The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่องของดีเมืองตรัง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aathitaya36, 2021-09-12 14:50:12

รายงานเรื่องของดีเมืองตรัง

รายงานเรื่องของดีเมืองตรัง



รายงานเรอื่ งของดีเมอื งตรงั
อาหารพนื้ เมือง
เสนอ

อาจารย์ เดชา สดี ูกา
จดั ทาโดย

นางสาว อาทิตยา สองแกว้
บทม.621 รหัสนักศกึ ษา 6210136136
สาขา บรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ คณะวิทยาการจดั การ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็



คานา

รายงานเลม่ นี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวชิ า การจดั การความรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้ เป็นการ
จัดการความรโู้ ดยการวิเคราะห์และนาความรู้นาเสนองานโดยการนาเคร่ือง E-Book ในหวั ข้อ ของดีเมืองตรัง
ในการนาเสนอ อาหารพน้ื เมือง ในจังหวัดตรงั ซ่งึ มวี ัฒนธรรมการกินท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของชาวจังหวัดตรัง

ทัง้ นีท้ างผ้จู ัดทาได้ศกึ ษาค้นควา้ ข้อมลู นามารวบรวมและทาความเขา้ ใจในการการวิเคราะห์
ขอ้ มลู ทางผู้จดั ทาขอขอบพระคุณ อาจารย์ เดชา สีดูกา ท่ีน้ี ทีใ่ ห้ข้อมูลในการศึกษาในการทารายงานรายงาน
เลม่ น้ี หวงั ว่ารายงานฉบบั น้จี ะให้ความรู้ และเป็นประโยชนแ์ กผ่ ้อู ่านทกุ ๆท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด
ผู้จัดทาขอรบั ไว้ดว้ ยความขอบพระคุณยงิ่

นางสาว อาทติ ยา สองแกว้
ผจู้ ัดทา

สารบญั ค

เรอ่ื ง หนา้
วัฒนธรรมการกิน 1
อาหารพืน้ เมือง
2
เคยจะหลู
2
หอยสม้ 3
ขนมปากหม้อ 3-4
หมูยา่ งเมืองตรัง 5
เคก้ เมอื งตรัง 6
หมเู กาหยกุ 7-8
ขนมเปยี๊ ะ เตา้ ส้อ ขนมจีบสงั ขยา 9
อ้างอิง

1

วัฒนธรรมการกนิ

การกนิ อยู่ ชาวตรงั ถอื วา่ การกินอยู่เป็นเรื่องสาคัญ อาหารของเมืองตรังจงึ เปน็ ที่ขนึ้ ชื่อลือชาอย่หู ลายชนิด ใน
งานต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็นงานศพ งานแต่งงาน หรืองานอนื่ ๆ จะมกี ารจัดเลี้ยงอาหารกนั อย่างเตม็ ที่เสมอ

ชาวตรังโดยทวั่ ไปจะรับประทานข้าวเจ้าเปน็ อาหารหลัก และมีแกงตา่ งๆ ส่วนใหญจ่ ะเป็นประเภทมรี สจัด
เคร่ืองแกงมักมีส่วนประกอบประเภท กะปิ พริกไทย ขมิน้ ตะไคร้ ฯลฯ กบั ข้าวแต่ละมื้อสว่ นมากจะมีแกงเผ็ด
เปน็ หลัก เช่น แกงส้ม แกงกะทิ แกงไตปลา แกงค่วั พริก หรือน้าพริก ทข่ี าดไม่ได้คือ ผกั เหนาะ ประเภทผักสด
เปน็ เครือ่ งแกลม้ ชาวตรงั รับประทานอาหารหลกั วนั ละ 3 มื้อ ม้ือทีม่ ลี ักษณะพิเศษคืออาหารเช้าซง่ึ แตกต่าง
ไปตามสภาพทอ้ งถนิ่ และอาชีพในชนบท พวกสวนยางพาราต้องออกจากบา้ นไปกรีดยางก่อนร่งุ มักจะกินข้าวท่ี
เหลือไวจ้ ากมื้อเยน็ รองท้องไปก่อน เรียกวา่ กินขา้ วสอ

พวกหม่เู ลประกอบอาชีพประมง ก่อนออกทะเลกิน โกป้ี-เหนียวป้งิ ในชุมชนหมู่บ้านทีม่ ีรา้ นค้ากจ็ ะมีร้าน
กาแฟและขนมตา่ งๆ แต่เดมิ มักจะมีอาหารประเภทข้าวเหนียวเป็นหลัก คือ เหนยี วป้ิง ข้าวตม้ ใบกะพ้อ ขา้ วตม้
มดั และข้าวเหนียวหนา้ ต่างๆ เชน่ หนา้ มะพรา้ ว หน้าสังขยา หนา้ ก้งุ เป่าล้าง (ข้าวเหนียวไสก้ ุง้ หอ่ ใบตองปง้ิ )
ปัจจุบันมขี นมอนื่ ๆ เพิ่มขึน้ อีกหลายอยา่ ง

