื่อมโทรม พ้ืนที่มีความลาดชนัซ่ึงทา ใหม้ีปัญหาการชะลา้งพงัทลายของดิน 5. สภาพดินในพ้ืนที่ดอนเป็นดินต้ืนปนกรวดกลมและดินมีความลาดชนัสูงประมาณร้อยละ 23.33ของ พ้ืนที่ตา บลท้งัหมด ความต้องการ/แนวทางการพัฒนา 1. หน่วยงานราชการตอ้งสา รวจพ้ืนที่ทา กินของเกษตรกรแลว้พิจารณาออกเอกสารสิทธ์ิทา กินเป็นรายๆ 2. คณะกรรมการระดบัพ้ืนที่มีส่วนในการตรวจสอบรังวดัและกา หนดการใชป้ระโยชน์และการอนุญาตใน การให้เข้าท าประโยชน์ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งร่วมกบัหน่วยงานพ้ืนที่ตรวจสอบค่าเช่าที่ดินเพื่อกา หนดแนวทางในการปรับค่า เช่าที่ดินใหเ้ป็นธรรมอยา่งเป็นรูปธรรม 4. ภาครัฐควรมีนโยบายใหเ้กษตรกรที่ถือครองที่ดินของ ส.ป.ก. มีสิทธ์ิไดร้ับความช่วยเหลือตามนโยบายของรัฐ เช่น ในกรณีการเกิดภัยพิบัติหรืออุทกภัยด้านการเกษตร และสามารถรับการช่วยเหลือโครงการตาม นโยบายของรัฐในด้านราคาตลาดผลผลิต เป็ นต้น 5. จดัใหม้ีการอบรมการส่งเสริมและแนะนา เกี่ยวกบัการปรับปรุงบา รุงดินและการอนุรักษด์ิน 6. ปรับปรุงบา รุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวตัถุเช่น ปุ๋ยหมกั ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด เพื่อช่วยปรับปรุง โครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืชร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีในอตัราส่วนที่ เหมาะสม


รายงานประจ าปี 2566 29 3.ปัญหาด้านแหล่งน ้าและการเกษตร 1. จา นวนแหล่งน้า มีไม่เพียงพอต่อการทา เกษตรลา น้า ธรรมชาติตื่นเขิน 2. ชลประทานอยนู่อกเขตพ้ืนที่ตอ้งอาศยัน้า ฝน น้า ธรรมชาติในการทา การเกษตร 3. เกษตรกรขาดการบริหารจดัการน้า ที่ดีจึงทา ใหไ้ม่มีการจดัเก็บน้า ไวใ้ชใ้นฤดูแลง้ 4. ระบบประปาหมู่บา้นไม่เพียงพอต่อความตอ้งการ น้า เป็นสนิมเหล็ก ความต้องการ/แนวทางการพัฒนา 1. ใหม้ีการจดัการวางผงัระบบน้า เพื่อการเกษตรของตา บลเวยีง ท้งัตา บลโดยมีอปท. เป็ นหลัก 2. รวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อขอเจาะบ่อบาดาลเพื่อการเกษตรผา่นองคก์ารบริหารส่วนตา บลเวยีงอา เภอฝาง 3. ใหห้น่วยงานที่เกี่ยวขอ้งสา รวจกลุ่มผใู้ชน้ ้า ในตา บลเวยีงอา เภอฝาง พร้อมสา รวจพิกดัที่เป็นที่ต้งัของ การขดุเจาะบ่อบาดาล 4. ดา เนินโครงการจดัสร้างอ่างเก็บน้า หว้ยแม่หลกัหมื่นอยา่งเร่งด่วน 5. ใหม้ีการจดัการบริหารน้า ร่วมกนัอยา่งเป็นระบบแบบบูรณาการ 6. ดา เนินการพฒันาแหล่งน้า ขนาดเล็กในพ้ืนที่เขตน้ีรวมท้งัการปรับปรุงประสิทธิภาพแหล่งน้า เช่น เหมืองฝายลา คลองสาธารณะใหส้ามารถกกัเก็บน้า ไดด้ีข้ึน 4.ปัญหาสวัสดิการ สิทธิการเกษตรและการไม่ได้ความเป็ นธรรม 1. เกษตรกรยงัไม่มีสวสัดิการเกี่ยวกบัหลกั ประกนัรายได้การดูแลคุ้มครองสุขภาพ การรักษาพยาบาล การ ด ารงชีพ การศึกษา และบ าเหน็จบ านาญ 2. เกษตรกรยงัไม่มีกองทุนใดที่จะให้การช่วยเหลือเมื่อประสบหาความเดือดร้อนตอ้งการเงินทุนในการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม 3. เกษตรกรขาดความรู้ความเขา้ใจในเรื่องสิทธิและระเบียบขอ้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวขอ้งกบัเกษตรกร ความต้องการ/แนวทางการพัฒนา 1. การรักษาพยาบาลยาที่ใชใ้นการรักษาควรเป็นบญัชีและระดบัเดียวกนั 2. กรณีการชดเชยพืชผลทางการเกษตรเสียหายโดยสิ้นเชิงให้มีคณะกรรมการในระดบัพ้ืนที่มารับรองกรณี ไม่มีเอกสารสิทธ์ิเพื่อใหเ้กษตรกรไดร้ับความช่วยเหลือ 3.จดัใหม้ีบา เหน็จบา นาญใหก้บัเกษตรกร 4. สวัสดิการการรักษาพยาบาลเกษตรกร 5. สวสัดิการศึกษาต่อระดบั ปริญญาตรีบุตรหลานเกษตรกร 6. จดัต้งัราคาสวสัดิการปัจจยัการผลิตทางการเกษตรที่ผ่านการรับรองจากกรมวิชาการเกษตรหรือผลิตจาก เกษตรกรจา หน่ายแก่เกษตรกรในราคาสมาชิก


