การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำที่ใช้อย ู่
ในปัจจุบันจากละครย้อนยุค
คณะผู้จัดทำ
นางสาว จรรยพร แสงสว่าง เลขที่ ๖ ม.๖/๑
นางสาว ธิติมา ทองรอด เลขที่ ๑๑ ม.๖/๑
นางสาว ศิลารัตน์ รามคล้าย เลขที่ ๑๘ ม.๖/๑
ผู้สอน
นายธิรพงษ์ คงด้วง
รายงานโครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา (ท ๓๓๑๐๒) ภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ก
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท ๖ โดยรายงาน
ี่
เล่มนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทำโครงงานภาษาไทย เรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา
มาเปรียบเทียบกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจากละครย้อนยุค ซึ่งจะมีการกล่าวถึงการรวบรวมคำโบราณในสมัย
้
อยุธยาจากละครเรื่องบุพเพสันนิวาส เรื่องขุนศึก และเรื่องบางระจัน ซึ่งไดนำคำจากละครทั้ง ๓ เรื่องนั้นมา
เปรียบเทียบคำโบราณในสมัยอยุธยากับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ั
การจดทำโครงงานรายวิชาภาษาไทย เรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยามา
เปรียบเทียบกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจากละครย้อนยุคในครั้งนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การทำเอกสาร
ฉบับนี้มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจที่จะศึกษาในเรื่องนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดทาง
คณะผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้
ั
คณะผู้จดทำ
ข
กิตติกรรมประกาศ
ในการทำโครงงานรายวิชา ภาษาไทย เรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มา
ุ
ุ
เปรียบเทียบกับคำทใช้อยู่ในปัจจบันจากละครย้อนยุค คณะผู้จัดทำขอขอบพระคณ คุณครูธิรพงษ์ คงด้วง ทได ้
ี่
ี่
ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คำปรึกษาและให้คำแนะนำต่างๆในการทำโครงงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ
แนวทางในการทำโครงงานภาษาไทยในครั้งนี้ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ จึงทำให้โครงงานภาษาไทยในครั้งนี้
สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
สุดท้ายนี้ขออุทิศความดีที่มีในการศึกษาโครงงานนี้แด่ บิดา มารดา ครอบครัวของคณะผู้จัดทำ และ
ขอขอบคุณเพื่อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑ โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาผู้ช่วยเหลือคณะผู้จัดทำและให้
กำลังใจมาโดยตลอด
ั
คณะผู้จดทำ
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง จ
บทที่ ๑ บทนำ ๑
ความเป็นมาและความสำคัญ ๑
วัตถุประสงคในการค้นคว้า ๒
์
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ๒
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๒
นิยามศัพท์เฉพาะ ๒
บทที่ ๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๓
ความรู้เกี่ยวกับละคร ๓
ความรู้เกี่ยวกับภาษา ๕
ความรู้เกี่ยวกับการแปรของภาษา ๗
ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษา ๙
ภาษาในสมัยอยุธยา ๑๖
ความรู้เกี่ยวกับละครทั้ง ๓ เรื่อง ๑๗
บทที่ ๓ วิธีการดำเนินการวิจัย ๒๐
แหล่งข้อมูล ๒๐
เกณฑ์ในการวิเคราะห์ ๒๑
การเก็บรวบรวมข้อมูล ๒๑
การวิเคราะห์ข้อมูล ๒๑
ระยะเวลาในการดำเนินการ ๒๒
บทที่ ๔ การวิเคราะห์ข้อมูล ๒๓
คำโบราณ ๒๓
การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท ์ ๒๕
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง ๒๖
บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๒๙
การสรุปผลข้อมูล ๒๙
ง
อภิปรายผล ๒๙
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป ๓๐
บรรณานุกรม ๓๑
จ
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ ๑ คำโบราณจากละครทั้ง ๓ เรื่องและความหมายของคำ ๒๓
์
ตารางที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพทของคำโบราณ ๒๕
ี
ตารางที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การลดเสยง ๒๖
ตารางที่ ๔ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การกลมกลืนเสียง ๒๗
ตารางที่ ๕ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การกร่อนเสียง ๒๘
๑
บทที่ ๑
บทนำ
ความเป็นมาและความความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในปัจจุบันมีความผูกพันใกล้ชิดกับสื่อโทรทัศน์เป็นอย่างมาก ซึ่ง
โทรทัศน์นั้นมีความสามารถในการสื่อสารทั้งภาพและเสียง สร้างความน่าเชื่อถือด้วยการนำเสนอภาพ
เหตุการณ์จริงได้อย่างรวดเร็วฉับไวและยังโน้มน้าวใจผู้รับชมได้ลึกซึ้งกว่าสื่อประเภทอื่น ซึ่งโทรทัศน์นับเป็น
ี่
วิวัฒนาการทางเทคโนโลยีที่มีราคาไม่แพงมากบุคคลทุกชนชั้นในสังคมไทยสามารถเข้าถึงได้และมีกำลงทซื้อหา
ั
เป็นเจ้าของ สื่อโทรทัศน์จึงกลายเป็นขวัญใจผู้ชมและได้รับความนิยมอย่างสูงในสังคมไทย
ในปัจจุบันนั้นมีสิ่งจรรโลงใจหลายอย่างที่ทำให้มนุษย์ได้รับความบันเทิงในชีวิตหลายครั้งที่เรา
เคร่งเครียดหรือมีความอ่อนล้าจากการทำงาน การเรียน การพักผ่อนหย่อนใจ จึงเป็นสิ่งที่เราแสวงหาซึ่งมักมี
รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป การดูละคร ซึ่งเรานั้นดูได้จากโทรทัศน์ที่กล่าวมาข้างต้น ถือเป็นการพักผ่อนสมอง
และผ่อนคลายได้ทางหนึ่ง ละครจึงเป็นสิ่งจรรโลงใจที่ให้ความเพลิดเพลิน แก่ผู้รับชม ซึ่งละครที่เราได้ดหรือ
ู
ิ่
ี่
ึ
์
ิ่
ั
ชมกันนั้นเป็นสงที่มนุษย์สร้างสรรคขึ้นจากความรู้สกนึกคิดหรือแรงบันดาลใจทได้รับจากสงแวดลอมในสงคม
้
ุ
หรือจากเรื่องราวส่วนตัว โดยเฉพาะเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ตั้งแต่เรื่องความรัก การพลัดพราก ความสข
เป็นต้น ผู้แต่งละครได้ถ่ายทอดอารมณ์ไว้อย่างหลากหลาย ซึ่งละครนั้นเป็นการแสดงประเภทหนึ่ง มีวิธีดำเนิน
เรื่องอย่างเป็นเรื่องราว ผู้แสดงเรียกว่า ตัวละคร มีบทให้แสดงตามเนื้อเรื่อง มีฉาก หรือเวทีให้ใช้แสดง มีหลาย
ชนิด แต่มีละครอีกประเภทหนึ่งทเป็นละครสอถึงวิถีชีวิตของคนในสมัยก่อน ได้จำลองบรรยากาศของยุคสมัย
ื่
ี่
ต่างๆที่ผ่านพ้นมาแล้วในอดีต ให้คนในสมัยปัจจุบันได้รับรู้ ซึ่งเรียกว่า “ ละครพีเรียด หรือ ละครย้อนยุค ”
ซึ่งหมายถึง การแสดงละครที่มีฉากท้องเรื่องในอดีตกาล อาจรวมถึงบันเทิงคดีอิงประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์
ทเสี่ยงภัย ละครจักร ๆ วงศ ๆ เป็นต้น อาจไม่เจาะจงช่วงเวลาหรือกำหนดช่วงเวลาคร่าว ๆ เช่น ยุคกลาง
ี่
์
ยุคอยุธยา หรือช่วงใดช่วงหนึ่งก็ได้ เช่น รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือทศวรรษ ๑๙๒๐ เป็นตน
้
ซึ่งได้ถ่ายทอดให้คนสมัยปัจจุบันรับรู้ในเรื่องต่างๆ เช่น การถ่ายทอดความรู้ด้านวัฒนธรรม วิถีความเป็นอยู่
และประวัติศาสตร์ไทยออกมาให้เห็นในรูปแบบฉาก และ การแต่งกายที่เป็นสิ่งที่ชัดเจนที่สุดในละครย้อนยุคนี้
คณะผู้จัดทำจึงสนใจศึกษา ละคร ๓ เรื่อง ได้แก่ เรื่องบุพเพสันนิวาส เรื่องบางระจน และเรื่องขุนศก
ึ
ั
ุ
้
ี่
ซึ่งผู้จัดทำได้นำละครทั้ง ๓ เรื่องนี้มารวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำทใชอยู่ในปัจจบัน
เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยต่อไป
๒
วัตถุประสงค์ในการค้นคว้า
๑. เพื่อศึกษารวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา จากละครทั้ง ๓ เรื่อง
๒. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคำในสมัยอยุธยาจากละครก่อนกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
คณะผู้จัดทำได้ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่ใช้ในโครงงานครั้งนี้ คือ ละครย้อนยุคหรือละครพีเรียด
จำนวนทั้งหมด ๓ เรื่อง ได้มาจากการรวบรวมข้อมูลจากละคร เรื่องบุพเพสันนิวาส (ออกอากาศเมื่อปี
พ.ศ.๒๕๖๑) เรื่องบางระจัน (ออกอากาศเมื่อปีพ.ศ.๒๕๕๘) เรื่องขุนศึก (ออกอากาศเมื่อปีพ.ศ.๒๕๕๕) ซึ่ง
ออกอากาศทางช่อง ๓ ครบทุกตอนในแต่ละเรื่อง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ได้รู้จักคำโบราณที่ใช้ในละครทั้ง ๓ เรื่อง
๒. ได้รู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษา
๓. ได้รู้ว่าคำโบราณนั้นแตกต่างจากคำในปัจจุบันอย่างไร
้
๔. ได้นำความรู้เรื่องการศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำทใชอยู่ใน
ี่
ปัจจุบันจากละครย้อนยุค ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนภาษาไทย
นิยามศัพท์เฉพาะ
้
๑. ละคร หมายถึง กระบวนการหนึ่งที่มนุษย์ใชในการสื่อสารให้ผู้อื่นรับรู้เรื่องราวความเป็นไปต่างๆ
ของประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม โดยธรรมชาติเอื้ออำนวยให้มนุษย์ใช้ร่างกายประกอบการเล่าเรื่อง
เช่นต่อสู้ผจญภัย การดำเนินชีวิตของคนในสังคมสามารถถ่ายทอดการเล่าเรื่องนั้นๆ ผ่านการแสดงได้อย่าง
สนุกสนาน เพลิดเพลิน
๒. ละครย้อนยุคหรือละครพีเรียด (Retro Drama) หมายถึง การแสดงมีฉากท้องเรื่องในอดีตกาล
อาจไม่เจาะจงช่วงเวลาหรือกำหนดช่วงเวลาคร่าว ๆ เช่น ยุคกลาง ยุคอยุธยา หรือช่วงใดช่วงหนึ่งก็ได ้