รา้ นอาหารเช้าอีกชนิดหนึ่งคอื ร้านขนมจีนซึง่ หาไดท้ ่วั ไป มที งั้ ท่ขี ายตามเพิง ตั้งโต๊ะในรา้ นกาแฟ หรอื เปิด
เปน็ รา้ นโดยเฉพาะ น้ายาขนมจีนเมอื งตรงั ในแถบทับเทย่ี งจะมีลกั ษณะพเิ ศษกว่าทอี่ ่นื คือนิยมผสมกุ้งแห้งป่น
ทีข่ าดไม่ไดต้ ้องมเี คยี งคู่กับขนมจนี คอื ผักเหนาะ มีท้งั ผักสด ผกั ดอง ผกั ลวก ผกั สดมี แตง ถั่วฝักยาว ถว่ั งอก
และยอดผักตา่ งๆ เช่น มันปู หมรุย มะกอก มะมว่ งหิมพานต์ กระถิน จกิ ผกั ดอง มแี ตงดองนา้ ส้มสายชโู รย
หอมแดงเล็กนอ้ ย บางที่อาจจะมหี ัวไชโป๊ผสมลงไปดว้ ย ผักลวกมักเป็นผักบุ้ง หน่อไม้ ลวกธรรมดาหรอื ลวก
กะทิกไ็ ด้

ในเขตตรังเมืองตอนเชา้ ผคู้ นจะนยิ มรบั ประทานกาแฟและขนมตามร้านค้า ขนมที่เป็นหลักคือ ขนมทอด
น้ามนั ได้แก่ จาโกย๊ (ปาท่องโก)๋ และขนมเคลยี ว (ไส้ไก่) ปาทอ่ งโก๋ (เป็นขนมแป้งน่ึง มรี ูพรุน ที่เป็นสขี าว
เพราะใชน้ า้ ตาลทรายขาว ถา้ จะใหเ้ ปน็ สนี ้าตาลอ่อน ก็ใชน้ า้ ตาลทรายแดง) ข้าวเหนียวต่างๆ เชน่ เดยี วกบั รา้ น
ในหมบู่ า้ น ซาลาเปา ขนมจบี และขนมน่ึงประเภทต่ิมซา ซงึ่ ปจั จบุ ันมีอาหารเพ่มิ ขน้ึ หลายชนิด ไดแ้ ก่ ข้าวต้ม
ก๋วยเตยี๋ ว รวมทง้ั หมูยา่ ง

เปน็ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ ร้านกาแฟและร้านอาหารประเภทอน่ื ในเมอื งตรงั มเี ป็นจานวนมากและเปิดขายตลอดวนั มา
ตงั้ แตเ่ ดิม อาจจะเร่ิมมาจากความเป็นเมอื งทา่ ค้าขายที่ผู้คนตอ้ งใชช้ ีวิตนอกบ้านประการหน่งึ บวกกบั ความ
เฟอ่ื งฟทู างเศรษฐกจิ ของเมืองตรังในยคุ ท่ียางพารามีราคาดีประการหนง่ึ อกี ท้ังคา่ นิยมความใจใหญ่ใจกว้างของ
คนเมืองตรงั นาไปสกู่ ารกินเลยี้ งกันในโอกาสตา่ งๆ รวมกัน ทาใหร้ า้ นอาหารในเมืองตรังเปดิ กจิ การอยู่ได้แม้
ในช่วงท่เี ศรษฐกิจซบเซา โดยเฉพาะรา้ นกาแฟ ปัจจุบันมีมากข้ึน มีทั้งประเภทเปิดเฉพาะตอนเช้า เปดิ ตลอดวนั
และเปดิ เฉพาะกลางคืน สาหรบั ในตอนกลางคนื นั้นจะมรี า้ นประเภทตั้งโตะ๊ ริมถนนเป็นจานวนมาก เมืองตรงั จึง
ไดช้ อื่ วา่ เป็นเมืองคนช่างกิน