รายงานประจ าปี 2566 30 5.ปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต ่า 1. ราคาผลผลิตทางการเกษตรมีราคาข้ึนลงไม่แน่นอนไม่มีเสถียรภาพส่งผลใหเกษตรกรไดร้ับผลตอบแทน จากการทา การเกษตรค่อนขา้งต่า และไม่แน่นอน ขณะที่ตน้ทุนการผลิตของเกษตรกรมีแนวโนม้เพิ่มสูงข้ึน อยา่งต่อเนื่อง 2. ตน้ทุนการผลิตสูงเนื่องจากปัจจยัการผลิตมีราคาสูงท้งัจากเมล็ดพนัธุ์อาหารสัตว์ปุ๋ยเคมีสารเคมีทาง การเกษตร น้า มนัเช้ือเพลิงและไฟฟ้าเพื่อการเกษตร 3. ความรู้ของเกษตรกรยงัมีขอ้อ่อนในเรื่องความรู้ทางการผลิต ขาดการศึกษาวิเคราะห์ตลาดที่เชื่อมโยงกบั การผลิตขาดการวางแผนที่ดีและมีขอ้จา กดัในความรู้ในดา้นการปลุกพืช การเพาะและขยายพนัธุ์การใช้ ปุ๋ยเคมีและเคมีทางการเกษตร จึงทา ให้ต้นทุนการผลิตสูง รวมท้งัขาดการศึกษาค้นควา้ข้อมูลเพื่อวาง แผนการผลิตและการตลาด โดยยงัไม่มีการสร้างมูลค่าเพิ่มใหก้บัผลผลิตทางการเกษตรเท่าที่ควร 5. คุณภาพของผลผลิตจากการขาดความรู้ทางการผลิต และการผลิตที่เชื่องโยงกบัการตลาด ทา ให้ผลผลิตมี ปัญหาท้งัคุณภาพมาตรฐานราคาและปริมาณที่เกินและขาดไปพร้อมๆ กนัไม่ตรงกบัความตอ้งการของตลาด 6. การรวมกลุ่มของเกษตรกรเกษตรกรขาดการรวมกลุ่มที่เขม้แขง็ทา ใหข้าดอา นาจในการต่อรอง นอกจากน้ี เกษตรกรยงัมีขอ้จา กดัในเรื่องเงินลงทุน ความต้องการ/แนวทางการพัฒนา 1. ดา เนินการจดัต้งัตลาดกลางรับซ้ือผลผลิตทางการเกษตร 2. การกา หนดใหเ้กษตรผลิตพืชผลทางการเกษตรขอใหภ้าครัฐมีตลาดนา ในการส่งเสริมการผลิต 3. เสนอใหก้ระทรวงพาณิชยล์งพ้ืนที่เพื่อช่วยเหลือดา้นการตลาดอยา่งจริงจงั 4. มีการอบรมใหค้วามรู้ดา้นการเกษตรอินทรียใ์นพ้ืนที่ 5. ใหก้ระทรวงพาณิชยอ์อกราคาแนะนา ผลผลิตเพื่อมิใหผ้ซู้้ือๆต่า กวา่ที่กา หนด 6. ใหภ้าครัฐหาตลาดรับซ้ือผลผลิตเกษตรอินทรียท์ ี่ชดัเจนเพื่อสร้างความมนั่ใจต่อการผลิตของเกษตรกร 7. ใหจ้ดัอบรมใหค้วามรู้เกษตรกรดา้นเกษตรทุกดา้นโดยเฉพาะเกษตรกรรุ่นใหม่เพื่อใหม้ีทายารเกษตรกรรม 8. จดัใหม้ีปัจจยัการผลิตแก่เกษตรกร 9. จดัหาแหล่งเงินทุนดอยเบ้ียต่า แก่เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรรายยอ่ย 10. ให้ภาครัฐท าข้อมูลราคาพืชผลทางการเกษตรรายวันเพื่อให้เกษตรกรสามารถวิเคราะห์ข้อมูลในการผลิต ล่วงหนา้และราคาขายผลผลิตได้ 11. สร้างเครือข่ายสภาเกษตรกรรวมกลุ่มเพื่อบริหารจดัการดา้นการผลิต แปรรูปและการตลาด


