The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rungnapha Sivayavirote, 2021-01-29 09:58:02

โครงงาน เรื่อง การสร้างสื่อวิดีทัศน์คำที่มักใช้ผิดในภาษาไทย

โครงงานภาษาไทย



เรื่อง การสร้างสื่อวิดีทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย



























คณะผู้จัดท า


นางสาวณัฐธิดา พงษ์พานิช เลขที่ 9 ชั้น ม.6/1

นางสาวเนตรชนก ทองเมือง เลขที่ 13 ชั้น ม.6/1


นางสาวรุ่งนภา สิวายะวิโรจน์ เลขที่ 17 ชั้น ม.6/1



ครูผู้สอน


นายธิรพงษ์ คงด้วง



รายงานโครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ภาษาไทย (ท 33102)



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563


โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

โครงงานภาษาไทย



เรื่อง การสร้างสื่อวีดิทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย













คณะผู้จัดท า


นางสาวณัฐธิดา พงษ์พานิช เลขที่ 9 ชั้น ม.6/1


นางสาวเนตรชนก ทองเมือง เลขที่ 13 ชั้น ม.6/1

นางสาวรุ่งนภา สิวายะวิโรจน์ เลขที่ 17 ชั้น ม.6/1











ครูผู้สอน


นายธิรพงษ์ คงด้วง









รายงานโครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ภาษาไทย (ท 33102)



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563


โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ค ำน ำ





รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยรายงาน

เล่มนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดท าโครงงานภาษาไทย เรื่อง การสร้างสื่อวีดิทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย ซึ่ง

จะมีการกล่าวถึงขั้นตอนในการท าสื่อวีดิทัศน์ในเรื่องขององค์ประกอบต่างๆ ขั้นตอนในการท าโครงงาน และ


การวัดความรู้ความเข้าใจของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทีปราษฎร์พทยา จ านวน
ทั้งหมด 36 คน มีการวัดคะแนนเฉลี่ยทั้งก่อนและหลังของกลุ่มตัวอย่างรับชมสื่อวีดิทัศน์ของคณะผู้จัดท า

ิ่
เพอให้เห็นถึงประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน์ที่คณะผู้จัดท าได้จัดท าขึ้นว่าสามารถเพมความรู้ความเข้าใจให้กับ
ื่
กลุ่มตัวอย่างที่รับชมสื่อวิดีทัศน์ได้

การจัดท าโครงงานรายวิชาภาษาไทย เรื่อง การสร้างสื่อวีดิทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย ในครั้งนี้

คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดท าเอกสารฉบับนี้มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ ไม่มากก็น้อย หาก

มีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จัดท าขออภัยไว้ ณ ที่นี้







คณะผู้จัดท า

กิตติกรรมประกาศ



ในการท าโครงงานรายวิชา ภาษาไทย เรื่อง การสร้างสื่อวิดีทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย เป็น

โครงงานหนึ่งที่ช่วยให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง
นี้มากขึ้น ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถน าความรู้ที่ได้รับจากสื่อวิดีทัศน์ของคณะผู้จัดท าได้จัดท า

ขึ้นไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันของนักเรียนได้ และเพื่อให้การใช้ภาษาไทยมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น


การจัดท าโครงงานในครั้งนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยได้รับความอนุเคราะห์และการสนับสนุนด้วยดีจาก

คุณครูธิรพงษ์ คงด้วง ครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้ค าแนะน าต่างๆในการท าโครงงานภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักการ

และขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียมทีปราษฎร์พทยา ที่ได้ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือให้
โครงงานส าเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี



สุดท้ายนี้ขออทิศความดีที่มีในการศึกษาโครงงานนี้แด่ บิดา มารดา ครอบครัวของคณะผู้จัดท า และ
ื่

ขอขอบคุณเพอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนทีปราษฎร์พทยาผู้ช่วยเหลือคณะผู้จัดท าและให้
ก าลังใจมาโดยตลอด