2

อาหารพนื้ เมอื งหลายชนดิ เดิมเป็นท่ีนิยมทวั่ ไปในเมอื งตรัง เปน็ ท่รี กู้ ันวา่ กะปิดตี ้องเป็นกะปเิ กาะเคย่ี ม
อาเภอกันตัง กะปิท่าข้าม อาเภอปะเหลียน สมัยหลงั นา้ ปลาของกล่มุ แม่บ้านหยงสตารเ์ พิ่มข้นึ มาด้วย ปลาเค็ม
และกุ้งแหง้ เดิมมีทหี่ าดทรายขาว อาเภอกันตงั ตอ่ มาท่ีกิง่ อาเภอหาดสาราญก็ขนึ้ ชอ่ื มาก

อาหารพน้ื เมือง จังหวัดตรัง

เคยจะหลู บางทีเรียก จะหลู เปน็ อาหารคาวประเภทหมักดองของชมุ ชนตรงั เล ทาจากก้งุ ฝอยขนาดเล็ก

หรอื กงุ้ เคยประเภทเดยี วกบั ท่ีใช้หมักทากะปิ มีอยตู่ ามบรเิ วณชายฝง่ั ทน่ี า้ ตน้ื ๆ ขนั้ ตอนการทาคือล้างกุ้งให้
สะอาดแลว้ คลกุ กบั เกลอื ป่น ใชเ้ กลือ 1 ใน 10 ของกุ้ง ใสภ่ าชนะปิดปากแน่น หมกั ไว้ 2 – 3 วนั ก็นามาปรงุ
รับประทานได้ เป็นอาหารหลายชนิด เช่น ยาโดยใส่หอมซอย พรกิ ขีห้ นู บีบมะนาว น่งึ โดยผสมกับไข่ไก่หรือไข่
เปด็ ใสห่ อมแดง ตะไคร้ พริกขี้หนู ผัด ใชผ้ ดั กบั หมสู ามชนั้ ใสห่ อมแดงซอย ตะไคร้ พริกขี้หนู ใบมะกรดู หัน่
ฝอย เป็นเคร่ืองปรงุ รส

หอยสม้ เปน็ อาหารคาวประเภทหมักดองของชมุ ชนหมูเ่ ลเชน่ เดียวกบั เคยจะหลูใช้หอยใช้หอยปะทีแ่ กะจาก

เปลอื กแลว้ หมักเกลอื ปดิ ฝาให้มิดชิด ประมาณ 2-3 วัน กใ็ ชร้ บั ประทานได้ อาจปรงุ รสเพม่ิ ดว้ ยตะไคร้หนั่ บางๆ
หอมซอย พรกิ ข้ีหนู

3

ขนมปากหม้อ เปน็ อาหารวา่ ง ทาจากแป้งข้าวเจา้ ผสมแป้งมันเล็กน้อย มไี สท้ ผ่ี ดั ด้วยหมู มันแกว หอม

กระเทยี ม สับละเอยี ด รสเคม็ หวาน และมีถ่ัวงอกลวก วิธีทา ใชผ้ า้ ขาวบางรดั ปากหม้อที่ใส่นา้ คอ่ นหม้อ พอนา้
เดอื ดใหล้ ะเลงแป้งบางๆ บนผ้าขาว ใชฝ้ าครอบคะเนพอแป้งสุก ใสไ่ ส้ผัดและถวั่ งอกลวก พับแปง้ ห่อเป็นรปู
ส่ีเหล่ยี ม ตกั ใสจ่ านโรยหนา้ ดว้ ยแตงกวา ผ่าซกี หรอื ผ่าสี่หน่ั บางๆ ราดด้วยน้าจมิ้ จากคอ้ มเจืองผสมถว่ั ลิสง ปรงุ
รสเปรี้ยวหวาน

อาหารทีใ่ ช้น้าจิม้ ลักษณะเดยี วกับปากหม้อยงั มอี ยา่ งอื่นอีก ได้แก่ หวั หมู ไส้หมูและเตา้ ก้ัว (เตา้ หยู้ ัดไสด้ ว้ ย
หมแู ละถวั่ งอก ทอดหัน่ เปน็ ชิ้น) อาหารเหลา่ นีจ้ ะโรยดว้ ยแตงกวาหรือผักบุ้งลวก ราดนา้ จ้ิม มขี ายท่ัวไปเปน็
อาหารว่าง
ขนมอนื่ ๆ ของเมืองตรงั ยงั มอี ีกหลายชนิด ท่วี างขายเปน็ ประจาและมจี านวนมากมายหลายสบิ เจ้าในงาน
เทศกาลหรืองานรน่ื เรงิ ต่างๆ ไดแ้ ก่ ข้าวหลาม และขนมปอดควาย (คลา้ ยขนมรังผ้งึ ของทางภาคกลาง)