รายงานประจ าปี 2566 31 รายงานผลการด าเนินกิจกรรมต้นแบบการพัฒนาและการจัดการผลิตแบบผสมผสาน 1.หลกัการและเหตุผล ตามที่สภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ไดร้่วมบูรณาการกบัส านกังานปศุสัตวจ์งัหวดัเชียงใหม่ และส านักงานปศุสัตว์เขต 5 ด าเนินโครงการแพะ-แกะล้านนาโดยได้รับงบประมาณจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร เมื่อปี งบประมาณ 2563 จ านวน 7 กลุ่ม รวม 57 ราย และในขณะน้ีเกษตรกรท้งั 7 กลุ่ม ประสบ ปัญหาแพะมีสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรง แคระแกรน มีน้ าหนักไม่ได้มาตรฐาน เกิดโรคติดต่อและ ตาย บางส่วน ส าหรับลูกแพะที่เกิดเติบโตชา้และไม่ค่อยสมบูรณ์ขายไม่ไดร้าคาคู่สัญญาไม่รับซ้ือ ซ่ึงส่งผลให้ สมาชิกกลุ่มไม่สามารถชา ระหน้ีคืนตามวงเงินที่กา หนดได้ ประกอบกบักลุ่มผูเ้ล้ียงแพะอา เภอแม่แจ่ม ได้ เสนอความตอ้งการองคค์วามรู้ดา้นการเล้ียงแพะและช่องทางดา้นการผลิตเกษตรกรรมอื่นในการเพิ่มรายได้ จากปัญหาขา้งตน้ ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่จึงเห็นถึงแนวทางที่จะช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อนให้กบักลุ่มเกษตรกรผูเ้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่ดว้ยการให้เกษตรกรผูเ้ล้ียงแพะมี องค์ความรู้ด้านการดูแลและสามารถวินิจฉัยโรคแพะเบ้ืองตน้ ได้ตลอดจนพฒันาการผลิตดา้นเกษตรกรรม อื่นควบคู่กนัไป 2.วตัถุประสงค์ 2.1เพื่อพฒันาและส่งเสริมให้เกษตรกรผูเ้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่จดัการผลิตดา้นการเกษตรแบบ ผสมผสาน เพื่อใหเ้กิดช่องทางในการสร้างอาชีพที่หลากหลาย 2.2เพื่อเสริมสร้างองคค์วามรู้ทกัษะการเล้ียงแพะและการบริหารจดัการฟาร์มแพะควบคู่กบัการ ผลิตดา้นเกษตรอื่นอนันา ไปสู่การสร้างรายไดเ้พิ่มและเกิดอาชีพใหม่ 2.3เพื่อเป็นตน้แบบในการบริหารจดัการฟาร์มแพะแบบผสมผสานกบัการผลิตดา้นเกษตรกรรมอื่น 3.เป้าหมาย กลุ่มผเู้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่ จ านวน 7 กลุ่ม รวม 57 คน 4.แนวทางการด าเนินงานของนโยบาย 4.1ประสานเพื่อหารือบูรณาการร่วมกบัมหาวิทยาลยัเพื่อให้องค์ความรู้และทกัษะในการพฒันา อาชีพดา้นเกษตรกรรมใหก้บักลุ่มผเู้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่ 4.2กา หนดพ้ืนที่ตน้แบบเพื่อให้กลุ่มผูล้้ียงแพะไดเ้รียนรู้และพฒันาการผลิตด้านเกษตรกรรมอื่น แบบผสมผสาน


รายงานประจ าปี 2566 32 5.กลไกของนโยบาย 5.1ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจดัการการผลิตดา้นเกษตรกรรมแบบผสมผสานระหวา่ง กลุ่มผเู้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่กบักลุ่มเกษตรกรเครือข่ายของมหาวทิยาลยั 5.2 บนัทึกความร่วมมือเพื่อขยายผลในการบริหารจดัการ การวิจยัและพฒันาเชิงพ้ืนที่ในการ ผลิต ดา้นเกษตรกรรมแบบผสมผสาน สู่การสร้างงานอาชีพ สร้างรายได้และมีคุณภาพชีวติที่ดี รายงานผลการด าเนินกิจกรรม ตามที่ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ได้รับทราบปัญหาและความต้องการของ กลุ่มเกษตรกรผูเ้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่จากช่องทางแอพพลิเคชนั่ ไลน์กลุ่มคณะกรรมการแพะจงัหวดั เชียงใหม่เมื่อวนัที่9 มกราคม 2566 ดงัน้ี ด้วยขณะน้ีกลุ่มผูเ้ล้ียงแพะอา เภอแม่แจ่ม ได้ประสบกับปัญหาแพะมีสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรง แคระแกรน มีน้า หนกัไม่ไดม้าตรฐาน เกิดโรคติดต่อและตายบางส่วน ส าหรับลูกแพะที่เกิดเติบโตชา้และไม่ ค่อยสมบูรณ์ขายไม่ไดร้าคาคู่สัญญาไม่รับซ้ือ ซ่ึงส่งผลให้สมาชิกกลุ่ม ไม่สามารถชา ระหน้ีคืนตามวงเงินที่ กา หนดได้ ประกอบกับข้อเสนอที่กลุ่มผูเ้ล้ียงแพะจังหวดัเชียงใหม่ได้ยื่นเสนอต่อกรมปศุสัตว์เพื่อขอขยาย ระยะเวลาในการส่งคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จาก5 ปี เป็ น 10 ปี ซ่ึงอยู่ระหว่างที่กรมปศุสัตว์ พิจารณาและระหวา่งที่รอการอนุมตัิจึงขอเสนอความตอ้งการต่อคณะกรรมการแพะจงัหวดัเชียงใหม่ซ่ึงมี ความเห็นตรงกนัดงัน้ี 1. ตอ้งการองคค์วามรู้ในการเล้ียงแพะดา้นต่างๆ เช่น ปฏิทินการปฏิบัติงานทางฟาร์มใน การดูแลแพะต้งัแต่การต้งัครรภ์การเกิด การขนุจนถึงการขายตลอดห่วงโซ่การผลิต 2. ต้องการช่องทางในการเพิ่มรายได้เพื่อให้สามาชิกกลุ่มสามารถช าระคืนเงินกู้ของ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้เช่น องคค์วามรู้และเทคโนโลยใีนการสร้างอาชีพเพิ่ม ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและเพื่อให้กลุ่มผู้เลี้ยงแพะ สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้ จึงได้ประสานบูรณาการความร่วมมือกบั มหาวิทยาลัย จ านวน 2 แห่ง ดังนี้ 1. ขอความอนุเคราะห์โปสเตอร์การดูแลรักษาสุขภาพแพะจากมหาวิทยาลยัเชียงใหม่โดย ผา่นทางหวัหนา้โครงการ “กิจกรรมและสื่อเพื่อการส่งเสริมการผลิตแพะและบริโภค ผลิตภัณฑ์จากแพะและบริโภคผลิตภัณฑ์จากแพะ” ท้งัน้ีมหาวิทยาลยัเชียงใหม่ ได้ให้การสนับสนุนโปสเตอร์การดูแลสุขภาพแพะและโรคที่เกิด ข้ึนกบัแพะเพื่อใหส้มาชิกกลุ่มผเู้ล้ียงแพะจา นวน 57 ราย