คณะผู้จัดท า

สารบัญ



เรื่อง หน้า


บทที่ 1 บทน า 1

ความเป็นมาและความส าคัญ 1
วัตถุประสงค์ 2


ขอบเขตของการศกษาค้นคว้า 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3

ตัวอย่างและความหมายของค าที่มักใช้ผิด 4
ภาษา 5

สื่อการเรียนการสอน 8

สื่อวิดีทัศน์ 10
Youtube 11

บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 13
แหล่งข้อมูล 13


เกณฑในการวิเคราะห์ 14
ระยะเวลาในการด าเนินการ 15

บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล 16

ศึกษาคาที่มกใช้ผิด 16


สื่อวิดีทัศน์ ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย 18

การเผยแพร่สื่อวิดีทัศน์ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย 18
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 19

การสรุปผลข้อมูล 19

อภิปรายผล 22
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 22


บรรณานุกรม 23

สารบัญตาราง





เรื่อง หน้า


ตารางที่ 1 ค าที่มักใช้ผิดในภาษาไทย 16


ตารางที่ 2 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 19


ตารางที่ 3 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 20


ตารางที่ 4 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 20


ตารางที่ 5 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 20


ตารางที่ 6 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 21


ตารางที่ 7 คะแนนทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 21


ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน 22



ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

1

บทท 1
ี่


บทน ำ



ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ



สื่อถือเป็นองค์ประกอบส ำคัญที่ช่วยในกำรสร้ำงประสบกำรณ์ทำงกำรศึกษำ สื่อกำรเรียนกำรสอนมี

มำกหมำยหลำกหลำยชนิด สิ่งที่ส ำคัญที่สุดของกำรใช้สื่อกำรสอนคือ กำรเลือกใช้สื่อกำรสอนที่เหมำะกับ

ผู้เรียนหรือบทเรียน ปัจจุบันนี้สื่อกำรเรียนกำรสอนถือเป็นหนึ่งในสิ่งส ำคัญของกำรศึกษำ เพรำะมีควำมสะดวก

ในกำรใช้ และเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่ท ำให้กำรศึกษำมีประสิทธิภำพมำกขึ้น มีควำมทันสมัยไม่ล้ำหลัง และท ำให้

ผู้เรียนไม่รู้สึกเบื่อหน่ำยกับกำรเรียน


ในปัจจุบันกำรใช้ภำษำไทยในกำรสื่อกำรมีควำมส ำคัญในกำรสื่อสำรเป็นอย่ำงมำกเพรำะมนุษย์มีควำม

จ ำเป็นที่จะต้องติดต่อสื่อสำรกันรวมถึงกำรเขียนเพอถ่ำยทอดควำมรู้หรือข้อมูลต่ำงๆออกไป ไม่ว่ำจะเป็นกำร
ื่

เผยแพร่ข้อมูลทำงอนเทอร์เน็ต กำรเขียนข้อควำมลงในสมุดหนังสือต่ำงๆ รวมไปถึงหนังสือทำงรำชกำร ต่ำงก็
ต้องใช้ภำษำไทยในกำรสื่อสำนทั้งสิ้น ดังนั้นภำษำจึงเป็นสิ่งส ำคัญที่ท ำให้สำมำรถสื่อสำรกับผู้รับสำรได้เข้ำใจ

ตรงกัน และกำรใช้ภำษำไทยให้ถูกต้องตำมแบบแผนนั้นก็นับเป็นสิ่งที่ส ำคัญเป็นอย่ำงมำกในกำรใช้สื่อสำร

ต่ำงๆ ภำษำไทยถือเป็นภำษำที่กว้ำง และเป็นภำษำที่มีควำมซับซ้อน มีพยัญชนะที่เยอะถึง44ตัว สระ21รูป32

เสียง และวรรณยุกต์4รูป5เสียง รวมทั้งยังมีค ำพ้องมำกมำย ไม่ว่ำจะเป็นค ำพองรูป ค ำพองเสียง บำงพยัญชนะ


และสระก็ออกเสียงคล้ำยคลึงกัน จึงท ำให้ผู้คนเกิดควำมสับสนในกำรใช้ค ำ และ กำรสะกดค ำ หำกมีกำรใช้

ค ำผิด อำจจะท ำให้ข้อมูลที่ได้รับไม่ตรงกัน เกิดควำมไม่เข้ำใจหรือเข้ำใจผิดในเนื้อหำได้ และในปัจจุบันนี้มีค ำที่