ประเภทขนมแห้งท่ีทาจากโรงงานมหี ลายชนิด เช่น ขนมเคลยี ว ขนมโกสี (ขนมโก๋) ขนมมอ่ หลาว ขนมหวี
ขนมพอง ขนมกา้ นบัว ขนมถ่ัวต่อย ขนมถว่ั ตดั ขนมเต้าส้อ ฯลฯ ทที่ ารบั ประทานเองตามบ้านหรอื อาจจะทา
ขายดว้ ยกม็ ี ขนมขม้ี อด ทาจากแป้งข้าวเจ้าบดแหง้ ค่ัวใหส้ ุกหอมคลุกน้าตาลทราย บรรจุในกรวยกระดาษ เวลา
รบั ประทานใหเ้ ด็ดยอดกรวยแล้วกรอกใส่ปาก เปน็ ท่ีชน่ื ชอบของเด็กๆ

หมูย่างเมอื งตรงั

ต้นกาเนดิ ของหมูย่างเกิดขึ้นในประเทศจนี ประมาณหนง่ึ พันปีมาแลว้ ในสมยั ราชวงศ์ถงั การค้นพบวธิ ีการยา่ ง
หมูนนั้ เปน็ การบังเอิญ คือ ในขณะที่พ่อครวั ในพระราชวงั กาลงั ปรงุ อาหาร ได้ทาหมูชนิ้ หนงึ่ ตกลงไปในเตาถ่าน
จนเนือ้ สกุ และหนงั ไหม้ พ่อครัวได้ลองหยิบมาชิมจึงรู้สกึ วา่ หมชู ิ้นน้นั มีรสชาติหอมกรอบอรอ่ ยกวา่ เดมิ มาก จึง
ทาให้เขาเริ่มมคี วามคดิ วา่ การนาหมูมายา่ งเป็นอาหารจะอร่อยกว่าการนาไปใชท้ าอาหารอย่างอนื่ ดังนัน้ พ่อ
ครวั จึงได้ทดลองนาหมูมาย่างแล้วนาขนึ้ ถวายฮ่องเต้ ปรากฏวา่ ฮ่องเตโ้ ปรดมาก เนือ่ งจากหมูพอ ยา่ งสุก