รายงานประจ าปี 2566 33 2. ขอความอนุเคราะห์อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้เพื่อบูรณาการเชื่อมโยงกิจกรรม ตน้แบบและการจดัการผลิตแบบผสมผสาน ซ่ึงได้รับการบูรณาความร่วมมือ โดย มหาวทิยาลยัแม่โจไ้ดม้อบหมายให้ทางคณะบริหารธุรกิจเป็นผูร้่วมบูรณาการ เนื่องจาก ทางคณบริหารธุรกิจ ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากส านักงานพัฒนาการวิจัย การเกษตร (องค์การมหาชน) เพื่อด าเนินโครงการพัฒนาระบบผลิตและการจัดการ ผลผลิตเกษตรอยา่งมีประสิทธิภาพสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย เพื่อยกระดับ การพฒันาระบบการผลิตอยา่งมีประสิทธิของกลุ่มเกษตรกรผูป้ระกอบการและคนรุ่น ใหม่ในพ้ืนที่เป้าหมาย ไดแ้ก่อา เภอสะเมิงและอา เภอแม่แจ่ม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยัแม่โจ้เห็นว่า กลุ่มผูเ้ล้ียงแพะอา เภอแม่แจ่มอยู่ในพ้ืนที่ เป้าหมายในการดา เนินโครงการฯ อีกท้งัได้กา หนดลงพ้ืนที่อา เภอแม่แจ่ม เพื่อถ่ายทอดความรู้และ แลกเปลี่ยนการดา เนินกิจกรรมของกลุ่มเกษตรกรในอา เภอแม่แจ่ม ในระหว่างวนัที่18-19 กรกฎาคม 2566 ณ ตา บลช่างเคิ่งอา เภอแม่แจ่ม จงัหวดัเชียงใหม่


รายงานประจ าปี 2566 34 ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่และกลุ่มผู้เลี้ยงแพะอ าเภอแม่แจ่มร่วมศึกษาและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ร่วมกับ ดร.ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ รองคณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเพื่อชุมชน และคณะอาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้และ กลุ่มเกษตรกรอา เภอแม่แจ่ม จ านวน 2วนัดังนี้ 1. เมื่อวนัที่18 กรกฎาคม 2566 ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดา้นการพฒันาอาชีพเพื่อเพิ่ม รายได้ ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนธรรมชาติปลอดภยับา้นแม่ปาน-สันเกี๋ยง เลขที่32 หมู่10 ตา บลช่างเคิ่งอา เภอแม่แจ่ม จงัหวดัเชียงใหม่โดยกลุ่มผูเ้ล้ียงแพะอา เภอแม่แจ่มไดเ้รียนรู้ วธิีการบริหารจดัการกลุ่มรวมท้งัการแปรรูปผลิตภณัฑแ์คบหมูและน้า พริกลาบ 2. เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดา้นการพฒันาอาชีพ เพื่อเพิ่ม รายได้ณ วิสาหกิจชุมชนพยคัฆค์อฟฟี่ Payak Coffee ตา บลช่างเคิ่ง และไร่พยคัฆ์กาแฟ ตา บลกองแขกอา เภอแม่แจ่ม จงัหวดัเชียงใหม่


รายงานประจ าปี 2566 35 โดยมีนายกฤษฏ์ิพยคักาฬ ประธานวิสาหกิจชุมชนพยคัฆ์คอฟฟี่เป็นผูถ้่ายทอดให้องค์ความรู้และเป็น แปลงเกษตรกรตวัอยา่ง ซ่ึงจากเดิมทา ไร่ขา้วโพด และปรับเปลี่ยนมาทา ไร่กาแฟ และเพื่อให้เกิดการต่อยอดและขยายผลไปยงักลุ่มผูเ้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่ในอ าเภออื่น มหาวทิยาลยัแม่โจ้ประกอบกบัจะพฒันาใหก้ลุ่มเกษตรกรในพ้ืนที่จงัหวดัเชียงใหม่เกิดความเขม้แข็งในดา้น การผลิต รวมถึงระบบการจัดการผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภยัเพิ่มมากข้ึน จึงได้ลงนามบันทึกความเข้า ใจความร่วมมือทางวิชาการโครงการพฒันาระบบผลิต และการจัดการผลผลิตเกษตรอยา่งมีประสิทธิภาพสู่ มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยัเมื่อวนัที่4 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลยัช้ัน 5 อาคารสา นกังานมหาวทิยาลยัมหาวทิยาลยัแม่โจ้ โดยมีกา หนดระยะเวลา 2 ปีและมีขอบเขตความร่วมมือ ดงัน้ี 1. จดัต้งัคณะกรรมการร่วมการพฒันาระบบผลิต และการจดัการผลผลิตเกษตรอยา่งมีประสิทธิภาพสู่ มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยัเพื่อสร้างกลไกความร่วมมือขบัเคลื่อนเชิงนโยบายการพฒันา การผลิตและหน่วยจดัการผลผลิตระดบัอา เภอเพื่อรองรับผลผลิตเกษตรและอาหารจากแหล่งผลิต สู่ผบู้ริโภคอยา่งเป็นรูปธรรม 2. ร่วมมือกนัสา รวจวเิคราะห์เสนอแนะเพื่อการพฒันาระบบผลิตและการจดัการผลผลิตเกษตรอยา่ง มีประสิทธิภาพสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยั 3. ร่วมกันพฒันาและด าเนินการหลักสูตรการฝึกอบรมสัมมนาบุคลากร เพิ่มพูนความรู้ให้กับ กลุ่มเกษตรกรผูป้ระกอบการและคนรุ่นใหม่ในพ้ืนที่เป้าหมาย ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งให้ ไดผ้ลผลิตเกษตรสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยั 4. ร่วมกันพัฒนาหน่วยจัดการผลผลิตและระบบตลาดสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการตลาดตามที่เห็นสมควร