มักเขียนผิดหรือใช้ผิดมำกขึ้น ไม่ว่ำจะในห้องเรียน สื่ออินเทอร์เน็ต ตำมร้ำนอำหำร หรือแม้แต่สถำนที่รำชกำร

ก็ตำม


ดังนั้นคณะผู้จัดท ำจึงเล็งเห็นถึงควำมส ำคัญของกำรใช้ภำษำไทยที่ถูกต้อง จึงได้รวบรวมค ำที่มักใช้ผิด

และน ำมำจัดเป็นโครงงำน เรื่อง กำรสร้ำงสื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย เพื่อให้ผู้อ่ำนได้เล็งเห็นถึงกำรใช้

ค ำให้ถูกต้องตำมแบบแผนของภำษำไทย ซึ่งคณะผู้จัดท ำจะท ำกำรส ำรวจควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้น

ื่

มัธยมศึกษำปีที่ 4 ของโรงเรียนทีปรำษฎร์พทยำ และจะจัดท ำสื่อกำรสอนขึ้นมำ เพอให้นักเรียนมีควำมเข้ำรู้
ควำมเข้ำใจในเรื่องนี้มำกขึ้น

2

วัตถุประสงค์ในกำรศึกษำค้นคว้ำ



1. เพื่อศึกษำค ำที่มักใช้ผิดจำก Facebook Twitter และเว็บไซต์ออนไลน์ต่ำงๆบนอินเทอร์เน็ต

2. เพื่อสร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศกษำปีที่ 4

3. เพื่อเผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ผ่ำนทำง Youtube


ขอบเขตของกำรศึกษำคนคว้ำ


1. ส ำรวจควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับค ำที่มักใช้ผิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1 ถึง 4/6 ของ



โรงเรียนทีปรำษฏร์พทยำ จ ำนวนห้องละ 6 คน ด้วยวิธีกำรสุ่มอย่ำงง่ำย ได้แก่ เลขที่ 5,10,15,20,25
และ 30

2. สร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ในรูปแบบของวิดีโอและเผยแพร่ผ่ำนช่องทำง Youtube

3. ใช้ระยะเวลำในกำรส ำรวจ 7 วัน


ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ



1. ได้ศึกษำค ำที่มักใช้ผิดจำก Facebook Twitter และเว็บไซต์ออนไลน์ต่ำงๆบนอินเทอร์เน็ต
2. ได้สร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4


3. ได้เผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ผ่ำนทำง Youtube


นิยำมศัพท์เฉพำะ


1. สื่อวิดีทัศน์ คือ สื่อบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ที่แสดงภำพและเสียงที่สอดแทรกควำมรู้


ี่
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท4 คือ เด็กนักเรียนที่ก ำลังศกษำอยู่ในระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มีอำยุ

15-16ปี


3. ค ำศัพท์ คือ กลุ่มเสียง กลุ่มคำ เสียงพูดที่มีควำมหมำยทั้งในกำรพูดและกำรเขียน

3

ี่
บทท 2


เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง



กำรศึกษำ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด คณะผู้จัดท ำได้ศึกษำและส ำรวจควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียน

มัธยมศึกษำปีที่ 4 โรงเรียนทีปรำษฏร์พทยำ เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด

มีประเด็นที่จะศึกษำ ดังนี้


1. ตัวอย่ำงและควำมหมำยของค ำที่มักใช้ผิด



2. ภำษำ


2.1) ควำมหมำยของภำษำ

2.2) ควำมส ำคัญของภำษำ

2.3) องค์ประกอบของภำษำ

3. สื่อกำรเรียนกำรสอน


3.1) ควำมหมำยของสื่อกำรเรียนกำรสอน


3.2) หลักกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอน



3.3) ประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน


3.4) คุณค่ำของสื่อกำรเรียนกำรสอน


4. สื่อวิดีทัศน์


4.1) ควำมหมำยของสื่อวิดีทัศน์



4.2) ประโยชน์ของสื่อวิดีทัศน์


5. Youtube


5.1) ควำมหมำยของ Youtube



5.2) ประโยชน์ของ Youtube

4

1.ตัวอย่างและควำมหมำยของค ำที่มักใช้ผิด



1. กะเทย หมำยถึง ผู้ชำยที่มีจิตใจและกิริยำอำกำรตรงข้ำมกับเพศของตน


2. โควตำ หมำยถึง กำรจ ำกัดจ ำนวนโดยวำงเป็นกฎเกณฑไว้, กำรก ำหนดปริมำณ.
3. ต่ำงๆ นำนำ หมำยถึง หลำกหลำย