๓. คำโบราณ หมายถึง ภาษาเก่าก่อนที่มีมานานซึ่งคนในสมัยโบราณใช้ติดต่อสื่อสาร แต่ในปัจจุบันนั้น
ไม่ได้นำมาใช้แล้ว
๔. สมัยอยุธยา หมายถึง อาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. ๑๘๙๓
ถึง พ.ศ. ๒๓๑๐ มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี
๓
บทที่ ๒
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการทำโครงงานเรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำทใชอยู่
ี่
้
ในปัจจุบันจากละครย้อนยุค ครั้งนี้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยจำแนกเป็น
ความรู้หลัก ๆ ดังนี้
๑. ความรู้เกี่ยวกับละคร
๑.๑. ความหมายของละคร
๑.๒. ความหมายของละครย้อนยุค
๒. ความรู้เกี่ยวกับภาษา
๒.๑. ความหมายของภาษา
๒.๒. ประเภทของภาษา
๓. ความรู้เกี่ยวกับการแปรของภาษา
๓.๑. ความหมายของการแปรของภาษา
๓.๒. การแปรของภาษาในแต่ละระบบ
๔. ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษา
๔.๑. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงของภาษา
๔.๒. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
๔.๓. ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
๕. ภาษาในสมัยอยุธยา
๖. ความรู้เกี่ยวกับละครทั้ง ๓ เรื่อง
๖.๑. เรื่อง บุพเพสันนิวาส
๖.๒. เรื่อง บางระจัน
๖.๓. เรื่อง ขุนศึก
ละคร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๕๔) ได้ให้ความหมายของคำว่า “ละคร” ไว้ว่า “การแสดง
ประเภทหนึ่ง ผู้แสดงเรียกว่า ตัวละคร มีเวทีหรือสถานที่ใช้ในการแสดง มีบทให้ตัวละครแสดงตามเนื้อเรื่อง
โดยมากมีดนตรีประกอบ มีลักษณะแตกต่างกันออกไปหลายชนิดนอกจากความหมายของคำว่าละครตาม
๔
ความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๕๔) แล้วยังมีนักวิชาการไทย และ นักวิชากรตะวันตก
ได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
เต็มสิริ บุญสิงห์ และ เจือ สตะเวทิน (๒๕๒๖) ให้ความหมายของคำว่าละครตามหลักวิชาการไว้ว่า
“ละครคือการแสดงเลียนชีวิตโดยมีการร้อง รำ ทำเพลงประกอบ แยกได้ ๒ อย่าง คือ
้
๑) นัยหนึ่งความหมายกว้าง หมายถึง การละเล่นที่แสดงกิริยาท่าทาง ซึ่งจะเป็นการรำ หรือเตน
ก็เรียกละคร นั่นคือพวกระบำต่าง ๆ
๒) นัยที่สองความหมายเฉพาะหลักวิชา หมายถึง การแสดงที่ต้องมีเนื้อเรื่องเป็นสำคัญ ได้แก่
ละคร ลิเก และเสภา เป็นต้น
้
สุมนมาล์ นิ่มเนติพันธ์ (๒๕๔๑) ให้ความหมายคำว่า “ละคร” ไว้ว่าการแสดงที่ผูกเป็นเรื่อง ซึ่งไดรับ
ั่
ิ
สืบทอดมาจาก กรีก อียิปต์ จีน มนุษย์ทุกเชื้อชาตย่อมมีการแสดงละคร ความหมายโดยทว ๆ ไป หมายถึงว่า
สิ่งใด ๆ ก็ตามจะปรากฏเรื่องราวที่ก่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ความบันเทิงใจแก่มนุษย์ไดก็ตอเมื่อ
้
่
มนุษย์ได้แสดงธรรมชาติของตนออกมาให้ปรากฏเป็นการกระทำ หรือสิ่งที่ได้ทำไปแล้วและมีการแสดงซ้ำ
อีกครั้งหนึ่งหมายความว่าละครได้เริ่มแล้ว
สดใส พันธุมโกมล (๒๕๓๑) กล่าวว่า การแสดงละครเป็นศิลปะที่เก่าแก่ที่สุดอย่างหนึ่งที่มนุษย์
สร้างสรรค์ขึ้นมาจากการเลียนแบบชีวิต เพื่อแสดงออกถึงเรื่องราวความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์และแสวงหา
ความเข้าใจชีวิตที่พึงได้รับจากการชมละครที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นนั้น ที่สำคัญก็คือ ละครจะต้องเป็นการแสดง
ี่
ที่ “เป็นเรื่อง” การแสดงใด ๆ ทมีทั้งผู้แสดงและผู้ชมแต่มิได้แสดงเป็นเรื่องราว เช่น การแสดงแฟชั่นโชว์
การแสดงดนตรี การแสดงรำอวยพร การแสดงระบำเป็นชุด ๆ ประเภทวิพิธทัศนา การแสดงกล ฯลฯ เหล่านี้
เราไม่เรียกว่าละครเพราะขาดองค์ประกอบที่สำคัญไปอย่างหนึ่งคือ “เรื่อง” นั่นเอง
ฐิติรัตน์ เกิดหาญ (๒๕๕๒,หน้า๑๗๓) ละคร คือการแสดงเลียนแบบชีวิต โดยมีการร้องรำทำเพลง
ประกอบ สามารถแยกออกได้เป็น ๒ ความหมาย คือ ๑.ความหมายกว้าง หมายถึงการละเล่นที่แสดงกิริยา
ท่าทาง จะเป็นการเต้น การรำ หรือระบำต่างๆ ก็เรียกว่า ละคร ๒.ความหมายเฉพาะหลักวิชา หมายถึง
การแสดงที่ตองมีเนื้อเรื่องเป็นหลกสำคัญ ได้แก่ โขน ละคร ลิเก เป็นต้น คำว่า “ละคร” เมื่อกับคำว่า “การ”
้
ั
่
จะมีความหมายกว้างออกไปอีกมาก แต่เมื่อนำคำว่า “ไทย” มาตอท้ายเป็น “การละครไทย” จะมีความหมาย
ว่าการฟ้อนหรือการแสดงอย่างไทยที่ประกอบด้วยเรื่องราว
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล ละคร (Drama) หมายถึง “การมหรสพหรือการแสดงที่มีเนื้อเรื่องเป็น
สำคัญกล่าวคือ แสดงเป็นเรื่องเป็นราวต่าง ๆ ” การละครเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่เสนอต่อผชมในรูปของ
ู้
การกระทำ (Action หรือ Acting) ซึ่งประกอบไปด้วย การร้องรำ ทำเพลง หรือแสดงกิริยาอาการต่าง ๆ
การละครแต่โบราณนั้น สืบเนื่องมาจากการระบำรำเต้น หรือร้องรำทำเพลงต่างๆ ตัวอย่างเช่น เมื่อเอ่ยถึงละคร
๕
ไทยที่เป็นแบบแผนมาแต่โบราณนั้นย่อมหมายถึงลักษณะ “ละครรำ” คือละครที่ใช้ศิลปะการร่ายรำ
ในการดำเนินเรื่อง ด้วยเหตุนี้เราจึงควรทำความเข้าใจกับความหมายของคำว่า “ระบำรำเต้น” เสียก่อน
มิลลี่ เอส บาร์แรนเจอร์ (Milly S. Barranger) (๑๙๙๕) ได้ให้คำจำกัดความคำว่าละครว่า คอ
ื
ศิลปะการแสดงที่นำเสนอประสบการณ์ชีวิตของมนุษย์ให้กับมนุษย์ มนุษย์กลุ่มแรกคือผู้แสดง กลุ่มหลังคอผชม
ู้
ื
ซึ่งได้มาอยู่รวมกัน ในเวลาเดียวกัน ณ สถานที่เดียวกัน คือ สถานที่จัดแสดง ไม่ว่าจะเป็นบนเวทีละครหรือ
ที่ใด ๆ โดยเรื่องราวที่แสดงนั้นมักจะมีแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ผู้ชม ได้แบ่งปันประสบการณ
์
ที่ตนเองเคยมี กับประสบการณ์ในละคร โดยการฟัง รับรู้ข้อมูล รู้สึกตาม มีอารมณ์ร่วม มีปฏิกิริยากับสิ่งท ี่
เกิดขึ้นในการแสดง
ละครย้อนยุค หมายถึง ละครที่จำลองให้เห็นภาพบรรยากาศที่เกิดขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย
ถึง สมัยรัตนโกสินทร์ คือ ช่วงปีพ.ศ. ๒๓๐๐ ถึงพ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งเป็นละครที่ผู้แต่งนำภาพจินตนาการสมมุต ิ
ิ
หรือภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงในประวัตศาสตร์ไทยมาถ่ายทอดเป็นบทละครย้อนยุค ในขณะท ละครพีเรียด
ี่
์
เป็นละครที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับอดีต ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร (ชยพล สุทธิโยธิน และ สันติ เกษมสิริทัศน์,
๒๕๔๘ และ มัทนี รัตนิน,๒๕๔๖) ได้กล่าวไว้ว่า ละคร “ย้อนยุค” มักจะเป็นละครทแต่งขึ้นมาในสมัยปัจจบัน
ี่
ุ
ิ
แต่เป็นเรื่องราวในอดีตสมัยหนึ่งสมัยใด ซึ่งแนวความคิดของละครย้อนยุคจะเป็นแนวความคดของนักเขียน
ปัจจุบันที่คิดเกี่ยวกับอดีต
ู้
ละครพีเรียด มีความหมายใกล้เคียงกับ “ละครย้อนยุค”และ “ละครชีวิต” ที่ใช้เรื่องราวชีวิตของผคน
เป็นตัวดำเนินเรื่อง จึงได้นิยามความหมายของละครย้อนยุคกับละครพีเรียดเป็นละครประเภทเดียวกัน และ
กำหนดให้ละครย้อนยุค หมายถึง ละครอิงประวัติศาสตร์ และ ละครย้อนสมัย ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คน
กล่าวสรุปไดว่า ละคร คือ เรื่องราวความเป็นไปต่างๆทั้งการดำเนินชีวิต สังคม ประวัติศาสตร์
้
ิ
วัฒนธรรมที่นำเสนอในรูปแบบของการแสดงผ่านการออกอากาศทางโทรทัศน์ เป็นสิ่งที่ให้ความเพลิดเพลน
และถ่ายทอดเรื่องราวความเป็นไปของสังคม
ความรู้เกี่ยวกับภาษา
ความหมายของภาษา
การสื่อสารจำเป็นต้องอาศัยสัญลักษณ์หรือภาษาเพื่อสื่อความคด ความเข้าใจ ความรู้สกซึ่ง
ิ
ึ
กันและกัน การสื่อสารจำเป็นต้องอาศัยทั้งสัญลักษณ์และภาษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจทตรงกัน
ี่
ความหมายของภาษานักวิชาการและนักภาษาศาสตรได้ให้ความหมายและคำนิยามไว้
อย่างหลากหลาย ดังนี้
๖
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๕ (๒๕๕๖: ๘๖๘) ได้ให้คําจํากัดคําว่า “ภาษา”ว่า
“ถ้อยคําที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีนหรือเพื่อสื่อความ
เฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม ; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สามารถ
สื่อความหมายได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ”
อุดม วิโรตม์สิกขดิตย์ (๒๕๔๗ : ๑-๒) กล่าวว่า ภาษา หมายถึง การสื่อความหมายทต้องมีเสียง
ี่
ความหมาย ระบบ กฎเกณฑ์ที่ยอมรับกันทั่วไป หรืออีกนัยหนึ่งกล่าวว่า ภาษาต้องมีโครงสร้าง (Structure)
ื่
้
มยุเรศ รัตนานิคม(๒๕๔๒ : ๓) กล่าวว่า ภาษา หมายถึง รหัสชนิดหนึ่งซึ่งมนุษย์ใชสอความหมาย
ู้
ระหว่างกันในการทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยผ่านสื่อที่เป็นเสียงสัญลักษณ์ตามที่ได้ตกลงยอมรับกันในสังคมของผใช ้
รหัสเดียวกันนั้น เสียงสัญลักษณ์ดังกล่าวจะต้องมีระบบแบบแผนที่แน่นอนและมีความสัมพันธ์กันกับระบบ
ความหมายอันเป็นความหมายที่สามารถเข้าใจตรงกันได้ในหมู่ชนนั้น ๆ
กาญจนา นาคสกุล (๒๕๒๐ : ๕) กล่าวว่า ภาษาที่แสดงออกด้วยเสียงพูดและคําพูดเท่านั้นที่นับว่าเป็น
ภาษาที่แท้จริง เครื่องสื่อความหมายอย่างอื่นนับว่าเป็นภาษาที่สมบูรณ์ไม่ได การพยักหน้า สั่นศีรษะ โบกมือ