รายงานประจ าปี 2566 36 5. ร่วมมือดา้นวิชาการการวิจยัและพฒันาองคค์วามรู้จากภูมิปัญญาทอ้งถิ่นสู่การนา ไปใชป้ระโยชน์ อย่างเป็นรูปธรรม ตรงตามความต้องการของชุมชน โดยใช้ทรัพยากรของท้ังสองฝ่าย อาทิ วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ชุมชน ข้อมูล เครื่องมือ อุปกรณ์สถานที่ตลอดจนปัจจยัอื่นที่เกี่ยวขอ้ง 6. ร่วมมือทางวิชาการดา้นการวิจยัและพฒันาเชิงพ้ืนที่ให้เกิดผลอยา่งเป็นรูปธรรม ให้กลุ่มเกษตรกร ผูป้ระกอบการ และคนรุ่นใหม่สู่การสร้างงานอาชีพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความปลอดภัยและ ความมนั่คงดา้นสุขภาพ อาหารและการเกษตรอยา่งยงั่ยนื สา หรับสิทธิและหนา้ที่ของท้งั2ฝ่าย มีดงัน้ี 1. สภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ 1.1 เขา้ร่วมประชุมกบัเครือข่ายเกษตรกรและผูผ้ลิตสินคา้เกษตรและหน่วยงาน ที่เกี่ยวขอ้ง เพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาระบบผลิตและการจัดการผลผลิต เกษตรอยา่งมีประสิทธิภาพสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยั 1.2 ร่วมพฒันาหลกัสูตรเพิ่มพูนความรู้ต่อกลุ่มเป้าหมายและพฒันาหน่วยจดัการ ผลผลิตและระบบตลาดสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมการตลาดตามที่เห็นสมควร 1.3 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ด้านวิชาการเกษตรและการเป็น ผปู้ระกอบการธุรกิจเกษตรของชุมชน รวมถึง จดัการผลผลิตและระบบตลาด สินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการตลาด ในรูปแบบต่าง ๆ 2. มหาวทิยาลยัแม่โจ้ 2.1 สนับสนุนบุคลากร สถานที่อุปกรณ์และสิ่งอา นวยความสะดวกส าหรับ การดา เนินการเพื่อพฒันาระบบผลิตและการจดัการผลผลิตเกษตรอย่างมี ประสิทธิภาพสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภยั 2.2 สนบัสนุนวทิยากร สา หรับหลกัสูตรการฝึกอบรมต่างๆ เพิ่มพูนความรู้ให้กบั กลุ่มเกษตรกร ผูป้ระกอบการ และคนรุ่นใหม่ในพ้ืนที่เป้าหมาย ตลอดจน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ได้ผลผลิตเกษตรสู่มาตรฐานคุณภาพและความ ปลอดภัย 2.3 สนับสนุนบุคลากรในการประสานงานและจัดการผลผลิตและระบบตลาด สินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการตลาด ในรูปแบบต่างๆ


รายงานประจ าปี 2566 37 สรุปผลการด าเนินกจิกรรม จากการดา เนินกิจกรรมตน้แบบการพฒันาและการจดัการผลิตแบบผสมผสาน โดย ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ได้บูรณาการดา เนินการร่วมกบัมหาวิทยาลยัเชียงใหม่และ มหาวทิยาลยัแม่โจ้ซ่ึงสรุปผลไดด้งัน้ี 1. กลุ่มผูเ้ล้ียงแพะจงัหวดัเชียงใหม่ท้งั7 กลุ่ม รวม 57 คน มีความรู้ดา้นการดูแลสุขภาพแพะเพิ่มข้ึน ตลอดจนวนิิจฉยัโรคแพะเบ้ืองตน้ ได้จากโปสเตอร์องคค์วามรู้โรคแพะและตา แหน่งการสังเกตที่จะเกิดกบั แพะรวมท้งัรับรู้ช่องทางในการประกอบอาชีพเสริมสู่การสร้างรายได้ เกิดตน้แบบการพฒันาการบริหารจดัการฟาร์มแพะควบคู่กบัการผลิตเกษตรกรรมอื่นๆ โดยมีกลุ่มผูเ้ล้ียงแพะ อา เภอแม่แจ่มเป็นตน้แบบในปี2566 เกิดความร่วมมือกบัมหาวิทยาลยัแม่โจเ้พื่อพฒันาขยายผลไปยงักลุ่มผู้ เล้ียงแพะอีก6กลุ่ม ภายใตบ้นัทึกความเขา้ใจความร่วมมือทางวิชาการโครงการพฒันาระบบผลิตและการ จดัการผลผลิตเกษตรอยา่งมีประสิทธิภาพสู่มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย


รายงานประจ าปี 2566 38 รายงานสรุปผลการด าเนินโครงการประชุมเชิงปฏบิัติการยกระดับการแก้ไขปัญหาหมอกควนั PM 2.5 แบบมสี่วนร่วมในการจัดการวสัดุเหล ื อทงิ้ทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2566 1.หลักการและเหตุผล ปัญหาหมอกควนั ในภาคเหนือตอนบนเป็นปัญหาส าคญัเนื่องจากส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของ ประชาชน ในดา้นสุขภาพ โดยเฉพาะผูท้ี่มีภูมิตา้นทานต่า เช่น เด็กเล็กผูสู้งอายุและผูป้่วยทางเดินหายใจ รวมท้งัทา ให้เกิดความเสียหายต่ออาคารบา้นเรือน บดบงัทศันวิสัยและเป็นอุปสรรค ในการคมนาคมและ ขนส่งรวมท้งัผลกระทบต่อการท่องเที่ยวที่เป็นระบบเศรษฐกิจที่ส าคญัของพ้ืนที่ซ่ึงความรุนแรงของปัญหา โดยทวั่ ไปปรากฏชัดเจนในช่วงฤดูแล้ง (กุมภาพนัธ์- เมษายน) ของทุกปีที่มีสภาวะอากาศที่แห้งและนิ่ง ทา ให้ฝุ่นละอองที่เกิดข้ึนสามารถแขวนลอยอยูใ่นบรรยากาศไดน้าน นอกจากน้ียงัพบวา่ ปริมาณฝุ่นละออง ขนาดเล็กเพิ่มข้ึน เนื่องจากความแห้งแลง้ที่ส่งผลให้เกิดการเพิ่มข้ึนของไฟป่า ประกอบกบั ในช่วงเวลา ดังกล่าว เกษตรกรจะทา การเผาเศษวสัดุเพื่อเตรียมพ้ืนที่ส าหรับทา การเกษตรในช่วงฤดูฝน โดยวิธี “เผาท าลาย” ซึ่งนับว่าเป็นการสร้างมลภาวะทางอากาศอย่างมาก นบัเป็นส่วนหน่ึงที่ส่งผลกระทบให้เกิด ภาวะโลกร้อนจากภาคเกษตรกรรมอีกดว้ย จากการศึกษาขอ้มูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคเกษตร มีที่มาจากหลายแหล่งอาทิระบบยอ่ยอาหารของ ปศุสัตว์ การท านาข้าว การเผาเศษซากพืช การใช้ปุ๋ ยและ การหายใจของดิน เป็ นต้น ส านกังานภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่และสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดัไดเ้ล็งเห็นถึงปัญหาที่ เกิดข้ึน โดยได้น าแนวคิด กระบวนการน าวสัดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น เปลือกข้าวโพด มาแปลง ให้เป็ นบรรจุภณัฑ์ใหม่ที่มีประโยชน์มีคุณภาพ หรือออกแบบให้มีความสวยงาม ทนัสมยัเพิ่มมูลค่าให้ สูงข้ึน โดยมีตน้แบบดา เนินการที่จงัหวดัแม่ฮ่องสอนในกิจกรรม “เปลี่ยนภาระเป็ นพลังสร้างรายได้” จึงได้ ดา เนินการร่วมมือกบัสา นกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัแม่ฮ่องสอน คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลยัแม่โจ้และ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้เพื่อขบัเคลื่อน สนับสนุน และส่งเสริม องค์ความรู้การ ฝึกอบรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนการพฒันาเกษตรกรกลุ่มเกษตรกร โดยการนา วสัดุ ทางการเกษตร ที่เหลือทิ้ง มาแปรรูปเพื่อนา กลบัมาใชใ้หม่ให้เกิดประโยชน์สุงสูด และสามารถสร้างงาน สร้างรายไดใ้หก้บัเกษตรกรและยงัช่วยลดปัญหาหมอกควนั ในอา เภอแม่แจ่ม จงัหวดัเชียงใหม่ไดอ้ยา่งยงั่ยืน เป็นการยกระดบัการบริหารจดัการช้ือเพลิงแบบครบวงจรเพื่อลดการเผาสามารถสร้างอาชีพให้แก่เกษตรกร พ้ืนที่นา ร่อง ร่วมกบับริษทั ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จา กดัเป็นกระบวนการในการดา เนินกิจกรรมโดยมีทุก ภาคส่วนเขา้มามีส่วนร่วม ในการวางแผนและดา เนินการป้องกนัและแกไ้ขปัญหาหมอกควนัไฟป่าและฝุ่น ละออง


รายงานประจ าปี 2566 39 2.วตัถุประสงค์ 2.1 สร้างการมีส่วนร่วม โดยการบูรณาการความร่วมมือกบัทุกภาคส่วนในการวางแผนและดา เนินการ ป้องกนัและแกไ้ขปัญหาหมอกควนัไฟป่าและฝุ่นละอองโดยการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการเผาสิ่งเหลือทิ้ง ทางการเกษตรซ่ึงเป็นภาระใหเ้กิดเป็นรายไดซ้่ึงจะเป็นพลงัในการประกอบอาชีพของเกษตรกร 2.2 เพื่อยกระดบัลดการเผา ดว้ยการบริหารจดัการเช้ือเพลิงแบบครบวงจรในการส่งเสริมการหยุดเผาใน พ้ืนที่เกษตร 2.3 เพื่อปลูกจิตสา นึกและประชาสัมพนัธ์ใหค้วามรู้ชุมชนในพ้ืนที่ในการแกไ้ขปัญหาหมอกควนัและไฟป่า 2.4 เพื่อการจัดท าเป็ นต้นแบบประกอบการจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบาย 1อ าเภอ 1ความร่วมมือการสร้าง เสริมเกษตรกรรม แบบ BCG โมเดล 3.เป้าหมาย เกษตรกรหวัขบวน จากสมาชิกสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่มจา กดัจา นวน 50คน เขา้ร่วมประชุม เชิงปฏิบตัิการ ดงัน้ี 3.1 ลดปัญหาหมอกควนัและลดการเผาเศษวสัดุเหลือทิ้งทางการเกษตรภายในพ้ืนที่อา เภอแม่แจ่ม จงัหวดั เชียงใหม่ 3.2 พฒันาศกัยภาพ การถ่ายทอดความรู้งานวจิยัและการส่งเสริมการหยดุเผาในพ้ืนที่การเกษตร 3.3 ส่งเสริมการรวมกลุ่ม และสร้างเครือข่ายเกษตรกรปลอดการเผา 3.4 ความร่วมมือกบัภาคเอกชนเพื่อสร้างอาชีพยงั่ยนื 4.แนวทางการด าเนินงานของนโยบาย 4.1จดันิทรรศการเปลือกขา้วโพดพร้อมท้งัให้องคค์วามรู้แก่กลุ่มเกษตรกร 1. องค์ความรู้ในการแยกเปลือกข้าวโพด การแปรรูปเปลือกข้าวโพดเป็ นเยื่อกระดาษเปลี่ยนเป็ น บรรจุภัณฑ์ การแปรรูปสิ่งเหลือทิ้งจากขา้วโพด (ใบ ซงัลา ตน้ ) เป็นพลงังาน เพื่อเพิ่มมูลค่า 2. องค์ความรู้เทคโนโลยีการลดหมอกควนัดว้ยการเปลี่ยนวสัดุเหลือทิ้งทางการเกษตรไปสู่การ สร้างรายไดใ้นรูปแบบต่างๆ 4.2 ส่งมอบเปลือกขา้วโพด 7.5 ตนั ใหก้บับริษทัผรู้ับซ้ือ