4. ผัดวันประกันพรุ่ง หมำยถึง ขอเลื่อนเวลำออกไปครั้งแล้วครั้งเล่ำ, เลื่อนเวลำไปเรื่อย ๆ โดยไม่เริ่มต้น

ท ำเสียที.

5. ผำสุก หมำยถึง ควำมส ำรำญ, ควำมสุขสบำย

6. พะแนง หมำยถึง แกงเผ็ดอย่ำงหนึ่ง น้ ำแกงข้น ขลุกขลิก รสหวำนเค็ม

7. หย่ำร้ำง หมำยถึง เป็นกำรกระท ำเพื่อสิ้นสุดควำมสัมพันธ์ทำงกำรสมรสที่ท ำขึ้นอย่ำงถูกต้องตำม

กฎหมำยและมีกำรแจ้งกำรสมรสเป็นหลักฐำน

8. มัคคุเทศก์ หมำยถึง ผู้น ำทำง, ผู้ชี้ทำง

9. กงเกวียนก ำเกวียน หมำยถึง เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม

10. กังวำน หมำยถึง ก้องอยู่นำน มีเสียงก้องแจ่มใส

11. อนุญำต หมำยถึง ยอมให้, ยินยอม, ตกลง

12. ขี้เกียจ หมำยถึง ไมขยัน, ไม่สู้งำน, ไม่อยำกท ำงำน


13. ศีรษะ หมำยถึง อวัยวะในร่ำงกำยคอหัว, ใช้แก่คน
14. ผัดไทย หมำยถึง เป็นอำหำรที่ได้รับอิทธิพลจำกอำหำรจีน เดิมเรียกอำหำรชนิดนี้ว่ำ "ก๋วยเตี๋ยวผัด"

และได้รับกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนรสชำติใหม่ตำมอย่ำงอำหำรไทยมำกขึ้นในเวลำต่อมำ

15. อำนิสงส์ หมำยถึง ผลแห่งบุญกุศล, ผลแห่งควำมดี, ผลบุญ

16. ใบกะเพรำ หมำยถึง เป็นไม้ล้มลุก นิยมน ำใบมำประกอบอำหำรคือ ผัดกะเพรำ

17. ข้ำวเหนียวมูน หมำยถึง ขนมไทยภำคกลำง ขนมส่วนใหญ่จะท ำมำจำกขำวเจ้ำ ต้องมีรสชำติเข้มข้นทั้ง

หวำน มัน และหอม

18. คลินิก หมำยถึง สถำนรักษำพยำบำล มักเป็นกิจกำรของเอกชน และรักษำเฉพำะโรคที่ไม่ร้ำยแรง

19. อุบำทว์ หมำยถึง อัปรีย์, เลวทรำม, ไม่เป็นมงคล

20. คัดสรร หมำยถึง กำรเลือกเฟน,กำรสรรหำ

21. สังสรรค์ หมำยถึง พบปะสนทนำกันด้วยควำมสนิทสนม

22. โคตร หมำยถึง ตระกูล, วงศ์สกุล, เผ่ำพันธุ์, ต้นสกุล อำจใช้ในควำมหมำยไม่สุภำพ หรือเป็นค ำด่ำ

23. จลำจล หมำยถึง ควำมสับสนวุ่นวำย, ควำมปั่นป่วนไม่เป็นระเบียบ, ควำมไม่เรียบร้อย

5

24. น้ ำมันก๊ำด หมำยถึง น้ ำมันชนิดหนึ่ง ได้จำกกำรกลั่นล ำดับส่วนน้ ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นเชื้อเพลิง จุด