4

พอเหมาะหนังจะมีสีเหลืองดจุ ทองคาสกุ อร่าม ฮ่องเต้จึงตงั้ ช่ือหมูย่างนี้วา่ "หมทู อง” ทาให้ชาวจีนใช้ช่อื นเี้ รียก
มาจนถงึ ปัจจบุ ัน เม่ือเวลาผ่านมานบั พนั ปี วิชาการหมยู า่ งก็ไดเ้ ผยแพรโ่ ดยการสืบทอดตระกลู ของพอ่ ครัว
จนกระทัง่ มาถึงมณฑลกวางตุ้ง ซง่ึ เป็นมณฑลที่ชาวเมืองมฝี ีมือในการปรุงอาหาร จะเห็นได้จากอาหารจนี ท่ีมีรส
อรอ่ ยทสี่ ุดจะปรงุ โดยพอ่ ครวั ชาวกวางตงุ้ ทัง้ สนิ้ ดงั นั้นจากเดมิ หมยู า่ งซึง่ เปน็ อาหารเฉพาะของฮ่องเต้กเ็ รม่ิ
แพร่หลายมาเป็นอาหารของสามัญชน แต่ถือวา่ หมยู า่ งเป็นอาหารระดบั ฮ่องเต้ เมื่อประมาณ 100 ปีก่อนน้ี
ชาวจนี ในมณฑลกวางตุ้งซึ่งอย่ใู กลท้ ะเล ได้เร่มิ อพยพออกจากประเทศโดยทางเรือ เพ่ือเสาะหาแผน่ ดินทาง
ทะเลใต้คอื ประเทศไทย ซ่ึงร่าลอื กนั ว่ามีความอดุ มสมบรู ณ์กวา่ ประเทศจีนมาก จึงไดล้ งเรือกนั มาผจญภยั พร้อม
กนั ทั้งหมู่บา้ นและมีบางสว่ นได้เดินทางเข้ามาประเทศไทย โดยขนึ้ ฝ่งั ทีอ่ าเภอกนั ตงั หรือปากแมน่ ้าตรงั และ
ได้มาบุกเบิกตั้งรกรากอยู่ทีจ่ ังหวดั ตรงั ชาวจีนท่ีอพยพมาน้ีมีหลายอาชพี สว่ นใหญ่จะมาบุกเบิกทาไร่พริกไทย
จงึ ไดต้ งั้ ช่อื จังหวัดตรงั ว่า "เมืองพรกิ ไทย” ชาวจนี เหลา่ น้จี งึ ไดม้ ีการเล้ียงหมูพันธ์ุเล็ก ซึง่ ได้นาลงเรอื มาด้วยใน
ตาบลทบั เท่ียง ปัจจุบันคืออาเภอเมอื ง จงั หวัดตรัง ปรากฏวา่ ไดผ้ ลดีมาก ต่อมาได้มคี นกลุ่มหนึ่งนาหมมู า
ชาแหละขาย ซึ่งกค็ ือตน้ ตระกูลของรา้ นฟองจนั ทร์ หลังจากน้ันร้านฟองจนั ทร์ไดร้ ับชาวจีนคนหนง่ึ มาจาก
มณฑลกวางตุง้ ชอ่ื นายซนุ่ มีความสามารถในการยา่ งหมูมาก หมูที่ย่างจะมรี ดชาดกลมกลอ่ มและหนังท่ีกรอบ
สมัยนัน้ จังหวดั ตรงั มผี ทู้ ี่ยา่ งหมูได้เพยี งคนเดียวเทา่ น้นั ต่อมาเมื่อนายซุ่นมีอายุมากขนึ้ ก็ไดฝึกผ้ชู ่วยข้นึ มา
วิชาการย่างหมูจึงได้แพร่หลายจากรุน่ ส่รู นุ่ ตัง้ แตน่ ั้นมา หมูย่างนน้ั เดิมเปน็ อาหารที่ใชใ้ นการเซ่นไหว้ของหมู่คน
จนี ในงานศพ งานมงคล งานเทศกาลต่างๆ และประกอบพิธกี รรมส่งิ ศกั ด์ิสิทธ์ิ หรือการบนบานสานกลา่ วตาม
วิถีชีวิต ซงึ่ ยงั สบื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั ตอ่ มาหมู่คนจนี ในเมืองตรังนิยมนาหมยู ่างมากินกับกาแฟ เป็นปกตวิ ิสัย
มานานแล้ว ความนิยมกระจายมาสูห่ ม่คู นตรงั ช้นั กลางท่ีเป็นข้าราชการ นกั ธุรกจิ ในเขตเมอื งตรังและชานเมือง
เป็นลาดับ จนกลายเปน็ วฒั นธรรมการกินกาแฟกบั หมูย่างในยามเช้า ท่ไี ม่เหมอื นใคร และไม่มใี ครเหมือน หมู
ยา่ งเมอื งตรังจงึ กลายเป็นเอกลกั ษณ์ของจงั หวัดตรัง หมูยา่ งเมอื งตรัง อาหารพ้นื เมืองจากทน่ี ิยมกันคบั แคบใน
วงจากัด ไดร้ บั การส่งเสรมิ และสนับสนนุ จากหอการค้าจังหวดั ตรงั ด้วยการจัดงานเทศกาลหมยู า่ งเมอื งตรังข้นึ
ต้งั แต่ ปี ๒๕๓๓ ต่อเน่ืองทุกปี จนถงึ ปจั จุบัน ประกอบกบั การได้โหนกระแสนโยบายการท่องเทย่ี วของรฐั บาล
จึงกลายเปน็ สินคา้ ท่ีมชี อื่ เสยี งไปท่ัวประเทศ กลายเป็นของแปลกของโปรด ของประจาบ้านประจาเมืองในทส่ี ุด

5

เค้กเมืองตรงั

“ขนมเคก้ เมอื งตรัง” หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “เค้กมีรู”

“เมอื งตรงั ” ได้ขนึ้ ช่ือวา่ เป็นเมืองของคนช่างกิน และเม่ือเอ่ยถึงเมืองตรังของกินท่ีข้ึนช่ือก็คงจะเป็น หมูยา่ ง
เมืองตรงั หรือตมิ่ ซา อาหารเชา้ ยอดฮติ ตลอดกาลของคนตรัง แต่นอกจากหมยู ่างเมืองตรังทขี่ ึน้ ชอ่ื แลว้ จงั หวัด
ตรังยงั มีของหวานอีกอย่างหนึ่งที่ขนึ้ ชอ่ื ไม่แพก้ นั และของหวานท่วี ่าน้นั ก็คือ “ขนมเคก้ เมืองตรงั ” หรือเรยี กอีก
อยา่ งหนง่ึ ว่า “เค้กมรี ู”