รายงานประจ าปี 2566 40 4.3 ปล่อยคาราวานเปลือกขา้วโพดอดักอ้นเพื่อนา ไปแปรรูป 5.กลไกของนโยบาย 5.1 พฒันาศกัยภาพ ถ่ายทอดองคค์วามรู้งานวจิยัและการส่งเสริมการหยดุเผาในพ้ืนที่การเกษตร 5.2 ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเกษตรกรปลอดการเผา 5.3 เปลี่ยนภาระ(วัสดุหลือใช้จากการเกษตร) เป็ นพลังงานสร้างรายได้


รายงานประจ าปี 2566 41 รายงานผลด าเนินโครงการ ตามที่สา นกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ ไดร้ับฟังปัญหาและความตอ้งการของสหกรณ์ การเกษตรแม่แจ่ม จา กดัซ่ึงเป็นองคก์รเกษตรกรที่ข้ึนทะเบียนกบัส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดัตา บลช่างเคิ่งอา เภอแม่แจ่ม จงัหวดั เชียงใหม่ซ่ึงรับทราบปัญหาและความตอ้งการดงัน้ี ปัญหา ความต้องการ 1.ปัญหาการเผาในที่โล่ง ซึ่ งเป็ นสาเหตุส าคัญของ ปัญหาหมอกควัน โดยเกษตรกรอา เภอแม่แจ่ม ส่วนใหญ่ทา ไร่หมุนเวียนปลูกขา้วโพด เมื่อมีการ เก็บเกี่ยวข้าวโพด คงเหลื อซังข้าวโพด ฟาง ข้าวโพด และเศษวัสดุที่เหลือใช้ในการเกษตร เกษตรกรส่วนมากจะทา ลายทิ้งดว้ยวิธีการเผา เพื่อ เตรียมพ้ืนที่สา หรับทา การเกษตรในช่วงฤดูฝน 2.ปัญหาด้านการจัดการซังข้าวโพด ฟางข้าวโพด และเศษวัสดุเหลือใช้ 2.1 ตอ้งจา้งแรงงานและค่าใช้จ่ายในการเก็บ ซังและฟางข้าวโพด ซ่ึงเป็นการเพิ่ม ต้นทุน ประกอบกบัการจา หน่ายมีกลุ่มผู้ เล้ียงววัที่ซ้ือเพื่อเป็นอาหารสัตว์ ซึ่ งขาย ในราคาถูกไม่คุม้กบัค่าจา้งเก็บ 2.2 ขาดเครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการ เพื่อให้เกิดความสะดวกมากข้ึน เช่น เครื่องอัดฟางใหเ้ป็นกอ้น 2.3 เกษตรกรขาดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ใ น ก า ร แ ป ล ง เ ศ ษ วัส ดุ เ ห ลื อ ใ ช้ท า ง การเกษตรเพื่อให้เกิดประโยชน์และ รายได้ 1.ตอ้งการตลาดรับซ้ือหรือผูร้ับซ้ือเศษขา้วโพด ที่เหลือทิ้ง เช่น เปลือก ซัง ล าต้น และราคารับซ้ือที่ แน่นอนสามารถต่อรองราคาได ้เพื่อเป็ นการสร้าง แรงจูงใจและความเชื่อมนั่ให้กบัเกษตรกรผูป้ลูก ขา้วโพดในการจดัการเศษวสัดุเหลือทิ้ง 2.ต้องการให้ภาครัฐสนับสนุนเครื่องอัดฟาง เพื่อให้การผลิตสอดรับกบัความตอ้งการของผูร้ับ ซ้ือ 3.ต้องการองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปร รูปจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเป็น พลงังานหรือบรรจุภณัฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าและรายได้ ใหก้บัเกษตรกรผปู้ลูกขา้วโพด