ตะเกียง

25. ต ำหรับ หมำยถึง ต ำรำที่รวบรวมไว้เฉพำะเรื่อง

26. ทะเลสำบ หมำยถึง ห้วงน้ ำใหญ่ที่มีแผ่นดินล้อมรอบ

27. เครื่องส ำอำง หมำยถึง สิ่งส ำหรับเสริมควำมงำมแก่ใบหน้ำ ผิวพรรณ เรือนร่ำง ผม เป็นต้น

28. นะคะ หมำยถึง เป็นค ำต่อท้ำยประโยคต่ำงๆยกเว้นประโยคค ำถำม

29. บังสุกุล หมำยถึง เรียกผ้ำที่พระภิกษุชักจำกศพหรือทอดไว้หน้ำศพด้วยกำรปลงกรรมฐำนว่ำ ผ้ำ

บังสุกุล

30. บิดพลิ้ว หมำยถึง หลีกเลี่ยงไม่ท ำตำมสัญญำหรือข้อตกลง


2.ภำษำ



2.1) ควำมหมำยของภำษำ


กำรสื่อสำรจ ำเป็นต้องอำศัยสัญลักษณ์หรือภำษำเพอสื่อควำมคิด ควำมเข้ำใจ ควำมรู้สึกซึ่งกันและ
ื่
กัน กำรสื่อสำรจ ำเป็นต้องอำศัยทั้งสัญลักษณ์และภำษำเพอให้เกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ตรงกัน ควำมหมำย
ื่
ของภำษำมีผู้รู้ได้ให้ควำมหมำยและค ำนิยำมไว้อย่ำงหลำกหลำย ดังนี้


พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๒ : ๘๒๒) ให้ควำมหมำยของภำษำไว้



ื่
ว่ำ ภำษำ หมำยถึง ถ้อยค ำที่ใช้พดหรือเขียนเพอสื่อควำมของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภำษำไทย
ภำษำจีน หรือเพื่อสื่อควำมเฉพำะวงกำร เช่น ภำษำรำชกำร ภำษำก ำหมำย ภำษำธรรม; เสียง ตังหนังสือ

หรือกิริยำอำกำรที่สื่อควำมได้ เช่น ภำษำพูด ภำษำเขียน ภำษำท่ำทำง ภำษำมือ.



อดม วิโรตม์สิกขดิตย์(๒๕๔๗ : ๑-๒) กล่ำวว่ำ ภำษำ หมำยถึง กำรสื่อควำมหมำยที่ต้องมี
เสียง ควำมหมำย ระบบ กฏเกณฑ์ที่ยอมรับกันทั่วไป หรืออกนัยหนึ่งกล่ำวว่ำ ภำษำต้องมีโครงสร้ำง

(Structure)


มยุเรศ รัตนำนิคม(๒๕๔๒ : ๓) กล่ำวว่ำ ภำษำ หมำยถึง รหัสชนิดหนึ่งซึ่งมนุษย์ใช้สื่อ

ควำมหมำยระหว่ำงกันในกำรท ำกิจกรรมต่ำง ๆ โดยผ่ำนสื่อที่เป็นเสียงสัญลักษณ์ตำมที่ได้ตกลงยอมรับกันใน


สังคมของผู้ใช้รหัสเดียวกันนั้น เสียงสัญลักษณ์ดังกล่ำวจะต้องมีระบบแบบแผนที่แน่นอนและมีควำมสัมพนธ์
กันกับระบบควำมหมำยอันเป็นควำมหมำยที่สำมำรถเข้ำใจตรงกันได้ในหมู่ชนนั้น ๆ

6

นอกจำกนี้ยังมีนักวิชำกำรทั้งในและต่ำงประเทศได้ให้ควำมหมำยของภำษำในแนวทำงเดียวกัน

เช่น โรแนลด์ วอร์ดอฟ(Ronald Wardhaugh . ๑๙๗๒ : ๓), จอห์น์ บี แครอลล์(John B. Caroll. ๑๙๓๕