้
ไม่นับว่าเป็นภาษา เพราะไม่มีระบบระเบียบที่แน่นอนและมิได้เป็นเสียง
ี่
ื
่
พระยาอนุมานราชธน (๒๕๑๐ : ๒๕) กลาวว่า ภาษาตามความหมายของนิรุกติศาสตร์คอ วิธีทมนุษย์
แสดงความในใจ เพื่อให้ผู้ที่ตนต้องการให้รู้ได้รู้จะเป็นเพราะต้องการบอกความในใจที่นึกไว้หรือเพื่อระบาย
ความในใจที่อัดอั้นอยู่ให้ปรากฏออกมาภายนอก โดยใช้เสียงพูดที่มีความหมายตามที่ได้ตกลงรับรู้กัน ซึ่งมี
ผู้ได้ยิน รับรู้และเข้าใจ
วิจินต์ ภาณุพงศ์ (๒๕๒๒ : ๖) ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ว่า ภาษาคือเสียงพูดที่มีระเบียบและ
ความหมาย ซึ่งมนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือสําหรับการสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกความต้องการ และใช้ในการ
ประกอบกิจกรรมร่วมกัน
ซาเพียร์ (Sapir,๑๙๒๑ : ๘) ได้ให้นิยามคําว่า “ภาษา” ไว้ว่า “ภาษาเป็นวิธีที่เป็นของมนุษย์โดยเฉพาะ
เท่านั้น และไม่ใช่สิ่งที่เป็นสัญชาตญาณ แต่มีไว้เป็นเครื่องมือสื่อสารความคด ความรู้สึกและความตองการของ
้
ิ
คน และมนุษย์กระทําโดยการเปล่งเสียง ระบบของสัญลักษณ์ซึ่งเป็นเสียงออกมาโดยตั้งใจ”
บล็อคและเทรเกอร์ (Bloch and Trager,๑๙๔๒:๕ ) ได้ให้นิยามว่า “ภาษาคือระบบสัญลักษณ์ซึ่งใช ้
แทนเสียงพูด สัญลักษณ์เหล่านี้ได้กําหนดขึ้นอย่างไม่มีกฎเกณฑ์หรือเหตุผล และสังคมมนุษย์ติดต่อกันด้วย
ระบบนี้”
กล่าวสรุปได้ว่า ภาษา หมายถึง เสียงพูดหรือคําพูดหรือภาษาพูดเท่านั้น จะไม่รวมตัวอักษรหรือ
ภาษาเขียน เนื่องจากนักภาษาศาสตร์เห็นว่าตัวอักษรเป็นเพียงตัวแทนของภาษาแต่มิใช่ภาษา อีกทั้งยังไม่มี
ระบบการเขียนของภาษาใดในโลกที่จะถ่ายทอดเสียงพูดออกมาได้อย่างสมบูรณ์ หรือแม้แต่ภาษาท่าทางก็ไม่
๗
ื่
นับว่าเป็นภาษา เพราะภาษาท่าทางหรือเครื่องหมายต่าง ๆ ยังไม่เป็นระบบแน่นอนและความหมายที่ใช้สอ
ความก็ไม่เป็นสากล แต่ขึ้นอยู่กับการตกลงของคนแต่ละกลุ่ม
ประเภทของภาษา
๑. วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูดหรือตัวอักษรที่กำหนดใช้ร่วมกันในสังคม ซึ่ง
หมายรวมทั้งเสียง และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคำเป็นภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ มีหลักเกณฑ์
ิ
ี
้
ทางภาษา หรือไวยากรณ์ซึ่งคนในสังคมต้องเรียนรู้และใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่าน เขยนและคด ซึ่งการใช
ั
วัจนภาษาในการสื่อสารต้องคำนึงถึงความชดเจนถูกต้องตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับลักษณะ และ
การสื่อสาร ลักษณะงาน เป้าหมาย สื่อและผู้รับสาร วัจนภาษาแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๑.๑ ภาษาพูด ภาษาพูดเป็นภาษาที่มนุษย์เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำเพื่อสื่อสาร กับผอื่น
ู้
นักภาษาศาสตร์ถือว่าภาษาพูดเป็นภาษาที่แท้จริงของมนุษย์
๑.๒ ภาษาเขียน ภาษาเขียนเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้อักษรเป็นเครื่องหมายแทนเสียงพูดในการ
สื่อสาร ภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ของการพูด ภาษาเขียนนั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช ้
บันทึกภาษาพูด เป็นตัวแทนของภาษาพูดในโอกาสต่าง ๆ
๒. อวัจนภาษา หมายถึง เป็นการสื่อสารโดยไม่ใชถ้อยคำ ทั้งที่เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน เป็น
้
ภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน โดยใช้อากัปกิริยา ท่าทาง น้ำเสียง สายตาหรือใช้วัตถุ การใช้สัญญาณ และ
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ หรือแสดงออกทางด้านอื่นที่สามารถรับรู้กันได้ สามารถแปลความหมายได้และทำความ
เข้าใจต่อกันได ้
กล่าวสรุปได้ว่า ประเภทของภาษานั้นแบ่งได้ ๒ ประเภทตามลักษณะที่ใช้สื่อสาร โดยแบ่งออกเป็น
วัจนภาษา และ อวัจนภาษา วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคำ ได้แก่ คำพูดหรือตัวอักษรที่ใช้สื่อสารกันให้
เข้าใจ เช่น การพูดคุย การเขียนจดหมายต่างๆ แต่ในส่วนของอวัจนภาษานั้นจะ หมายถึง การสื่อสารโดยไม่ใช ่
ถ้อยคำแต่จะใช้กิริยาท่าทางในการสื่อสาร
ความรู้เกี่ยวกับการแปรของภาษา
ความหมายของการแปรของภาษา
ภาษาเป็นสิ่งหนึ่งที่มีการแปร ภาษาอาจแปรหรือต่างกันตามกาลเวลา การแปรของภาษาตามกาลเวลา
นี้เราเรียกว่า การเปลี่ยนแปลงของภาษา แต่การแปรของภาษาจากปัจจัยอื่น ๆ นี้เราจะเรียกว่า การแปรของ
ภาษา ไม่มีภาษาใดในโลกที่คงที่เป็นหนึ่งอยู่เสมอโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา หรือ แปรไปตาม
ิ
ปัจจัยต่าง ๆ ภาษาเป็นสิ่งไม่คงที่ เพราะภาษาเป็นสมบัตของสังคม ในเมื่อสังคมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ ภาษาจงไดรับ
้
ึ
๘
ั
ผลกระทบนี้ด้วย นักภาษาศาสตร์สังคมที่เฝ้ามองอย่างละเอียดรอบครอบ พบว่า ภาษามักแปรไปตามปัจจย
ต่างๆ ในสังคมที่ใช้ในภาษานั้นๆ เช่น คําว่า “แปร” ตรงกับคําภาษาอังกฤษว่า vary หมายถึง มีรูปแบบ
เบี่ยงเบนออกไปจากรูปเดิม หรือรูปมาตรฐาน แต่ก็ยังมีส่วนที่บ่งบอกได้ว่าเป็นสิ่งเดียวกับรูปเดิม หรือ
ั้
รูปมาตรฐาน เช่น การออกเสียง คําว่า มหาวิทยาลัย ว่า มหาลัย นั้นเป็นตัวอย่างหนึ่งของการแปร คําทงสองมี
ความหมายเดียวกัน แต่ใช้ต่างกันตามปัจจัยทางสังคม ซึ่งอาจเป็นอายุของผู้พูด หรืออาจเป็นความเป็นทางการ
ก็ได้ (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ ๒๕๔๕: ๙)
การแปรของภาษาในแต่ละระบบ ได้แก่
๑. ในระบบเสียง เช่น เสียง ช ในปัจจุบันเกิดจากการแปร คือ มีบางคนออกเสียงเป็น [ch]
แต่บางคนออกเสียงเป็น [sh] เสียง ร ก็เช่นเดียวกัน บางทีเราได้ยินคนออกเสยงเป็นเสยงรัว ซึ่งถือว่า
ี
ี
ี
เป็นมาตรฐาน บางคนออกเป็นเสยงคลายเสียง r ในภาษาอังกฤษ และบางคนก็ออกเป็นสียง ล ซึ่งถือ
้
ว่าไม่มาตรฐาน
๒. ในระบบคําศัพท์ มีการแปรมากโดยเฉพาะระหว่างถิ่นต่าง ๆ เช่น คําว่า ดู ในภาษาไทย
กลาง จะแปรเป็น แล ในภาษาถิ่นใต้ และ เบิ่ง ในภาษาถิ่นอีสาน เป็นต้น
๓. ในระบบวากยสัมพันธ์ สังเกตเห็นการแปรระหว่างรูปประโยค เช่น พูดว่า เขาหั่นเนื้อด้วย
มีด กับ เขาใช้มีดหั่นเนื้อ และ เขาถูกหมากัด กับ หมากัดเขา ดังนี้เป็นต้น
การแปรของภาษาสัมพันธ์กับปัจจัยทางสังคมเสมอ ความจริงข้อนี้ทําให้เกิดการจัดแบ่งประเภทของ
ภาษาเป็นวิธภาษาประเภทต่าง ๆ หรือจัดเป็น ๒ มิติใหญ่ ๆ ได้แก่ ภาษาย่อย และทําเนียบภาษา
๑. ภาษาย่อย เกิดจากการแปรของภาษาตามลักษณะทางสังคมของตัวผู้พูด การทผ ู้
ี่
พูดเป็นผู้หญิง หรือผู้ชาย เป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ เป็นครูหรือนักธุรกิจ ฯลฯ ล้วนแต่กําหนดให้ผ ู้
พูดนั้นใช้ภาษาต่างกันทั้งสิ้น
๒. ทําเนียบภาษา เกิดจากการแปรของภาษาตามปริบทหรือการใช้สถานการณ์ตาง
่
ๆ การใช้ภาษาในห้องประชุม กับในวงเหล้า ถึงแม้จะโดยบุคคลเดียวกันย่อมต่างกัน การใช ้
ภาษามีการโฆษณาและตําราวิชาการมีความแตกต่างที่เห็นได้ชัด
่
กล่าวสรุปได้ว่า การแปรของภาษา หมายถึง การที่ภาษามีรูปแบบเบี่ยงเบนออกไปจากรูปเดิม แตก็ยัง
มีส่วนที่บ่งบอกได้ว่าเป็นสงเดียวกับรูปเดิม โดยการแปรของภาษาจะเกิดจากปัจจัยทางสังคม เช่น ลักษณะทาง
ิ่
้
สังคมของตัวผู้พูด การใชภาษาสถานการณ์ต่าง ๆ
๙
ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงของภาษา
เมื่อเรามองภาษาในช่วงเวลาเดียวเราเห็นว่ามีการแปร ถ้าเรามองภาษาเดียวกันใน ๒ ช่วงเวลานั่นก็คือ
ิ
ถ้าเราเอาภาษาใน ๒ สมัยมาเทียบกันดู เราก็จะเห็นภาษาในสมัยนี้มีความต่างกัน นักภาษาศาสตร์เชงประวัต ิ
ซึ่งศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาไม่เรียกความแตกต่างชนิดนี้ว่าการแปรของภาษา เพราะเขาแยก
ี่
การแปรภาษา จากการเปลยนแปลงของภาษา กล่าวคือ ในการมองภาษาเดียวกันในสมัยนั้นเขาไม่ไดคำนึงว่า
้
มีความแตกต่างอย่างไร แต่มองดูว่าภาษาเดียวกันนั้นมีการวิวัฒนาการต่อเนื่องจากสมัยหนึ่งมายังอีกสมัยหนึ่ง
ุ
อย่างไรเช่น คําว่า อัน ใน สมบัติอันมีค่า พบว่าใช้ในอดีตมากกว่าปัจจบัน ในสรรพนาม ที่เป็นเครื่องหมายของ
คุณานุประโยคในภาษาไทย อาจกล่าวได้ว่า อัน ใช้มากกว่า ที่ ในอดีต และเป็นรูปที่กําลังจะหายไปโดย
ถูกแทนที่ด้วย ที่ ในภาษาไทย
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปราณี กุลละวณิชย์. (๒๕๔๘) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
ภาษาสรุปได้ ดังนี้
๑ . ความแตกต่างของภาษาที่มีอยู่ในสังคม ความแตกต่างของภาษาที่มีอยู่ในชุมชนเดียวกัน
มีความแตกต่างกันในเรื่องต่าง ๆ เช่น เพศ อายุการศึกษา เป็นต้น
ู้
๒ . สภาพทางจิตวิทยาของผู้พูดภาษา สังคมประกอบด้วยชนชั้นหลายชนชั้น ผทอยู่ในชน
ี่
ชั้นต่างๆกันบางชนชั้นต้องการยกระดบตนเองนำไปสู่ชั้นที่สูงกว่าหรือบางชนชั้นก็พอใจในชนช้นของ
ั
ั
ตนเอง ลักษณะความต้องการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นสภาพทางจิตวิทยาซึ่งจะแสดงออกในการใช้ภาษา
เช่น ความนิยมในการใช้เสียงบางเสียงเพื่อแสดงว่าตนอยู่ในกลุ่มคนที่ตนนิยมหรือการขัดขืนไม่ยอม
ออกเสียงบางเสียงตามคนส่วนมากในสังคมเพื่อรักษาศักดิ์ศรีชนชั้นของตน
ั