“เคก้ มรี ู” ถือกาเนิดขึน้ คร้ังแรกที่ ต.ลาภรู า อ.ห้วยยอด จ.ตรงั ในสมัยกอ่ นเป็นทีร่ ูจ้ กั กนั ในช่อื วา่ “เค้กขุกม่ิง”
ได้ช่อื มาจาก ขุกมิ่ง แซ่เฮง เจ้าตารับขนมเคก้ ตรัง ทีไ่ ด้เดินทางมาตั้งรกรากอยู่ทจี่ ังหวดั ตรัง โดยขกุ ม่งิ ไดค้ ิดทา
ขนมเค้กของตนเองเพอ่ื กนิ คู่กับกาแฟ โดยพฒั นาสูตรมาจากรา้ นขนมในอาเภอทบั เที่ยง และคิดคน้ พัฒนาต่อ
จนกลายมาเป็นขนมเค้กเมืองตรัง ขนมเค้กเมืองตรงั เป็นขนมทีใ่ ชว้ ตั ถดุ บิ ในการทาเพยี งไม่กี่อยา่ งเปน็
ส่วนผสม ไดแ้ ก่ แปง้ เนย นา้ ตาล สีผสมอาหาร ผงฟู และไขไ่ ก่ โดยกรรมวธิ ใี นการทาจะค่อยๆ นาส่วนผสมแต่
ละอยา่ งมาตีใหเ้ ข้ากนั แล้วนาไปเทลงแบบพมิ พ์เค้กท่ีมรี ตู รงกลาง เพ่ือเวลาอบเคก้ จะไดส้ ุกทั่วถึงกนั ใน
ระยะเวลาที่พอดี พออบเสร็จกจ็ ะได้ “ขนมเคก้ เมืองตรงั ” ทม่ี เี อกลักษณ์ตรงทมี่ เี ปน็ เค้กมีรู

ปัจจุบันเค้กเมืองตรงั มีรสชาติใหเ้ ลอื กมากมายกวา่ 20 ชนิด ทงั้ รสกาแฟ ใบเตย เค้กมะพรา้ ว เคก้ เผือก เค้ก
ล้นิ จ่ี เค้กสามรส เค้กนมสด ฯลฯ จงึ ทาให้เค้กเมืองตรงั เป็นที่นยิ ม และกลายเปน็ ของฝากของผูค้ นท่ผี า่ นไปผ่าน
มาในจังหวัดตรัง

ซงึ่ หากใครได้มีโอกาสมาเยือนจงั หวัดตรงั นอกจากจะกินหมูย่างเมอื งตรัง หรืออาหารเช้าอย่างตม่ิ ซาแลว้ อย่า
ลมื หาซอ้ื “เค้กเมืองตรัง” หรือ “เค้กมรี ู” ติดไม้ติดมือไปเป็นของฝากกลับบา้ นกนั ได้