รายงานประจ าปี 2566 42 ส านักงานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดข้ึน และได้มีแนวทาง เพื่อ ขบัเคลื่อน สนบัสนุน และส่งเสริม องคค์วามรู้การฝึกอบรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนการ พฒันาเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรอา เภอแม่แจ่ม เพื่อนา วสัดุทางการเกษตรที่เหลือทิ้งมาพฒันาให้เกิดประโยชน์ สูงสุดและสามารถสร้างงาน สร้างรายไดใ้หก้บัเกษตรกรอีกท้งัยงัช่วยลดปัญหาหมอกควนั ในอา เภอแม่แจ่ม ไดอ้ยา่งยงั่ยนื ประกอบกบัเมื่อวนัที่26-27 มกราคม 2566 ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ไดเ้ขา้ร่วม กิจกรรมการแกไ้ขปัญหาการเผาและหมอกควนัจากเปลือกขา้วโพด ณ สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน จา กดัตา บลปางหมูอา เภอเมือง จงัหวดัแม่ฮ่องสอน ซ่ึงได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางการแก้ไขปัญหากบั บริษทั ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จา กดัและมหาวิทยาลยัแม่โจ้ โดยเห็นวา่การดา เนินกิจกรรมดงักล่าวจะเป็น ตน้แบบการแกไ้ขปัญหาดา้นการเผาและหมอกควนัใหก้บัเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ได้ ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่จึงไดป้ระสานเชื่อมโยงบูรณาการกบับริษทั ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จา กดัเพื่อสนบัสนุนดา้นตลาดโดยรับซ้ือเศษขา้วโพดที่เหลือทิ้ง ได้แก่ซังขา้วโพด เปลือก ขา้วโพด และตน้ขา้วโพด จากเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรผเู้ป็นสมาชิกของสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดั เพื่อนา ไปแปรรูป และบูรณาการกบัมหาวทิยาลยัแม่โจ้เพื่อสนบัสนุนและส่งเสริมองคค์วามรู้การฝึกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการนา วสัดุทางการเกษตรที่เหลือทิ้งมาแปรรูป เช่น เปลือกขา้วโพด เพื่อนา กลบัมา ใชใ้หม่ใหเ้กิดประโยชน์สูงสุด สามารถสร้างงานและสร้างรายไดใ้ห้กบัเกษตรกรอา เภอแม่แจ่มซ่ึงเป็นพ้ืนที่ ตน้แบบนา ร่อง ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่จึงไดป้ระสานเชื่อมโยงบูรณาการกบับริษทั ฟาร์มโตะ (ไทยแลนด์) จา กดัเพื่อสนบัสนุนดา้นตลาดโดยรับซ้ือเศษขา้วโพดที่เหลือทิ้ง ได้แก่ซังขา้วโพด เปลือก ขา้วโพด และตน้ขา้วโพด จากเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรผเู้ป็นสมาชิกของสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดั เพื่อนา ไปแปรรูป และบูรณาการกบัมหาวทิยาลยัแม่โจ้เพื่อสนบัสนุนและส่งเสริมองคค์วามรู้การฝึกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการนา วสัดุทางการเกษตรที่เหลือทิ้งมาแปรรูป เช่น เปลือกข้าวโพด เพื่อน ากลับมา ใชใ้หม่ใหเ้กิดประโยชน์สูงสุด สามารถสร้างงานและสร้างรายไดใ้ห้กบัเกษตรกรอา เภอแม่แจ่มซ่ึงเป็นพ้ืนที่ ตน้แบบนา ร่อง ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัเชียงใหม่ดา เนินโครงการจดั ประชุมเชิงปฏิบตัิการยกระดบัการ แกไ้ขปัญหาหมอกควนั P.M. 2.5 แบบมีส่วนร่วมในการจดัการวสัดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2566 “เปลี่ยนภาระเป็ นพลังสร้างรายได้” ดงัน้ี


รายงานประจ าปี 2566 43 1. เชิญหน่วยงานร่วมบูรณาการ ได้แก่ผูว้่าราชการจงัหวดัเชียงใหม่เกษตรจงัหวดัเชียงใหม่ สหกรณ์จงัหวดัเชียงใหม่ส านกังานสภาเกษตรกรจงัหวดัแม่ฮ่องสอน และคณะวิทยาศาสตร์ วทิยาลยัพลงังานทดแทน มหาวทิยาลยัแม่โจ้ 2. หน่วยงานบูรณาการร่วมจดันิทรรศการเปลือกขา้วโพด ณ โรงงานชีวมวล สหกรณ์การเกษตร แม่แจ่ม จา กดัตา บลช่างเคิ่งอา เภอแม่แจ่ม พร้อมท้งัถ่ายอดความรู้ให้กบัเกษตรกรผูเ้ป็นสมาชิก ของสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดั 2.1กิจกรรมใหค้วามรู้ในการแยกเปลือกขา้วโพด และการผลิตเปลือกขา้วโพดอดักอ้น โดยนางอรทยัแสงบุญ ผจู้ดัการสหกรณ์การเกษตรแม่แจ่ม จา กดัเป็นวทิยากรใหค้วามรู้


รายงานประจ าปี 2566 44 ข้นัตอนการผลิตเปลือกขา้วโพดอดักอ้น 1. แยกเปลือกและซงัขา้วโพดออกจากกนั 2. หมกัและกองทิ้งไวป้ระมาณ 1-2 เดือน เพราะใหม้ีกลิ่นหอมเพื่อตรงต่อความตอ้งการของตลาด 3. เมื่อหมกัได้ที่แล้วนา เขา้เครื่องอดั โดยใช้เครื่องจกัรในการผลิตและใช้กา ลงัคนช่วยป้อนเปลือก เขา้สู่เครื่องจกัรกล ประมาณ 3-4คน 4. น้า หนกัเปลือกขา้วโพดอดักอ้น (1กอ้น ประมาณ 20กิโลกรัม) 5. ในเวลา 1วัน (8 ชม.) จะได้ปริมาณจ านวน 380-400กอ้น 6. เมื่ออดักอ้นเรียบร้อยเก็บไวใ้นโกดงัเพื่อรอจา หน่าย


Click to View FlipBook Version