๓ . ลักษณะการออกเสียงของผู้พูดภาษา ในการพูดนั้นผู้พูดภาษาไม่ได้ออกเสียงชดเจนทก
ุ
พยางค์ทุกคำ บางครั้งก็พูดย่นย่อลดพยางค์ลงเช่น มหาวิทยาลัย เป็น มหาลัย เป็นต้น บางครั้งเมื่อ
เทียบกับพยัญชนะเดี่ยวแล้วเสียงพยัญชนะควบกลำ ก็ออกเสียงยากกว่าผู้พูดจึงไม่ออกเสยงพยัญชนะ
ี
้
เสียงที่ ๒ ในพยัญชนะควบกล้ำ เช่น ปลา ออกเสียงเป็น ปา ทั้งนี้ในการออกเสียงไม่ชัดเจนของคำควบ
กล้ำไม่ได้เป็นปัญหาในการฟังมากนัก เพราะความหมายของคำว่า ปลา ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการออกเสียง
คำควบกล้ำที่ถูกต้องเท่านั้นแต่ต้องขึ้นอยู่กับบริบทด้วยด้วยเหตุนี้ผู้พูดจึงไม่จำเป็นต้องออกเสียง
ชัดเจนทุกครั้ง จึงเป็นผลทำให้ผู้พูดขาดความระมัดระวังในการออกเสียงอันทำให้เกิดการเปลยนแปลง
ี่
มากขึ้น
๑๐
ั
๔. ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการนับว่ามีสวนสำคญ
่
เป็นอย่างยิ่งที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนแปลงทางความหมาย คือ วัตถุอย่างหนึ่งอาจ
มีการดัดแปลงไปตามความเจริญทางวิทยาการ ในขณะที่คำทใช้แทนวัตถุนั้นไม่เปลี่ยน ดงนั้นในเวลา
ั
ี่
ที่ต่างกันคำคำเดียวกันแทนของสองสิ่งที่ไม่เหมือนกันหรืออาจพูดได้ว่าความหมายของคำเปลยนแปลง
ี่
ไป เช่น สมัยที่ยังไม่มีน้ำอัดลม คำว่า “น้ำ” หมายถึง น้ำดื่มตามธรรมชาติ แตปัจจุบันหมายรวมถึง
่
น้ำอัดลมก็ได้ เช่นประโยคที่ว่า “จะดื่มน้ำอะไรครับ”
๕. คุณสมบัติของภาษา นักภาษาศาสตร์โครงสร้างพูดถึงคุณสมบัติของภาษาอย่างหนึ่ง
คือ ความสมมาตรในภาษาซึ่งระบบเสียงในภาษาจะแสดงลักษณะนี้โดยทั่วไป เช่น ถ้ามีเสียงสระหน้าก็
ี่
มีเสียงสระหลังคู่กันไปถามีเสียงสูงก็มักจะมีเสียงตาง ดังนั้นเมื่อเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทมีผลทำให้เกิด
่
้
ลักษณะไม่สมมาตรในภาษาจะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องซึ่งจะทำให้เกิดผลในลักษณะ
สมมาตรขึ้นใหม่ นอกจากในเรื่องคุณสมบัติความสมมาตร ภาษายังมีลักษณะความประหยัดด้วย
กล่าวคือโดยทวไปภาษาจะไม่อนุญาตให้มี ๒ รูป ที่มีความหมายเหมือนกันทุกประการ เมื่อมีการยืมคำ
ั่
เข้ามาในภาษาและคำคำนั้นมีความหมายเหมือนกับคำที่มีอยู่เดิมหรือคำ ที่ยืมเข้ามาจะต้องมีการ
้
เปลี่ยนแปลงดานความหมาย เพื่อให้คงอยู่ในภาษาไดทั้งคู่ เช่น คำว่า “ย่าง” ซึ่งแตเดมมีความหมาย
ิ
่
้
ว่า เดิน ได้เปลี่ยนมามีความหมายว่า “เคลื่อนเข้าสู่ และใช้กับเวลา เช่น ย่างเข้าสู่ปีที่ ๗” ความหมาย
ที่เปลี่ยนแปลงไปของคำว่า ย่าง ในภาษาไทยมาตรฐานนี้น่าจะเกิดขึ้นเมื่อมีการยืมคำว่า “เดิน” ซึ่งมา
จากภาษาเขมรเข้ามาใช้นั่นเอง
๖. การเปลี่ยนแปลงภาษาเนื่องจากการยืมคำภาษาต่างประเทศ นักภาษาศาสตร์ที่ศึกษา
เกี่ยวกับเรื่องคำยืม เห็นว่าคำยืมภาษาต่างประเทศที่เข้ามาใช้สื่อสารร่วมกันในภาษาไทยสามารถทำให้
้
้
ภาษาเปลี่ยนแปลงได้มากทั้งดานเสียง คำและโครงสร้างประโยค เราจึงสามารถสรุปไดว่าการยืมเป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาเกิดการเปลยนแปลงไป
ี่
์
๗. ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงเพราะภูมิศาสตร ตัวอย่างการออกเสียง เช่น ภาษาไทยถิ่นใต ้
มีภูมิศาสตร์อยู่ใกล้ทะเล ลมแรง ฝนตกชุก ฉะนั้นจำเป็นจะต้องเปล่งเสียงแข่งกับลมและฝนจึงนิยม
ออกเสียงสั้นและจะเน้นพยางค์หลังให้ชัดเจน จึงมักเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสูง เช่น ตลาด
ออกเสียงเป็น ล้าด ถนน ออกเสียงเป็น น่น เป็นต้น
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ธวัช ปุณโณทก (๒๕๕๓: ๑๗-๒๒) ได้อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงภาษาหรือวิวัฒนาการภาษา
้
ี่
ื่
ไว้ว่า ภาษาเป็นเครื่องมือทมนุษย์ใชสอสารซึ่งกันและกัน ฉะนั้นจึงเกิดการเปลยนแปลงอยู่เสมอไม่ว่า
ี่
ื่
ภาษาใด และภาษาที่ใช้สื่อสารกันจะมีการเปลี่ยนแปลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการใชสื่อสารว่าสอสาร
้
๑๑
บ่อยครั้งเพียงใด นอกจากนี้การรับวัฒนธรรม ศาสนา หรือมีอาณาเขตติดต่อกันก็ย่อมทำให้ภาษา
้
เปลี่ยนแปลง อันเนื่องมาจากการปนภาษาได และได้อธิบายถึงทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
(Rule of Language Change) ตามทฤษฎีของนักภาษาศาสตร์ไว้ดังนี้
๑. การเปลี่ยนแปลงภายใน (Internal Change) การเปลี่ยนแปลงภายใน หมายถึง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง หน่วยคำ หน่วยเสียงของภาษานั้น ๆ ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาต ิ
และอิทธิพลของภาษานั้น ๆ ไม่ได้รับอิทธิพลจาก ภาษาอื่นเข้ามาปะปน การเปลี่ยนแปลงภายในของ
ภาษาทั่วไปมี ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑.๑ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียง (Sound Change) คือ การเปลี่ยนแปลงหน่วย
เสียงของคำให้ต่างไปจากเดิมโดยเจตนา หรือไม่เจตนาก็ตาม เป็นผลให้คำคำนั้นออกเสียง
เพี้ยนไป ต่างไปจากเสียงเดิมหลายกรณี เช่น
๑.๑.๑ การลดเสียง หรือเสียงกร่อน หรือเสียงหาย
๑.๑.๒ การเพิ่มเสียง
๑.๑.๓ การสับเสียง
๑.๑.๔ การชดเชยเสียง
ี่
การเพิ่มเสียงและการลดเสียง จะพิจารณาถึงหน่วยเสียง สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ท หายไป
หรือเพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงเป็นหน่วยเสียงอื่น ๆ เช่น เสียง /ญ/ นาสิก เหมือนชาวอีสาน
ชาวเหนือออกเสียงคำว่า /ญาก/ /แม่ญิง/ ซึ่งยังคงเสียง /ญ/ นาสิกไว้ แต่คนไทยภาคกลาง
ออก เสียงเป็นเสียงเดียวกับ /ย/
ณัฐวรรณ ชั่งใจ (๒๕๕๕ : ๗๙-๘๕) ได้กล่าวถึงขบวนการเปลี่ยนแปลงภาษาด้าน
เสียงในภาษาไทยมีหลายลักษณะ ดังนี้
๑. การกลมกลืนเสียง คือ การที่เสียงเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมหรือไปตามเสียง
ี
ข้างเคียง หลังจากการเปลี่ยนแปลงเสียงทเปลยนไปจะมีความคล้ายคลึงกับเสยงข้างเคยงใน
ี
ี่
ี่
บางกรณีก็เหมือนกันถ้าเปลี่ยนไปแล้วคล้ายคลึงกันก็เรียกว่า การกลมกลืนละม้าย ถ้า
เปลี่ยนไปแล้วเสียงที่เปลี่ยนเหมือนกับเสียงข้างเคียงทุกประการ เรียกว่า การกลมกลน
ื
สมบูรณ์ เช่น กันไตร เปลยนเสียงเป็น กรรไกร (เป็นขบวนการที่แพร่หลายมากกว่าขบวนการ
ี่
ทางเสียงด้านอื่น ๆ)
๒. การผลักเสียง เป็นขบวนการเปลี่ยนแปลงเสียงที่ตรงข้ามกันกับการกลมกลืนเสยง
ี
กล่าวคือ หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว เสียงที่เปลี่ยนไปจะเหมือนกับเสียงข้างเคียง
น้อยลงหรือกลายเป็นเสียงทต่างออกไปจากเสียงใกล้เคียง การเปลี่ยนแปลงเสียงชนิดนี้ไม่เกิด
ี่
๑๒
แพร่าหลายเหมือนกับการกลมกลืนเสียงและลักษณะอีกอย่างหนึ่งของการผลักเสียงที่ต่าง
ี
จากการกลมกลืนเสียง คือ มีเสียงบางชนิดเท่านั้นที่เกิดการผลักเสียงได้ เช่น เสียงเหลว เสยง
นาสิก และเสียงประเภทที่เกี่ยวข้องกับเส้นเสียงทั้งหลาย เช่น เสียงช่องคอ เสียงลม
๓. การสับที่เสียง คือ การเปลี่ยนแปลงของเสียงในคำ บางครั้งก็เกิดขึ้นโดยเสียงใน
คำสับเปลี่ยนตำแหน่งกันการเปลี่ยนแปลงในลักษณะนี้อาจเกิดเฉพาะกับคำบางกลุ่ม แต่ใน
บางภาษาก็เป็นการเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งภาษา หมายความว่า เมื่อใดก็ตามที่มีเสียง ๒ เสียง
ชนิดใดชนิดหนึ่งเกิดร่วมกันในคำ ๆ เดียวจะเกิดการสับที่เสียงกัน เช่น
ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยอีสาน (บางถิ่น)
ตะไกร กะไต
ตะกรุด กะตุด
ตะกร้า กะต้า
จำกัด กำจัด
๔. การลดเสียง (เสียงหาย) คือ การลดเสียง หรือเสียงหายไป หมายถึงการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเสียงของคำ คือเสียงจะหดสั้น หรือหดหาย แต่ความหมายของคำนั้น
ยังคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลงความหมายเพราะว่าการเปลี่ยนแปลงของความหมาย และ
ู
การเปลี่ยนแปลงทางเสียงนั้น มีขั้นตอนและกระบวนการเปลี่ยนแปลงไม่เกี่ยวเนื่องผกพันกัน
ดร.วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ ได้อธิบายไว้ในหนังสือภาษาและภาษาศาสตร์ว่า “ในการ
ู
เปลี่ยนแปลงเสียงและความหมายไม่มีความผกพันกัน ความหมายจะเปลี่ยนไปโดยเสยงยังคง
ี
เดิม หรือเสียงอาจจะเปลี่ยนไปโดยความหมายยังคงเดิม” ฉะนั้นในการศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงทางเสียงของคำในครั้งนี้ จะยึดความหมายเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา กล่าวคือ
คำใดมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเสียงแต่ความหมายยังคงเดิมจะนำมาวิเคราะห์ดูว่ามี
กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างไร มีรูปแบบอย่างไร แล้วจัดเป็นกลุ่ม ๆ ที่มีลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงทางเสียงเหมือนกัน และอธิบายลักษณะการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ตามแนวของ
ภาษาศาสตร์
จากการศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ดูการเปลี่ยนแปลงทางเสียงของภาษาไทย
จะพบว่าคำที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเสียงมาก ได้แก่ กลุ่มคำที่ใช้ในการสื่อสาร สื่อความหมาย