6

หมเู กาหยกุ

ถ้าหากเหยยี บย่าเทา้ เข้ามาในจังหวัดตรงั แล้ว ส่งิ ที่ต้องเรยี กหากค็ ือ เรอื่ งของอาหารการกินท่ีมีเอกลักษณ์
มากมายหลากหลายรปู แบบหลากหลายรสชาติ ไมว่ ่าจะเป็นอาหารเชา้ เมืองตรังอนั ลือเล่ือง อาหารมื้อเท่ียงทีม่ ี
หลากหลายสไตลแ์ ละอาหารทะเลสดๆสาหรับมื้อเย็น แต่ในวันนี้ กระผมจะมาแนะนาอาหารทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์
อกี อยา่ งของจังหวัดตรัง นั่นก็คอื "หมูเกาหยุก” เกาหยกุ หรือ เกาหยก เปน็ ภาษาเรียกของชาวไทยเชื้อสายจนี
ถอื เป็นอาหารท่ีชาวจีนนิยมปรงุ ขน้ึ โตะ๊ อาหารในพธิ งี านเลย้ี งตา่ งๆ ไม่วา่ จะเปน็ งานแตง่ งาน งานศพ งานไหว้
บรรพบรุ ุษ ในอดีตบ้านไหนหรือครอบครวั ไหนท่ีทาหมูเกาหยกุ ขนึ้ โต๊ะอาหารเล้ียงแขกในงาน จะถือว่าบ้านน้นั
ครอบครวั นน้ั มฐี านะดี เพราะหมเู กาหยกุ เป็นอาหารท่ีทายาก ใชเ้ วลานาน ตอ้ งทาในกระทะใบใหญ่ และใช้
จานวนคนมาก เกาหยกุ หรือ เกาหยก เป็นภาษาเรยี กของชาวไทยเช้ือสายจนี ถอื เป็นอาหารที่ชาวจีนนยิ ม
ปรงุ ขน้ึ โต๊ะอาหารในพิธีงานเลย้ี งตา่ งๆ ไม่ว่าจะเป็นงานแตง่ งาน งานศพ งานไหว้บรรพบุรุษ ในอดีตบ้านไหน
หรอื ครอบครัวไหนที่ทาหมูเกาหยกุ ขึน้ โตะ๊ อาหารเลี้ยงแขกในงาน จะถือว่าบา้ นนัน้ ครอบครวั นน้ั มีฐานะดี
เพราะหมูเกาหยุกเป็นอในการทาหมเู กาหยุกนัน้ "จงุ เปา๋ ” (พ่อครวั )จะใชส้ ่วนผสมสาคัญๆ2ส่วน คอื เต้าหยู้ ้ี
และ กาเจือง (กาเจอื งเปน็ ซอสชนิดพเิ ศษทผ่ี ลติ ทีเ่ ดยี วในเมืองตรงั ) เร่ิมจากนาหมสู ามชัน้ ชิน้ ใหญไ่ ปตม้ ในน้า
เดือด พอหมูสุกยกขน้ึ มา ใช้ไม้ท่มี ตี ะปูหลายๆตวั หรอื ใชส้ ้อมจิม้ ไปที่หนังหมใู ห้ท่วั ๆ เพื่อใหห้ นงั หมแู ตกตอก
เวลานาไปทอด นาซอี ๊ิวขาว ซีอวิ๊ ดา หมักหมเู อาไว้ พกั ไว้ให้แหง้ จากน้ันนาหมลู งทอดในนา้ มันเดอื ดๆ พอหมูมี
สีเหลืองกรอบนาข้ึนมาหน่ั เป็นชิน้ พอคาแลว้ พักไว้ นาเผือกท่ปี อกผิวแล้ว มาหนั่ ชิ้นละประมาน 2-3 น้วิ แล้วนา
ลงทอดพอสุก นาข้นึ พักไว้ วิธกี ารทาซอสกนั เรม่ิ จากนาเตา้ หู้ยมี้ าบดรวมกบั กาเจอื ง จากนนั้ นาลงไปผัดกับ
น้ามนั ในกะทะใบใหญ่ ใสข่ ิง รากผกั ชี กระเทียม ผงหอม(จากร้านขายยาจีน) และน้าตาลปีบ๊ เค่ียวไว้ประมาณ
2-3ชัว่ โมง เพื่อให้กลิ่นหอมของเตา้ หูย้ ี้เจอื จางลง จากนนั้ ใส่หมูสามชัน้ ลงไป เคี่ยวต่ออีกประมาน1ชว่ั โมง
เพือ่ ใหซ้ อสซึมเข้าสูเ่ น้ือหมู จากน้ันใสเ่ ผือกลงไป เค่ียวต่ออีกนิดหนอ่ ย พอเขา้ ทเี่ ปน็ อันเสร็จาหารท่ีทายาก ใช้
เวลานาน ตอ้ งทาในกระทะใบใหญ่ และใชจ้ านวนคนมาก

7

หมูเกาหยกุ ”ตามสตู รของชาวจีนเชื้อสายกวางต้งุ จะใสห่ มกู ับเผอื ก แต่สูตรของชาวจนี เชื้อสายฮกเก้ยี นจะใส่
เต้าหูก้ บั เหด็ หูชา้ ง