กันในชีวิตประจำวันและโอกาสที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเสียงนั้นเกิดจากการพูด
(ภาษาพูด) ส่วนภาษาเขียนนั้นไม่มีโอกาสที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ในขณะที่พูดคน
ั
มักจะปล่อยเสียงออกมาตามสบายแล้วแตลิ้นจะพาไป ไม่ค่อยระวังบังคับให้ออกเสยงชดถ้อย
่
ี
๑๓
ี
ชัดคำนานๆ เสียงของคำจะหดสั้นเกิดเป็นเสียงกร่อน การลดเสียงนั้นคนเรามักจะลดเสยงกัน
โดย ไม่ได้ตั้งใจ เพียงแต่ต้องการให้ผู้ฟังเข้าใจเท่านั้น จึงมักจะเน้นบางเสียง บางตอน ส่วน
เสียงที่ไม่ได้เน้น หรือตอนที่ไม่ได้เน้น จะท าให้เสียงหายไปโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น เถิด-เถอะ
่
อย่าเพิ่ง-อย่าเพอะ ลูก-ลุ,โละ(ใต้) ลักษณะนี้เป็นการลดเสียงหลังคำ การลดเสียงนั้นสวนใหญ่
ื
จะพบว่ามีการลดเสียงกลางคำมากกว่าลักษณะอื่นๆ เช่น ฉันนั้น-ฉะนั้น ฉันนี้-ฉะนี้ คอ
ลดเสียง /น/ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่าลดเสียงกลาง หรือ ลดเสียงกลางคำ ส่วนลดเสียง
หน้าคำนั้นมีปรากฏน้อยมาก และมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ซับซ้อน เช่น หรือไม่–ไหม-มะ
ซึ่งมีการเปลี่ยนระดับเสียงวรรณยุกต์ด้วย
๕. การเพิ่มเสียงของคำในภาษาไทย คือ การเปลี่ยนเปลี่ยนทางด้านเสียงของคำอีก
ลักษณะหนึ่งก็คือ การเพิ่มเสียงของคำซึ่งเป็นปรากฏการณ์โดยทั่วไปของคำในภาษาไทย
ี
กล่าวคือ คำใดที่ออกเสียงไม่สะดวกนักมักจะมีการเปลี่ยนแปลงเสียงของคำเพื่อให้ออกเสยง
ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น โดยเฉพาะคำที่มี ๒ พยางค์ขึ้นไปและพยางค์หน้ามีเสียงพยัญชนะ
ิ
อุบ อโฆษะ สถิล ฐานกรณ์เพดานอ่อน เช่น /ก/ การออกเสียงอยู่กลางคำของพยัญชนะ
ประเภทนี้ลำบาก ออกเสียงบาก ฉะนั้นเวลาพูดคนมักจะออกเสียงต่อเนื่องกัน คือแทรกเสยง
ี
กะ กลางคำ เช่น ตกใจ – ตกกะใจ ตุ๊กตา – ตุ๊กกะตา นกยาง – นกกะยาง ลูกตา – ลูกกะตา
เป็นต้น ลักษณะเช่นตัวอย่างที่ยกมานั้นจะเห็นว่าขณะที่ออกเสียงนั้นมีเสียงกลางเพิ่มขึ้นมา
ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียงของคำทเรียกว่า “การเพิ่มเสียงของคำ” แต่ความหมาย
ี่
ของคำเหล่านั้นหาได้มีการเปลี่ยนแปลงไม่ ส่วนคำที่เป็นพยางค์เดียว ขณะที่ออกเสียงจะมี
ความรู้สึกว่าเสียงห้วนไป สั้นไป จึงมีการเติมหน่วยคำที่ไม่มีความหมายลงไปข้างหน้า
่
้
คำคล้ายๆ กับการเติมอุปสรรคแตเป็นอุปสรรคไม่ได้หรือจัด อยู่ในกลุ่มอุปสรรคไม่ได เพราะ
คำที่ไม่มีความหมายเหล่านี้เมื่อเติมอยู่หน้าคำนั้นไม่ได้แสดงความหมายใด ๆ หรือช่วยให้
คำเดิมนั้นมีหน้าทในประโยคเปลยนไป ฉะนั้นจะจัดอยู่ในพวกคำอุปสรรคจงไม่น่าจะถูกตอง
ึ
้
ี่
ี่
ตัวอย่างเช่น โดด – กะโดด, กระโดด เดี๋ยว – ประเดี๋ยว โจน – กะโจน, กระโจน เอว –
กะเอว, กระเอว กา – อีกา เก้ง – อีเก้ง ฯลฯ สังเกตได้ว่าคำเหล่านี้ก่อนเติมเสียงหน้า และ
ิ
เมื่อเตมเสียงหน้า (หน่วยคำที่ไม่มีความหมาย) ความหมายของคำ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
และหน้าที่ของคำตามไวยากรณ์ ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งสิ้น ฉะนั้นลกษณะเชนนี้จง
ึ
่
ั
ื
จัดอยู่ในการเพิ่มเสียงของคำ ชนิดการเพิ่มเสียงหน้าคำ การเพิ่มเสียงยังมีอีกลักษณะหนึ่ง คอ
เพิ่มหน่วยคำที่ไม่มีความหมายลงไปท้ายคำ เพื่อสะดวกในการออกเสียงและเพื่อคล้องจอง
(บางกรณี) ซึ่งนักไวยากรณ์ไทยมักจะเรียกคำประเภทนี้ว่า “คำอุทานเสริมบท หรือ คำอุทาน
๑๔
สร้อยบท” แต่ถ้าเราพิจารณาในด้านการเปลี่ยนแปลงเสียงของคำแล้วก็น่าจะสรุปได้ว่าเป็น
การเพิ่มเสียงอย่างหนึ่ง แบบหนึ่ง คือการเพิ่มเสียงท้ายคำ ตัวอย่างเช่น วัด – วัดวา(อาราม)
ส่วย – ส่วยสา(อากร) รบ – รบรา (ฆ่าฟัน) สี – สีสัน (วรรณ) ฯลฯ ลักษณะการเพิ่มเสียงทาย
้
คำดังตัวอย่างทยกมานั้นถ้าเราพิจารณาทางดานความหมายจะพบว่า ความหมายของคำนั้น
ี่
้
ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ กล่าวคือ ก่อนเพิ่มเสียงท้ายคำและหลังจากเพิ่มเสียงท้ายคำแลว
้
ความหมายของคำเหล่านั้นยังคงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ฉะนั้นจึงจัดอยู่ในกลุ่มลักษณะการ
เพิ่มเสียงท้ายคำ
๑.๒. การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์ (Vocabulary Change) คือ หน่วยคำ
ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยมีความหมายเปลี่ยนไป หรือมีคำอื่นมาใช้แทนที่ความหมายบางส่วน
หรือแทนที่ความหมาย จนหมดคำเหล่านั้นจะเลิกใช้ในที่สุด เช่น คำว่า “พี” (หมายถึงอ้วน)
ปัจจุบันมีคำว่า “อ้วน” มาแทนที่ความหมาย จนคำว่า พี ไม่มีใครใช้พูดจากัน นอกจากใช ้
เป็นคำซ้อนว่า “อ้วนพี” แต่หากพิจารณาคำในสมัยสุโขทัย พบว่าในไตรภูมิพระร่วงได ้
กล่าวถึงผู้คนใน อุตตรกุรุทวีป ว่า “...บ่มิพี บ่มิผอม” แสดงว่าในสมัย สุโขทัยใช้คำว่า พี
ั
ั
ิ
และเมื่อพิจารณาภาษาไทยถ่นท้งภาคเหนือ อีสาน และภาคใต้ พบว่าท้ง ๓ ภาค ยังใช้คำว่า
พี ไม่นิยมใช้คำว่า อ้วน
๑.๓ การเปลี่ยนแปลงทางด้านความหมาย (Semantic Change) คือ ความหมาย
ของคำเปลี่ยนแปลงไป แต่เสียงของคำยังคงเดิม การเปลี่ยนแปลงความหมายนี้ไม่มีการผูกพัน
กับ เสียง นั่นคือ เสียงคงที่แต่ความหมายเปลี่ยนไป โดยทั่วไปนักภาษาศาสตร์จะศกษาการ
ึ
เปลี่ยนแปลง ความหมาย ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑.๓.๑ ความหมายแคบเข้า
๑.๓.๒ ความหมายกว้างออก
ี่
๑.๓.๓ ความหมายย้ายท
๒. การเปลี่ยนแปลงภายนอก (External Change) คือ การเปลี่ยนแปลงที่ได้รับอิทธิพล
่
่
จากภาษาอื่นที่มีความสัมพันธ์สืบทอดวัฒนธรรมกันมาแต สมัยโบราณ ภาษาที่มีอิทธิพลตอภาษาไทย
มาแต่สมัยอดีต ได้แก่ ภาษาบาลี สันสกฤต และภาษาเขมร ส่วนในปัจจุบันภาษาอังกฤษมีอิทธิพล
ต่อภาษาไทยมาก เพราะชาติตะวันตก มีความเจริญด้านวิทยาศาสตร์ ด้านการแพทย์ ด้านการศึกษา
และด้านวิทยาการสมัยใหม่ นักวิชาการที่ศึกษาวิทยาการจากตะวันตกจึงมักนำคำภาษาอังกฤษเข้ามา
ใช้ปะปนกับภาษาไทย ทั้งคำศัพท์ทางวิชาการและศัพท์ทั่วไป นอกจากนี้คนไทยรุ่นใหม่มักพูด
ภาษาอังกฤษปนกับภาษาไทย อันเป็นสาเหตให้มีคำภาษาอังกฤษเข้ามาปะปนมากขึ้น เช่น อีเมล
ุ
๑๕
อินเทอร์เน็ต ดิจิทัล ฯลฯ การที่ภาษาต่างประเทศเข้ามามีอิทธิพลต่อภาษาไทย อันเป็นผลให้ภาษาไทย
เปลี่ยนแปลง ทั้งคำศัพท์ และไวยากรณ์ นักภาษาศาสตร์เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงภายนอก ซึ่งจะสรุป
้
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายนอกได ดังนี้
๒.๑ การยืมคำ คือการนำคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย โดยปรับเสียง
ใเหมาะสมกับภาษาไทยบ้างเปลี่ยนแปลงความหมายบ้าง คำยืมที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา
ภาษาไทย ได้แก่
๒.๑.๑ คำภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต
๒.๑.๒ คำภาษาเขมร
๒.๑.๓ คำภาษาอังกฤษ
๒.๑.๔ คำภาษาจีน
๒.๑.๕ คำภาษาอื่น ๆ
๒.๒ การเปลี่ยนแปลงทางด้านไวยากรณ์ (Grammar Change) คือการเปลี่ยนแปลง
ื
ระบบโครงสร้างของภาษาไทย ซึ่งส่วนใหญ่จะเปลี่ยนแปลงระบบการสร้างคำ นั่นคอ
คำยืม ภาษาต่างประเทศที่เข้ามามีอิทธิพลต่อระเบียบไวยากรณ์ ได้แก่ ภาษาบาลีสันสกฤต
ภาษาเขมร และภาษาอังกฤษ ซึ่งคำยืมภาษาบาลีสันสกฤตนั้นได้นำวิธีการสร้างคำมาเป็น
์
ส่วนหนึ่งของไวยากรณ ไทยด้วย คือ คำสมาส และ การสนธิ ส่วนคำยืมภาษาเขมรนั้นก็ได
้
นำวิธีการสร้างคำแบบภาษาเขมร เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของไวยากรณ์ไทย เรียกว่า คำแผลง
๓. การเปลี่ยนแปลงด้านตัวอักษร (Palaeographic Change) อักษรไทย เป็นหัวข้อหนึ่ง
ในการศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของภาษาไทย แต่นักภาษาศาสตร์จะ ไม่ให้ความสำคัญเรื่องตัวอักษร
เหมือนกับภาษาพูด เพราะเห็นว่าตัวอักษรของชาติต่าง ๆ นั้นผันเสียง ได้ไม่ตรงกับเสียงพูด จึงคด
ิ
สัญลักษณ์แทนเสียงพูดขึ้นมาใหม่ เรียกว่า “สัทอักษร” และเห็นว่า มีประสิทธิภาพในการ
จดบันทึกเสียงพูดได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม การศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของภาษาไทยตามทฤษฎี
้
การเปลี่ยนแปลงทางด้าน ภาษาดังกล่าวข้างตนไม่ได้ครอบคลุมถึงวิวัฒนาการของภาษาไทยโดยรวม
ถ้าไม่ได้กล่าวถึงเรื่อง วิวัฒนาการอักษรไทย เพราะภาษาพูดและภาษาเขียน (ในที่นี้หมายถึง ตัวอักษร)
ของไทยนั้นได้มี พัฒนาการควบคู่กันเสมอมาทุกยุคทุกสมัย อีกประการหนึ่ง ตัวอักษรคือลายเส้นขีด
เขียนเป็นรูป สัญลักษณ์ใช้สื่อความหมายแทนเสยงพูด ซึ่งคนในสังคมนั้นยอมรับและเข้าใจความหมาย
ี
ของสัญลักษณ์ตรงกัน ฉะนั้นภาษาพูดและภาษาเขียนของไทยจึงมีวิวัฒนาการเกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกัน
กล่าวสรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของภาษาเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของภาษา
โดยเฉพาะภาษาพูดที่ใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน ซึ่งภาษาดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงมากบ้างน้อย บ้าง
๑๖
ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง ด้านคำ ด้านความหมาย เป็นต้น นอกจากการ
ี่
ี่
เปลยนแปลงภายในแล้ว ยังมีการเปลี่ยนแปลงภาษาทเกิดจากปัจจยภายนอก เช่น ด้านภูมิศาสตร์ ด้านศาสนา
ั
ด้านเทคโนโลยี เป็นต้น ซึ่งปัจจัยนี้ทำให้เกิดการยืมภาษาขึ้นนั่นเอง การศึกษาการเปลี่ยนแปลงภาษานั้น
หากผู้ศึกษาต้องการศึกษาเปรียบเทียบย้อนไปถึงอดีต คงเป็นไปไม่ไดที่จะได้ศึกษาจากเสียงพูด เพราะไม่มี
้
หลักฐานใดที่จะสืบสาวได้เลย
ภาษาในสมัยอยุธยา
สำเนียงดั้งเดิมของกรุงศรีอยุธยามีความเชื่อมโยงกับชนพื้นเมืองตั้งแต่ลุ่มน้ำยมทเมืองสุโขทัยลงมาทาง
ี่
ลุ่มน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกในแถบสุพรรณบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี ซึ่งสำเนียงดังกล่าว มีความใกล้ชิดกับสำเนียง
หลวงพระบาง โดยเฉพาะสำเนียงเหน่อของสุพรรณบุรีมีความใกล้เคียงกับสำเนียงหลวงพระบาง
่
ซึ่งสำเนียงเหน่อดังกล่าวเป็นสำเนียงหลวงของกรุงศรีอยุธยา ประชาชนชาวกรุงศรีอยุธยาทั้งพระเจ้าแผนดิน
จนถึงไพร่ฟ้าราษฏรก็ล้วนตรัสและพูดจาในชีวิตประจำวัน ซึ่งปัจจุบันเป็น ขนบอยู่ในการละเล่นโขนที่ต้องใช ้
สำเนียงเหน่อ โดยหากเปรียบเทียบกับสำเนียงกรุงเทพฯในปัจจุบันนี้ ที่ในสมัยนั้นถือว่าเป็นสำเนียงบ้านนอก
ถิ่นเล็ก ๆ ของราชธานีที่แปร่งและเยื้องจากสำเนียงมาตรฐานของกรุงศรีอยุธยาและถือว่าผิดขนบธรรมเนียม
์
ภาษาดั้งเดิมของกรุงศรีอยุธยาปรากฏอยู่ในโองการแช่งน้ำ ซึ่งเป็นร้อยกรองที่เต็มไปด้วยฉันทลกษณท ี่
ั
แพร่หลายแถบแว่นแคว้นสองฝั่งลุ่มแม่น้ำโขงมาแต่ดึกดำบรรพ์ และภายหลังได้พากันเรียกว่า โคลงมณฑกคต ิ
เนื่องจากเข้าใจว่าได้รับแบบแผนมาจากอินเดีย ซึ่งแท้จริงคือโคลงลาว หรือ โคลงห้า ที่เป็นต้นแบบของโคลงดั้น
และโคลงสี่สุภาพ โดยในโองการแช่งน้ำเต็มไปด้วยศัพท์แสงพื้นเมืองของไทย-ลาว ส่วนคำที่มาจาก
บาล-สันสกฤต และเขมรอยู่น้อย โดยหากอ่านเปรียบเทียบก็จะพบว่าสำนวนภาษาใกล้เคียงกับข้อความใน
ี
จารึกสมัยสุโขทัย และพงศาวดารล้านช้าง
้
้
ด้วยเหตุที่กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ใกลทะเลและเป็นศูนย์กลางการคานานาชาติทำให้สังคมและวัฒนธรรม
เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ต่างกับบ้านเมืองแถบสองฝั่งโขงที่ห่างทะเลเป็นเหตุที่ทำให้มีลักษณะที่ล้าหลังจง
ึ
สืบทอดสำเนียงและระบบความเชื่อแบบดั้งเดิมไว้ได้เกือบทั้งหมด ส่วนภาษาในกรุงศรีอยุธยาก็ไดรับอิทธิพล
้
ของภาษาจากต่างประเทศจึงรับคำในภาษาต่างๆมาใช้ เช่นคำว่า กุหลาบ ที่ยืมมาจากคำว่า กุล้อบ
้
ในภาษาเปอร์เซีย ที่มีความหมายเดิมว่า น้ำดอกไม้ และยืมคำว่า ปาดรื (Padre) จากภาษาโปรตุเกส แลว
ออกเสียงเรียกเป็น บาทหลวง เป็นต้น
กล่าวสรุปได้ว่า ภาษาในสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมากเนื่องจาก
กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ใกล้ทะเลและเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาต ได้มีการยืมคำจากประเทศต่าง ๆ มาใช ้
ิ
มากมายมีการพูดคุยกันโดยใช้สำเนียงเหน่อซึ่งเป็นสำเนียงหลวงของกรุงศรีอยุธยา หากเปรียบเทียบกับสำเนียง
๑๗
กรุงเทพฯ ในปัจจุบันนี้ในสมัยนั้นถือว่าเป็นสำเนียงบ้านนอกถิ่นเล็ก ๆ ของราชธานีที่แปร่งและเยื้องจาก
สำเนียงมาตรฐานของกรุงศรีอยุธยา
ความรู้เกี่ยวกับละครทั้ง ๓ เรื่อง
เรื่อง บุพเพสันนิวาส
(วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี) ได้ให้ความหมายของ “บุพเพสันนิวาส” ไว้ว่า บุพเพสันนิวาส เป็น
ละครรักที่อิงประวัติศาสตร์ ช่วงรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ สร้างจากบทประพันธ์ของรอมแพง
ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ สร้างโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด ผู้สร้างละคร
เห็นว่า นวนิยาย เนื้อเรื่องโดดเด่น สนุกสนาน ทำให้เห็นความแตกต่างระหว่างยุค ยังมีเรื่อง
ิ
ิ
รักโรแมนติก บวกกับการได้เจอประวัตศาสตร์มีชีวิต ผ่านการใช้ชีวิตกับบุคคลในประวัตศาสตร์ยุคนั้น
และยังได้เปิดลงโหวตว่า อยากให้นำนวนิยายเรื่องใดมาสร้างเป็นละคร ผลปรากฏว่าเรื่องนี้เป็นอันดบ
ั
หนึ่ง จากนั้นได้ผู้เขียนบทคือ ศัลยาหรือ ศัลยา สุขะนิวัตติ์ ที่เคยเขียนบทละครดังอาทิ นางทาส,
คู่กรรม, ดอกส้มสีทอง, ดอกโศก, แค้นเสน่หา, ภาพอาถรรพณ์ และ ทรายสีเพลิง นอกจากนั้นยังเคย
เขียนบทละครย้อนยุคอย่าง รัตนโกสินทร์ และ สายโลหิต ศัลยาออกปากว่าเป็นบทที่ยากมาก เพราะ
ถึงจะมีโครงบทประพันธ์ แต่ผู้เขียนบทต้องไปศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และเกร็ดประวัติศาสตร์
ต่าง ๆ ทั้งบทสนทนา ทำให้ละครมีเนื้อเรื่องที่ยาวกว่าหนังสือเสียอีก หลายตัวละครในเรื่อง มีตัวตน
จริงในประวัติศาสตร์ แต่จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ก็มีเพียงเค้าโครงเท่านั้น ศัลยาจึงกำหนดขึ้นเอง
ให้สอดคลอง ตราบเท่าทมีข้อมูล ส่วนที่ยากอีกส่วนคือ ในการเขียนบทละคร คือ การวางฉาก คำพูด
ี่
้
การแก้ปัญหาความขัดแย้งในละคร กว่าจะเป็นบทละครเรื่องนี้ ต้องเขียนตั้งถึงร่างท ๗ ซึ่งเป็นร่าง
ี่
้
สุดท้าย โดยใช้เวลาเขียนบทละครนาน ๒ ปี และใชเวลาถ่ายทำนาน ๒ ปี และเพื่อความสมจริงทาง
ประวัติศาสตร์ ก็ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาคือ เผ่าทอง ทองเจือ และ วิโรจน์ ศรีสิทธิ์เสรีอมร
ิ
ออกอากาศตอนแรกเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เป็นละครแนวรักข้ามภพข้ามชาต
(time travel romance) นำแสดงโดย ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ และราณี แคมเปน เป็นเรื่องราวของ
เกศสุรางค์นักโบราณคดีสาวร่างอ้วนแต่มีจิตใจดี ได้ประสบอุบัติเหตุรถยนต์พลิกคว่ำจนเสียชีวิต
ขณะเดินทางกลับจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แต่เกิดปาฏิหาริย์ทำให้ดวงวิญญาณย้อนกลับไป
ในปี พ.ศ. ๒๒๒๕ อันเป็นรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมื่อเกศสุรางค์ฟื้นขึ้นมาก็พบว่า
ตนเองอยู่ในร่างของแม่หญิงการะเกดหญิงสาวงดงามแต่มีจิตใจชั่วร้าย คู่หมั้นของหมื่นสุนทรเทวา
เกศสุรางค์ต้องเรียนรู้การใช้ชีวิตที่แตกต่างจากปัจจุบันและได้พบกับบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์
ประเทศไทย อาท คอนสแตนติน ฟอลคอน มารี เดอ กีมาร์ ออกญาโกษาธิบดี (ปาน)
ิ
๑๘
ออกญาโกษาธิบดี (เหล็ก) พระเพทราชา ออกญาโหราธิบดี และศรีปราชญ์ เป็นต้น ระหว่างนั้น
ความรักระหว่างเกศสุรางค์ในร่างของแม่หญิงการะเกดกับหมื่นสุนทรเทวาได้ก่อตัวขึ้นอย่างช้า ๆ
แต่ทั้งคู่ก็ยังปากแข็งไม่ยอมรับ จนกระทั่งวันหนึ่งวิญญาณของเกศสุรางค์มีเหตุต้องหลุดออกจากร่าง
้
ั
ของการะเกดหมื่นสุนทรเทวาสวดมนต์กฤษณะกาลี เพื่อเรียกวิญญาณเธอให้กลบเขาร่างอีกครั้งทำให้
ทั้งสองได้กลับมาครองรักกันด้วยอำนาจแห่งบุพเพสันนิวาส
กรรมการผู้จัดการบริษัท บรอดคาซท์ไทย เทเลวิชั่น จำกัด ผู้ผลิตละครเรื่อง บุพเพสนนิวาส
ั
กล่าวว่า ประเทศจีนได้ซื้อลิขสิทธิ์ละครเพื่อนำไปผลิตใหม่เป็นละครโทรทัศน์ในประเทศจีน นอกจากนี้
ยังมีอีก ๔ ประเทศที่ให้ความสนใจ ได้แก่ เวียดนาม ฮ่องกง รัสเซีย และเกาหลีใต้ละครเรื่องนี้ได ้
ั
ถ่ายทอดเอกลกษณ์ วัฒนธรรมไทย ประวัติศาสตร์ อาหารไทยและผ้าไหมไทย ที่งดงามให้ชาวโลก
้
ั
ได้เห็นผ่านตวละครไดอย่างเป็นที่น่าประทบใจสอดคล้องกับสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี
ั
ในสมัยนั้น ที่ต้องการเห็นผู้ผลิตละครไทยนำวัฒนธรรมมาผสมผสานในเนื้อหาละคร เพื่อให้เกิดการ
ต่อยอดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และเกิดกระแส “ตามรอยละคร” หรือการเดินทางท่องเที่ยวไปในสถานท ี่
ที่อยู่ในฉากละครโทรทัศน์ หรือสถานที่ที่ใช้สำหรับถ่ายทำละครที่ตนเองสนใจเหมือนกับละครของ
เกาหลีใต้ เรื่อง แดจังกึม
เรื่อง บางระจัน
(วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี) ได้ให้ความหมายของ “บางระจัน” ไว้ว่า บางระจัน เป็นละคร
โทรทัศน์ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง๓ สร้างจากวรรณกรรมอมตะของไม้
เมืองเดิม โดยก่อนหน้านี้เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ.๒๕๐๙ ในชื่อ ศึกบางระจัน
สร้างเป็นละครครั้งแรก ในปีพ.ศ. 2523 ดำเนินงานสร้างโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง กำกับ
การแสดงโดย วรยุทธ พิชัยศรทัต บทโทรทัศน์โดย สะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ กำกับรายการโดยมี
ศักดิ์ นาครัตน์ ออกแบบ-สร้างฉากโดยฉลอง เอี่ยมวิไล ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา ๒๐.๔๐ น.
ออกอากาศครั้งแรกวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๒๓ และเมื่อในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้นำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้ง
สร้างโดยบริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด กำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ อำนวยการผลิต
โดย อรุโณชา ภาณุพันธุ์ ออกอากาศทุกวันจันทร์ – อังคาร เวลา ๒๐.๑๕ – ๒๒.๔๕ น.
เรื่อง ขุนศึก
(วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี) ได้ให้ความหมายของ “ขุนศึก” ไว้ว่า ขุนศึก เป็นผลงานประพันธ์
ั
เรื่องสุดท้ายของไม้ เมืองเดิม ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ในนิตยสารเพลินจิตรายสปดาห์ โดย
ใช้เวลาเพียงสองปีเศษในการสร้างสรรค์งานเขียนชิ้นนี้ก่อนเสียชีวิตในวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
โดยตอนสุดท้ายในการเขียนของไม้ เมืองเดิม ลงตีพิมพ์เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ต่อมา
๑๙
กิ่ง พึ่งบุญ ณ อยุธยา น้องชายของไม้ เมืองเดิม ได้เขียนเรื่องขุนศึกจนเสร็จสมบูรณ์โดยใชนามปากกา
้
"สุมทุม บุญเกื้อ" ภายหลังได้มีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๐๒ และ
ั
ภาพยนตร์ครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมามีการสร้างเป็นละครและภาพยนตร์อีกหลายครั้งสลบกันไป
โดยการสร้างครั้งล่าสุดเป็นละครโทรทัศน์ ฉายทางช่อง ๓ ใน พ.ศ. ๒๕๕๕
๒๐
บทที่ ๓
วิธีดำเนินการ
ในการทำโครงงานเรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยามาเปรียบเทียบกับคำที่ใช้อยู่
ในปัจจุบันจากละครย้อนยุค มีวิธีการดำเนินการดังนี้
แหล่งข้อมูล
ศึกษาจากการรับชมละครทั้งหมด ๓ เรื่อง โดยมีการคัดเลือกละคร คือ เลือกละครที่อยู่ในยุคสมัย
เดียวกันเพื่อเป็นการกำหนดขอบเขตในยุคสมัย ซึ่งยุคสมัยที่ได้เลือกมาศึกษา คือ สมัยอยุธยา เพราะเป็น
ยุคสมัยที่มีข้อมูลให้ศึกษามากกว่ายุคสมัยอื่นๆ และละครส่วนใหญ่มีเนื้อหาอยู่ในยุคสมัยนี้
จากการคัดเลือกละครที่นำมาศึกษา ปรากฏข้อมูลของผู้วิจัย ดังนี้
๑. บุพเพสันนิวาส
๒. ขุนศึก
๓. บางระจัน
เกณฑ์ในการวิเคราะห์
ุ
ี
้
ผู้วิจัยได้ศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยามาเปรียบเทยบกับคำทใชอยู่ในปัจจบันจากละคร
ี่
ย้อนยุค โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย ดังนี้
เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงของภาษา
เกณฑ์การวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยนำมาใช้วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของคำในสมัยโบราณ
ผู้วิจัยได้นำเกณฑ์มาจาก หนังสือวิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย เรื่อง ทฤษฎีการเปลยนแปลง
ี่
ทางภาษา ของ ธวัช ปุณโณทก และ หนังสือวิวัฒนาการของภาษาไทย เรื่อง ขบวนการเปลี่ยนแปลง
ภาษาด้านเสียงในภาษาไทย ของ ณัฐวรรณ ชั่งใจ ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกเกณฑ์ดังนี้
๑. การเปลี่ยนแปลงดานคำศัพท คือ หน่วยคำที่เปลี่ยนแปลงไปโดยมีความหมายเปลี่ยนไป หรือมีคำ
์
้
่
้
อื่นมาใช้แทนที่ความหมายบางส่วนหรือแทนที่ความหมายจนหมดคำเหลานั้นจะเลิกใชในที่สุด
๒. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง คือ การเปลี่ยนแปลงหน่วย เสียงของคำให้ต่างไปจากเดิมโดยเจตนา
หรือไม่เจตนาก็ตาม เป็นผลให้คำคำนั้นออกเสียงเพี้ยนไป ต่างไปจากเสียงเดิมหลายกรณ
ี
๒.๑ การลดเสียง หรือเสียงหายไป คือ เสียงจะหดสั้น หดหาย หรือคำนำหน้าที่เคยเพิ่มไว้เพื่อ
เพิ่มเสียงถูกนำออกไป การลดเสียงนั้นคนเรามักจะลดเสียงกันโดยไม่ได้ตั้งใจเพียงแตตองการ
้
่
๒๑
ให้ผู้ฟังเข้าใจเท่านั้น จึงมักจะเน้นบางเสียง บางตอน ส่วนเสียงที่ไม่ได้เน้นจะทำให้เสียง
หายไปโดยไม่ได้ตั้งใจ
ี
๒.๒ การกลมกลืนเสียง คือ การทเสียงเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมหรือไปตามเสียงข้างเคยง
ี่
ี่
หลงจากการเปลี่ยนแปลงเสยงทเปลี่ยนไปจะมีความคล้ายคลึงกับเสียงข้างเคยงในบางกรณก็
ั
ี
ี
ี
เหมือนกัน เช่น กันไตร เปลี่ยนเสียงเป็น กรรไกร
๒.๓ การกร่อนเสียง คือ การลดเสียงสระและเสียงสะกด(ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ แต ่
ความหมายของคำนั้นยังคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลงความหมาย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลที่ใชศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาจากการเปรียบเทียบคำ
้
ี่
โบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำทใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังต่อไปนี้
๑. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับละครทั้ง ๓ เรื่อง เช่น เรื่องย่อ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงของภาษา ความหมายและการเปลี่ยนแปลงในแบบต่าง ๆ ของภาษา เพื่อเป็นแนวทางใน
การวิเคราะห์ข้อมูล
๒. รับชมและจดบันทึกคำศัพท์ที่ได้จากละครทั้ง ๓ เรื่อง
๓. วิเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของคำในสมัยอยุธยาว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรจึงกลาย
มาเป็นคำที่ใช้กันในปัจจุบัน ตามเกณฑ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น คือ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา แล้วนำมา
เปรียบเทียบกับคำที่ใช้ในปัจจุบัน
๔. รวบรวม แล้วบันทึกผลไว้ตามหมวดหมู่ที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูล
๑. นำคำศัพท์ที่เก็บรวบรวมข้อมูลได้มาวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์ที่สร้างไว้ในเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
๒. นำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของภาษาและการเปรียบเทียบคำมาเรียบเรียง
แบบพรรณนาพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
๓. สรุปผล และเสนอรายงานผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)
๒๒
ระยะเวลาในการดำเนินการ
ในการศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบคำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
มีระยะเวลาในการดำเนินการซึ่งแบ่งได้ ดังนี้
ลำดับที่ ขั้นตอนการศึกษา ช่วงเวลา ผู้รับผิดชอบ
ั
๑ รวบรวมข้อมูลและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วันที่ ๒๐-๒๘ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะผู้จดทำ
๒ รวบรวมคำศัพท์จากละคร วันที่ ๓-๑๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
ั
ั
๓ วิเคราะห์ข้อมูล วันที่ ๑๑-๑๕ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
ั
๔ สรุปและอภิปรายผลข้อมูล วันที่ ๑๖-๑๗ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
๕ ตรวจทานและแก้ไขข้อมูล วันที่ ๑๙-๒๒ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
ั
ผู้จัดทำรูปเล่มรายงานการศึกษาค้นคว้า
ั
๖ นำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า วันที่ ๒๖ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
๗ ส่งรายงานการศึกษาค้นคว้าฉบับสมบูรณ ์ วันที่ ๒๖-๒๙ เดือนมกราคม พ.ศ ๒๕๖๔ คณะผู้จดทำ
ั
๒๓
บทที่ ๔
การวิเคราะห์ข้อมูล
้
การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำที่ใชอยู่ใน
ปัจจุบันจากละครย้อนยุค คณะผู้จัดทำได้แบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น ๒ ประเด็น ตามวัตถุประสงค์ใน
การศึกษาค้นคว้า ได้แก่ เพื่อศึกษารวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครทั้ง ๓ เรื่อง และเพื่อเปรียบเทยบ
ี
คำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมีรายละเอียดการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
คำโบราณที่ได้รวบรวมมาจากละครทั้ง ๓ เรื่อง และความหมาย
ลำดับที่ คำโบราณ ความหมาย
๑ แม่นาย เจ้านายฝายหญิง
่
๒ ออเจ้า คําใชแทนผที่เราพูดด้วย
้
ู้
๓ ฟะรังค ี คำเรียกชาวตะวันตกผิวขาว
๔ ทะเวน ไปทั่ว, ไปโดยรอบ, เที่ยวตรวจตรา
๕ ขี่ม้า การมีประจำเดือน
๖ เลื่อนเปื้อน พูดจาเลอะเทอะหาสาระไม่ได ้
๗ เทื้อคาเรือน คนที่ถึงเวลาแต่งงานแล้วแต่ยังไม่แต่ง
๘ ชม้อย ชม้าย ชายตา ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ เอียงสายตาโปรยเสน่ห์
๙ เพ็ดทูล การพูดในลักษณะฟ้องหรือเอาหน้า
๑๐ สติวิปลาส ที่มีสติไม่ปกต คนบ้า
ิ
๑๑ โดนเอ็ด โดนว่า,โดนตำหนิ
๑๒ อึดตะปือนัง มีมากมาย ล้นหลาม
๑๓ ปลิดชีพ ฆ่า,เด็ดชีพ,เดดชีวิต
็
้
๑๔ มิได ้ ไม่ได,ไม่ใช ่
๑๕ ประดุจ ดั่ง,เหมือน
๑๖ หักหาญ ใช้กำลัง หรืออำนาจบังคับเอา
๑๗ ประเดี๋ยว ชั่วครู่,ชั่วขณะ
๑๘ แชเชือน การพูดแบบเถลไถล ไม่ตรงไปตรงมา
้
๑๙ กระไร คำใชแทนคำนามเพื่อแสดงคำถาม
๒๔
ลำดับที่ คำโบราณ ความหมาย
๒๐ จำเริญ เติบโต งอกงาม มากขึ้น สมบูรณ ์
๒๑ รุ่งสาง เวลาจวนสว่าง ยังแลเห็นอะไรไม่ชัด
๒๒ สำแดง ทำให้เห็น
๒๓ โอหัง แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส
๒๔ เพลา กาลเวลา
๒๕ ป้อยอ ยกย่องเยินยอจนเกินพอดี
๒๖ ข้า คำที่ใช้แทนตัวผู้พูด
๒๗ เชลย ผู้ที่ถูกฝายข้าศึกจับตัวไว้ได ้
่
๒๘ พระนคร เมืองที่ตั้งของรัฐบาลและเป็นศูนย์กลาง
ประเทศ
๒๙ เกลอ เพื่อนที่รู้ใจกัน
๓๐ แตกพ่าย สู้ไม่ได, ทนไม่ได ้
้
๓๑ ครา ครั้งคราว
๓๒ กำแหง แสดงให้เขาเห็นว่าตนดีโดยไม่มีดีจริงๆ
๓๓ นมนาน นาน
๓๔ ตะบึงตะบอน แสดงอาการโกรธเคืองหรือไม่พอใจเพื่อให้เขา
ง้อ
๓๕ ออกเรือน แต่งงานออกไปอยู่กับสามี
๓๖ ใจเสาะ ขี้คลาด,ขี้กลัว
๓๗ อัฐ เงิน, เงินตรา
๓๘ ก๊ก พวก, กลุ่ม, หมู่
้
๓๙ โอ้เอ้ ชักช้า, ล่าชา
ี
๔๐ ลางท ี บางท, บางครั้ง
ตารางที่ ๑ คำโบราณจากละครทั้ง ๓ เรื่องและความหมายของคำ
๒๕
๑. การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์
คณะผู้จัดทำพบว่าจากคำโบราณทั้งหมดที่ได้รวบรวมมานั้น ส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงในด้าน
ิ
้
ี่
้
คำศัพท์ โดยมีการใชคำอื่นมาแทนที่ความหมายบางส่วนหรือแทนทความหมายจนหมด คำเหล่านั้นจะเลกใชใน
ที่สุด กลายมาเป็นคำศัพท์ใหม่ที่ใช้กันในปัจจุบัน เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์ในลักษณะแทนท ี่
ี่
์
ความหมาย คำโบราณทพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท มีดังนี้
การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์
ลำดับที่ คำโบราณ คำที่ใช้ในปัจจุบัน
๑ ออเจ้า เธอ/เขา
๒ โอหัง อวดเก่ง
๓ ป้อยอ ตามใจ
๔ ข้า ฉัน
๕ เชลย ตัวประกัน
๖ พระนคร เมืองหลวง
๗ เกลอ เพื่อนสนิท
๘ กำแหง อวดด ี
๙ ตะบึงตะบอน งอน
๑๐ ออกเรือน แต่งงาน
๑๑ ใจเสาะ กลัว
๑๒ อัฐ เงิน
๑๓ ก๊ก พวก
๑๔ โอ้เอ้ ช้า
๑๕ แชเชือน พูดไปเรื่อย
๑๖ ฟะรังค ี ฝรั่ง/ชาวต่างชาต ิ
๑๗ ขี่ม้า มีประจำเดือน
๑๘ เลื่อนเปื้อน พูดจาเลอะเทอะ
๑๙ เทื้อคาเรือน ขึ้นคาน
๒๐ ชม้อย ชม้าย ชายตา อ่อย
๒๑ เพ็ดทูล พูดประจบประแจง
๒๖
การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์
ลำดับที่ คำโบราณ คำที่ใช้ในปัจจุบัน
๒๒ สติวิปลาส บ้า
๒๓ โดนเอ็ด โดนด ุ
๒๔ อึดตะปือนัง มากมาย
๒๕ ปลิดชีพ ฆ่า
๒๖ หักหาญ ใช้กำลัง
๒๗ แม่นาย เจ้านาย (ผู้หญิง)
๒๘ ประดุจ เหมือน
๒๙ รุ่งสาง เช้ามืด
๓๐ ครา ครั้ง
๓๑ แตกพ่าย แพ้
ตารางที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงด้านคำศัพท์ของคำโบราณ
๒. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง คือ การเปลี่ยนแปลงหน่วย เสียงของคำให้ต่างไปจากเดิมโดยเจตนา
ี
หรือไม่เจตนาก็ตาม เป็นผลให้คำคำนั้นออกเสียงเพี้ยนไป ต่างไปจากเสียงเดิมหลายกรณ ดังรายละเอียด
ต่อไปนี้
๒.๑ การลดเสียง