ขนมเป๊ียะ เตา้ ส้อ ขนมจีบสงั ขยา

หน่ึงในน้นั กค็ ือ “ขนมเป๊ียะซอย 9” ซึ่งเกิดข้ึนจากการผสมผสานสูตรต้นตารับจากฮ่องกง และตกทอดมาจนถงึ
รุน่ ปจั จบุ ัน โดยเจา้ ของรา้ น เอมอร เอ่ยี มศรี จนกลายเป็นทีร่ จู้ ักของลกู ค้าทง้ั ในจังหวัด รวมท้งั ตา่ งจังหวัด และ
ต่างประเทศ อย่างมาเลเซียและสงิ คโปร์ เพราะมขี นมเป๊ยี ะนับ 10 ไส้ ให้เลอื กซ้ือหาไปรับประทานกัน อาทิ
เผอื กหอม ทเุ รยี น ถว่ั แดง พุทราจนี ชาเขียว เมด็ บวั และงาดาดเดน่ ของ “ขนมเปย๊ี ะซอย 9” คอื ทอดใน
กระทะดว้ ยนา้ มนั พชื ทม่ี ีความรอ้ นสูง นานประมาณ 5-10 นาที เพื่อใหเ้ ปลือกขนมเปย๊ี ะด้านนอกกรอบอร่อย
แตภ่ ายในยังมีไสอ้ ่อนนมิ่ นา่ รับประทาน ซงึ่ ถือเป็นกรรมวธิ ีทีแ่ ปลกไปจากขนมเป๊ียะที่อ่นื ซง่ึ จะนิยมใชก้ ารอบ
นอกจากนั้นไขเ่ ปด็ กย็ ังนามาจากฟาร์มทบี่ า้ นเกาะเค่ยี ม อ.กันตัง ซึ่งมีคุณภาพดีย่งิ กว่าแหลง่ อื่น ทาให้ขนม
เปย๊ี ะที่ออกมาสุดยอดกว่าทีอ่ ื่นใดขณะเดยี วกัน แม้เมืองตรังจะไม่ใช่พ้ืนท่ีตน้ ตารับ สาหรับการผลติ “เต้าสอ้ ”
ขนมชอ่ื ดงั ประจาถนิ่ ใต้ แต่ไม่กป่ี ีทีผ่ ่านมากลับมีการขยายตัวอย่างรวดเรว็ และกลายเป็นเอกลกั ษณ์ของจังหวัด
หลงั จาก “เจ๊ดา” หรือ “ดรุณี ดาคง” เจา้ ของรา้ นเจ๊ดา ส่ีแยกอันดามนั นาสตู รเด็ดมาใช้ โดยให้ “เต้าสอ้ ” มี
แป้งห่อ 2 ช้นั ท้งั ในและนอก กอ่ นนาไปทาไข่แดง ทางา แลว้ อบ ก็จะไดข้ นมท่ีสดุ แสนอรอ่ ยกรรมวิธกี ารน้ี ทา
ให้ “เต้าส้อ” เหนียวนุ่มน่ารบั ประทาน แถมยงั มีไส้แปลกใหม่ และมีรสชาตดิ ีๆ ให้เลือกกันอกี มากมายดว้ ย

8

อาทิ ถัว่ ไขเ่ ค็ม ถว่ั ดา งาดา ชาเขียว รวมรส ด้วยยอดการผลติ “เตา้ สอ้ ” วันละ 300-400 กลอ่ ง ถือเปน็ ตัว
เลขที่น่าสนใจย่งิ อีกทัง้ ยังมีตลาดอยู่ท่วั ท้งั ทุกภาค จึงขยายตวั ไปได้ไมจ่ ากัด หากทาให้มีจุดเดน่ หรือมชี ่อื เสียง
กย็ ่อมจะไดร้ บั การตอบรับจากผ้บู ริโภคแนน่ อน

นอกจากนนั้ ที่ “หมู่บ้านลาภูรา” อ.ห้วยยอด ก็ยังเปน็ แหลง่ ผลติ ขนมชนิดอ่นื ๆ ท่ีข้ึนชื่ออีกมากมาย รวมท้ัง
“ขนมจีบสังขยาปา้ พิณ” ซ่งึ มีลักษณะเปน็ รปู ตัวกลม หรือท่ีเรียกกันว่า “ไส้ทะลัก” จากเดิมทเ่ี ป็นรปู
สามเหลยี่ มเพ่ือใหเ้ ป็นเอกลกั ษณ์ และมรี สชาตดิ ้งั เดิมท่ีไม่ซ้าใคร จนนบั เป็นเจา้ แรกในประเทศไทย โดยการ
คิดค้นสตู รของ “คุณปา้ พณิ น้าเยอ้ื ง” ภายใต้แนวคิด “สุขใจท้งั ผใู้ ห้ สบายใจท้ังผู้รบั ”

9

อา้ งอิง

Iamtrang.com.(2554).มรดกวฒั นธรรม-ศาสนา พธิ กี รรม ความเชื่อ-ขนบธรรมเนยี มประเพณี
ท้องถน่ิ -การกนิ อยู่.สืบคน้ 12 กนั ยายน 2564,จากhttp://www.iamtrang.com/?p=887

สานักงานวฒั นธรรมจังหวัดตรัง.(2564).อาหารพื้นเมอื ง.สบื คน้ 12 กนั ยายน 2564,จาก
https://www.m-culture.go.th/trang/ewt_news.php?nid=340&filename=index

โพสต์ทเู ดย์ .(2558).ขนมเป๊ียะ-เตา้ ส้อ-ขนมจบี สงั ขยา ผลิตภณั ฑ์พน้ื เมืองตรงั .สืบคน้ 12 กนั ยายน
2564,จากhttps://www.posttoday.com/life/travel/373971


Click to View FlipBook Version