้
คณะผู้จัดทำพบว่าจากคำโบราณทั้งหมดที่ได้รวบรวมมานั้น จะพบการเปลี่ยนแปลงในดาน
ี่
เสียงในรูปแบบของการลดเสียงเพียง ๒ คำ ซึ่งถือว่าน้อยมาก โดยการลดเสียง คือการทเสียงจะหดสน
ั้
่
หดหาย การลดเสียงนั้นคนเรามักจะลดเสียงกันโดยไม่ได้ตั้งใจ เพียงแต่ต้องการให้ผู้ฟังเข้าใจเทานั้น
จึงมักจะเน้นบางเสียง บางตอน ส่วนเสียงที่ไม่ได้เน้นจะทำให้เสียงหายไปโดยไม่ได้ตั้งใจ คำโบราณท ี่
พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงด้านเสียงในรูปแบบของการลดเสียง มีดังนี้
ลำดับที่ คำโบราณ คำที่ใช้ในปัจจุบัน
๑ นมนาน นาน
๒ ประเดี๋ยว เดี๋ยว
ตารางที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การลดเสียง
๒๗
จากผลการศึกษาในตารางมีรายละเอียดดังนี้
๑. คำว่า นมนาน มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นคำว่า นาน โดยการลดเสียงคำว่า นม ถึงจะมีการ
ลดเสียงแต่ยังคงฟังแล้วเข้าใจ
๒. คำว่า ประเดี๋ยว มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นคำว่า เดี๋ยว โดยการลดเสียงคำว่า ประ ถึงจะมี
การลดเสียงแต่ยังคงฟังแล้วเข้าใจ
๒.๒ การกลมกลืนเสียง
้
คณะผู้จัดทำพบว่าจากคำโบราณทั้งหมดที่ได้รวบรวมมานั้น จะพบการเปลี่ยนแปลงในดาน
เสียงในรูปแบบของการการกลมกลืนเสียงจำนวน ๕ คำ ซึ่งเป็นขบวนการที่แพร่หลายมากกว่า
ี่
้
ขบวนการทางเสียงด้านอื่น ๆ โดยการกลมกลืนเสียง คือ การทเสียงเปลี่ยนไปตามสภาพแวดลอมหรือ
เสียงข้างเคียง เสียงที่เปลี่ยนไปจะมีความคล้ายคลึง หรือ เหมือนกันกับเสียงข้างเคียง คำโบราณท ี่
พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงด้านเสียงในรูปแบบของการกลมกลืนเสียง มีดังนี้
ลำดับที่ คำโบราณ คำที่ใช้ในปัจจุบัน
๑ ทะเวน ตระเวน
๒ มิได ้ ไม่ได ้
๓ เพลา เวลา
๔ ลางท ี บางท ี
๕ กระไร อะไร
ตารางที่ ๔ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การกลมกลืนเสียง
จากผลการศึกษาในตารางมีรายละเอียดดังนี้
ี
๑. คำว่า ทะเวน มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น ตระเวน เสียงที่เปลี่ยนเหมือนกับเสียงข้างเคยง
ทุกประการ เรียกว่า การกลมกลืนสมบูรณ์
้
ึ
๒. คำว่า มิได โดยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นคำว่า ไม่ได้ เสียงที่เปลี่ยนไปมีความคล้ายคลงกับ
เสียงข้างเคียง เรียกว่า การกลมกลืนละม้าย
๓. คำว่า เพลา มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น เวลา เสียงที่เปลี่ยนเหมือนกับเสียงข้างเคียง
ทุกประการ เรียกว่า การกลมกลืนสมบูรณ์
๔. คำว่า ลางที มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น บางที เสียงที่เปลี่ยนเหมือนกับเสียงข้างเคียง
ทุกประการ เรียกว่า การกลมกลืนสมบูรณ์
๒๘
๕. คำว่า กระไร มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น อะไร เสียงที่เปลี่ยนเหมือนกับเสียงข้างเคียง
ทุกประการ เรียกว่า การกลมกลืนสมบูรณ์
๒.๓ การกร่อนเสียง
้
คณะผู้จัดทำพบว่าจากคำโบราณทั้งหมดที่ได้รวบรวมมานั้น จะพบการเปลี่ยนแปลงในดาน
เสียงในรูปแบบของการกร่อนเสียงเพียง ๒ คำ ซึ่งถือว่าน้อยมาก โดยการกร่อนเสียงคือ การลดเสียง
ี่
สระและเสียงสะกด(ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ แต่ความหมายของคำนั้นยังคงเดิม คำโบราณทพบว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงด้านเสียงในรูปแบบของการกร่อนเสียง มีดังนี้
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การกร่อนเสียง
ลำดับที่ คำโบราณ คำที่ใช้ในปัจจุบัน
๑ จำเริญ เจริญ
๒ สำแดง แสดง
ตารางที่ ๔ การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง : การกร่อนเสียง
จากผลการศึกษาในตารางมีรายละเอียดดังนี้
๑. คำว่า จำเริญ มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น เจริญ โดยการลดเสียงสระ อำ เป็นสระ อะ
๒. คำว่า สำแดง มีการเปลี่ยนเสียงมาเป็น แสดง โดยการลดเสียงสระ อำ เป็นสระ อะ
๒๙
บทที่ ๕
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำที่ใชอยู่ใน
้
ปัจจุบันจากละครย้อนยุค มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อศึกษารวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา
จากละครทั้ง ๓ เรื่อง และเพื่อเปรียบเทียบคำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
โดยแหล่งข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศกษาครั้งนี้ คือ ละครเรื่องบุพเพสันนิวาส ละครเรื่องบางระจัน
ึ
และ ละครเรื่องขุนศึก ได้กำหนดวิธีการศึกษาตามขั้นตอนดังนี้ คือ การรวบรวมและศึกษาคำโบราณจากละคร
ทั้ง ๓ เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากคำโบราณต่าง ๆ ในสมัยอยุธยา และการปรียบ
เทียบคำในสมัยอยุธยากับคำที่ใช้ในปัจจุบัน
การสรุปผลข้อมูล
คณะผู้จัดทำได้สรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาค้นคว้า ดังรายละเอียดต่อไปนี้
๑. ผลการศึกษาการรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา จากละครทั้ง ๓ เรื่อง คณะผู้จัดทำพบ
คำที่เป็นคำโบราณในละครทั้ง ๓ เรื่อง จำนวน ๔๐ คำ
๒. ผลการศึกษาการเปรียบเทียบคำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
คณะผู้จัดทำ พบว่า จากคำโบราณที่ได้รวบรวมจากละครทั้ง ๓ เรื่อง จำนวน ๔๐ คำ ได้มีการเปลี่ยนแปลงดาน
้
คำศัพท์และเปลี่ยนแปลงด้านเสียง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๑) การเปลี่ยนแปลงในด้านคำศัพท์ พบทั้งหมด
๓๑ คำ ๒) การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง พบทั้งหมด ๙ คำ โดยแบ่งออกเป็น การลดเสียง ๒ คำ, การกร่อนเสียง
๒ คำ และการกลมกลืนเสียง ๕ คำ
อภิปรายผล
๑. ผลการศึกษาการรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา จากละครทั้ง ๓ เรื่อง คณะผู้จัดทำพบ
ี่
คำที่เป็นคำโบราณในละครทั้ง ๓ เรื่อง จำนวน ๔๐ คำ โดยเลือกเฉพาะคำที่น่าสนใจ และดูมีการเปลยนแปลง
ของภาษาที่น่าสนใจ
๒. ผลการศึกษาการเปรียบเทียบคำโบราณในสมัยอยุธยาจากละครกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
้
คณะผู้จัดทำ พบว่า จากคำโบราณที่ได้รวบรวมจากละครทั้ง ๓ เรื่อง จำนวน ๔๐ คำ ได้มีการเปลี่ยนแปลงดาน
คำศัพท์และเปลี่ยนแปลงด้านเสียง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๑) การเปลี่ยนแปลงในด้านคำศัพท์ พบทั้งหมด
๓๑ คำ ๒) การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง พบทั้งหมด ๙ คำ โดยแบ่งออกเป็น การลดเสียง ๒ คำ, การกร่อนเสียง
๓๐
๒ คำ และการกลมกลืนเสียง ๕ คำ ทำให้ทราบได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของคำโบราณส่วนใหญ่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงในด้านของคำศัพท์มากกว่าการเปลี่ยนแปลงด้านเสียง โดยการเปลี่ยนแปลงในด้านของคำศัพท ์
ของคำโบราณมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นคำปัจจุบันแต่ยังคงความหมายเดิม เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงด้าน
ี่
คำศัพท์ในลักษณะแทนที่ความหมาย ส่วนการเปลี่ยนแปลงด้านเสียงทปรากฏในละครทั้ง ๓ เรื่องนี้ คือ การลด
เสียง การกลมเกลืนเสียง และการกร่อนเสียง จะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงด้านเสียงในรูปแบบการกลมกลน
ื
เสียงมากที่สุด
ในการศึกษาค้นคว้าการศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำที่ใช้อยู่ใน
ปัจจุบันจากละครย้อนยุค ทำให้เราได้ทราบคำในสมัยอยุธยาในละครทั้ง ๓ เรื่องมากยิ่งขึ้น และได้นำมา
เปรียบเทียบกับคำในปัจจุบันแล้วทำให้ทราบว่าคำมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย ซึ่งเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดทำที่วางไว้ ได้แก่
๑. เพื่อศึกษารวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา จากละครทั้ง ๓ เรื่อง
ุ
๒. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคำในสมัยอยุธยาจากละครก่อนกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจบัน
ซึ่งทำให้เรานั้นได้ทราบคำโบราณที่ใช้ในละครทั้ง ๓ เรื่อง ซึ่งมีจำนวน ๔๐ คำ และได้ทราบว่าคำ
โบราณนั้นแตกต่างจากคำในปัจจุบันอย่างไร เปลี่ยนแปลงทางด้านใด และได้นำความรู้เรื่องการศึกษาและ
้
รวบรวมคำโบราณในสมัยอยุธยา มาเปรียบเทียบกับคำที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจากละครย้อนยุค ไปประยุกต์ใชกับ
การเรียนการสอนภาษาไทย และนำมาใช้เป็นองค์ความรู้ในชีวิตประจำวันไดสืบต่อไป
้
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป
๑. ควรศึกษาและรวบรวมคำโบราณในสมัยต่างๆ นอกจากสมัยอยุธยา
๒. ควรศึกษาและรวบรวมคำโบราณจากละครที่ออกอากาศทางช่องอื่นๆ หรือละครในช่วงเวลาอื่นๆ
๓. ควรศึกษาและรวบรวมคำโบราณจากละครประเภทอื่น ๆ นอกจากละครย้อนยุค เช่น ละครดราม่า
์
ละครสยองขวัญ ละครจักร ๆ วงศ ๆ เป็นต้น
๓๑
บรรรณานุกรม
กัญจน์ดามาศ โกพล. (๒๕๕๗). บทบาทของละครย้อนยุคที่มีต่อการสืบสานและอนุรักษ์มรดก
วัฒนธรรมไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://so02.tci- thaijo.org/index.php/cultural_approach/article/view/15661.
สืบค้นเมื่อ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
ความหมายคำว่า ละคร. (๒๕๖๐). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://thaicassicaldance.blogspot.com/2017/09/blog-post_29.html.
สืบค้นเมื่อ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
คนรักประวัติศาสตร์ไทย. (๒๕๕๕). ภาษาในสมัยอยุธยา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.facebook.com/welovethaihistory/posts/347300961983869/.
สืบค้นเมื่อ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
ปราณี กุลละวณิชย์. (๒๕๔๐). ภาษาทัศนา. (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมล มองจันทร์. (๒๕๕๕). ภาษาคืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/322514. สืบค้นเมื่อ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
มัลลิกา มาภา. (๒๕๕๙). วิวัฒนาการภาษาไทย. เอกสารประกอบการสอน(ภาษาไทย)
คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยราชภัฏอุดรธานี.
ั
วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. ขุนศึก (บันเทิงคดี). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/ขุนศึก_(บันเทิงคดี). สืบค้นเมื่อ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓
วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. บางระจัน (ละครโทรทัศน์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/บางระจัน_(ละครโทรทัศน์). สืบค้นเมื่อ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓
วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. บุพเพสันนิวาส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/บุพเพสันนิวาส. สืบค้นเมื่อ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓
สุภัทร แก้วพัตร. (๒๕๖๐). ภาษากับสังคม. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบณฑิต(ภาษาไทย)
ั
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
๓๒
๓๓