: ๑๐), เอซี กิมสัน(A.C. Gimson. ๑๙๗๐ : ๓), พชรี โภคำสัมฤทธิ์(๒๕๒๙ : ๑), พณทิพย์ ทวยเจริญ
(๒๕๒๕ : ๑), วิจินต์ ภำณุพงศ์(๒๕๒๒ : ๖) เป็นต้น


กล่ำวโดยสรุป ภำษำ หมำยถึง กำรวำงเงื่อนไขในกำรสื่อสำรของกลุ่มหรือสังคมนั้น ๆ โดย

เข้ำใจร่วมกันว่ำเงื่อนไขหรือรหัสที่ก ำหนดไว้หมำยถึงอะไร ซึ่งใช้สื่อสำรควำมคิด ควำมเข้ำใจและควำมรู้สึก

ของผู้สื่อไปยังผู้รับโดยอำศัยเงื่อนไขที่ก ำหนดไว้(ภำษำ)เป็นเครื่องสื่อควำมโดยภำษำต้องประกอบด้วยระบบ

ื่
ควำมหมำย และโครงสร้ำงเพอให้เข้ำใจตรงกันผู้อยู่ในกลุ่มหรือสังคมนั้น ๆ จึงต้องเรียนรู้ภำษำซึ่งกันและกัน
แต่บำงครั้งสิ่งที่เกิดจำกสัญชำตญำณก็อำจเป็นภำษำได้เช่น ภำษำสัตว์ ภำษำดนตรี ภำษำนก เป็นต้น


ภำษำสำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ วัจนภำษำ และ อวัจนภำษำ



1. วัจนภำษำ เป็นภำษำที่พดโดยใช้เสียงที่เป็นถ้อยค ำ สร้ำงควำมเข้ำใจกัน มีระเบียบในกำรใช้ถ้อยค ำในกำร


พด นอกจำกนั้นยังเป็นหนังสือที่ใช้แทนค ำพด ค ำที่ใช้เขียนจะเป็นค ำที่เลือกสรรแล้ว มีระเบียบในกำรใช้

ถ้อยค ำในกำรเขียนและกำรพูดตำมหลักภำษำ


2. อวัจนภำษำ เป็นภำษำที่ใช้สิ่งอนนอกเหนือจำงค ำพดและตัวหนังสือในกำรสื่อสำรเพอท ำให้เกิดควำมเข้ำใจ
ื่

ื่

ภำษำที่ไม่เป็นถ้อยค ำได้แก่ ท่ำทำงกำรแสดงออก กำรใช้มือใช้แขนประกอบกำรพดหรือสัญลักษณ์ต่ำงๆที่ใช้ใน
กำรสื่อสำรสร้ำงควำมเข้ำใจ เช่น สัญญำนไฟจรำจร สัญญำนธง เป็นต้น



2.2) ควำมส ำคัญของภำษำ


ภำษำเป็นเครื่องมือที่ใช้ในกำรสื่อสำรของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกันได้ เข้ำใจกันได้ก็ด้วยอำศัยภำษำเป็น


เครื่องช่วยที่ดีที่สุด ภำษำเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์มีควำมผูกพนต่อกัน เนื่องจำกแต่ละภำษำต่ำงก็มีระเบียบ
แบบแผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลงกันในแต่ละชำติแต่ละกลุ่มชน กำรพูดภำษำเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ท ำให้คนรู้สึกว่ำ

เป็นพวกเดียวกัน มีควำมผูกพนต่อกันในฐำนะที่เป็นชำติเดียวกัน ภำษำเป็นวัฒนธรรมอย่ำงหนึ่งของมนุษย์

และเป็นเครื่องแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอนๆของมนุษย์ด้วย เรำจึงสำมำรถศึกษำวัฒนธรรมตลอดจน
ื่
เอกลักษณ์ของชนชำติต่ำงๆได้จำกศึกษำภำษำของชนชำตินั้นๆ ภำษำศำสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภำษำต้อง

รักษำกฎเกณฑ์ในภำษำไว้ด้วยอย่ำงไรก็ตำม กฎเกณฑ์ในภำษำนั้นไม่ตำยตัวเหมือนกฎวิทยำศำสตร์ แต่มีกำร

เปลี่ยนแปลงไปตำมธรรมชำติของภำษำ เพรำะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตำมกำลสมัยตำมควำม

เห็นชอบของส่วนรวม ภำษำเป็นศิลปะ มีควำมงดงำมในกระบวนกำรใช้ภำษำ กระบวนกำรใช้ภำษำนั้น มี

7

ระดับและลีลำ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่ำงๆหลำยด้ำน เช่น บุคคล กำลเทศะ ประเภทของเรื่องฯลฯ กำรที่จะเข้ำใจ

ภำษำ และใช้ภำษำได้ดีจะต้องมีควำมสนใจศึกษำสังเกตให้เข้ำถึงรสของภำษำด้วยองค์ประกอบของภำษำ


2.3) องค์ประกอบของภำษำ


1.เสียง





นักภำษำศำสตร์จะให้ควำมส ำคัญของเสียงพดมำกกว่ำตัวเขียนที่เป็นลำยลักษณ์อกษร เพรำะภำษำย่อมเกิด
จำกเสียงที่ใช้พดกัน ส่วนภำษำเขียนเป็นสัญลักษณ์ ค ำที่ใช้พดจำกันจะประกอบด้วยเสียงสระ เสียงพยัญชนะ


และเสียงวรรณยุกต์ แต่บำงภำษำก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น บำลี สันสกฤต เขมร อังกฤษ


2.พยำงค์และค ำ


พยำงค์เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมำแต่ละครั้ง จะประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียง

วรรณยุกต์ จะมีควำมหมำยหรือไม่มีควำมหมำยก็ได้ พยำงค์แต่ละพยำงค์จะมีเสียงพยัญชนะต้น ซึ่งเป็นเสียงที่

อยู่หน้ำเสียงสระ พยำงค์ทุกพยำงค์จะต้องมีเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ บำงพยำงค์ก็อำจ

มีเสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วย



3.ประโยค



ประโยค เป็นกำรน ำค ำมำเรียงกันตำมลักษณะโครงสร้ำงของภำษำที่ก ำหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือระบบ

ตำมระบบทำงไวยำกรณ์ของแต่ละภำษำ และท ำให้ทรำบหน้ำที่ของค ำ



4.ควำมหมำย


1) ควำมหมำยตำมตัวหรือควำมหมำยนัยตรง เป็นควำมหมำยตรงของค ำนั้นๆ เป็นค ำที่ถูก

ก ำหนดและผู้ใช้ภำษำมีควำมเข้ำใจตรงกัน

2) ควำมหมำยในประหวัดหรือควำมหมำยเชิงอุปมำ เป็นควำมหมำยเพิ่มจำกควำมหมำยในตรง

8

3.สื่อกำรเรียนกำรสอน



3.1) ควำมหมำยของสื่อกำรเรียนกำรสอน


ควำมหมำยของสื่อกำรเรียนกำรสอน (Instructional Media) สื่อ (Media) หมำยถึง ตัวกลำงที่ใช่

ถ่ำยทอดหรือน ำควำมรู้ ในลักษณะต่ำง ๆ จำกผู้ส่งไปยังผู้รับให้เข้ำใจ ควำมหมำยได้ตรงกันในกำรเรียนกำร

สอนสื่อที่ใช้เป็นตัวกลำงน ำควำมรู้ในกระบวนกำรสื่อควำมหมำยระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียนเรียกว่ำสื่อกำรสอน


ในทำงกำรศึกษำมีค ำที่มีควำมหมำยแนวเดียวกันกับสื่อกำรเรียนกำรสอน เช่น สื่อกำรสอน (Instructional


Media or Teaclning Media) สื่อกำรสอน (Educational media) อปกรณ์ช่วยสอน (Teaching Aids) เป็น
ต้น ในปัจจุบันนักกำรศึกษำมักจะเรียกกำรน ำสื่อกำรเรียนกำรสอนชนิดต่ำง ๆ มำรวมกันว่ำ เทคโนโลยีทำงกำร


ศึกษำ(Educational) ซึ่งหมำยถึงกำรน ำเอำวัสดุอปกรณ์และวิธีกำรมำใช้ร่วมกันอย่ำงมีระบบในกำรเรียนกำร
สอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรสอน



สื่อกำรเรียนกำรสอน หมำยถึง สิ่งต่ำงๆ ที่เป็นบุคคล วัสดุ อปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีกำร ซึ่งเป็น

ตัวกลำงท ำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ตำมจุดประสงค์ของกำรเรียนกำรสอนที่ก ำหนดไว้ได้อย่ำงง่ำยและรวดเร็ว
เป็นเครื่องมือและตัวกลำงซึ่งมีควำมส ำคัญในกระบวนกำรเรียนกำรสอนมีหน้ำที่เป็นตัวน ำควำมต้องกำรของครู


ไปสู่ตัวนักเรียนอย่ำงถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตำมจุดมุ่งหมำยกำรเรียน
กำรสอนได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม นักกำรศึกษำเรียกชื่อกำรสอนด้วยชื่อต่ำง ๆ เช่น อปกรณ์กำรสอน


โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีกำรศึกษำ สื่อกำรเรียนกำรสอนสื่อกำรศึกษำ เป็นต้น


3.2) หลักกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอน


ื่
1. ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน เพอกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดควำมสนใจในเนื้อหำที่ก ำลังจะเรียนหรือเนื้อหำที่
เกี่ยวข้องกับกำรเรียนในครั้งก่อน แต่มิใช่สื่อที่เน้นเนื้อหำเจำะลึกอย่ำงแท้จริง เป็นสื่อที่ง่ำยในกำร

น ำเสนอในระยะเวลำอันสั้น

2. ขั้นด ำเนินกำรสอนหรือประกอบกิจกรรมกำรเรียน เป็นขั้นส ำคัญในกำรเรียนเพรำะเป็นขั้นที่จะให้

ื่
ควำมรู้เนื้อหำอย่ำงละเอยดเพอสนองวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ต้องมีกำรจัดล ำดับขั้นตอนกำรใช้สื่อให้

เหมำะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมกำรเรียน

3. ขั้นวิเครำะห์และฝึกปฏิบัติ สื่อในขั้นนี้จึงเป็นสื่อที่เป็นประเด็นปัญหำให้ผู้เรียนได้ขบคิดโดยผู้เรียนเป็น

ผู้ใช้สื่อเองมำกที่สุด

9

4. ขั้นสรุปบทเรียน เป็นขั้นของกำรเรียนกำรสอนเพอกำรย้ ำเนื้อหำบทเรียนให้ผู้เรียนมีควำมเข้ำใจที่
ื่
ถูกต้องและตรงตำมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ควรใช้เพียงระยะเวลำสั้นๆ

5. ขั้นประเมินผู้เรียน เป็นกำรทดสอบควำมสำมำรถของผู้เรียนว่ำผู้เรียนเข้ำใจในสิ่งที่เรียนถูกต้องมำก

น้อยเพยงใด ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นกำรประเมินจำกค ำถำมจำกเนื้อหำบทเรียนโดยอำจจะมีภำพ

ประกอบด้วยก็ได้


3.3) ประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน



1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่ สื่อเล็ก ซึ่งท ำหน้ำที่เก็บควำมรู้ในลักษณะของภำพเสียง และ อกษรในรูปแบบ

ต่ำง ๆ ที่ผู้เรียนสำมำรถใช้เป็นแหล่งหำประสบกำรณ์ หรือศึกษำได้อย่ำงแท้จริงและกว้ำงขวำง แบ่ง

ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ


1.1) วัสดุที่เสนอควำมรู้ได้จำกตัวมันเอง ได้แก่หนังสือเรียนหรือต ำรำของจริงหุ่นจ ำลอง

รูปภำพ แผนภูมิ แผนที่ ป้ำยนิเทศ เป็นต้น


1.2) วัสดุที่ต้องอำศัยสื่อประเภทเครื่องกลไก เป็นตัวน ำเสนอควำมรู้ได้แก่ฟล์มภำพยนตร์


แผ่นสไลด์ ฟล์มสตริป เส้นเทปบันทึกเทป รำยกำรวิทยุ รำยกำรโทรทัศน์ รำยกำรที่ใช้
เครื่องช่วยสอน เป็นต้น


2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ สื่อใหญ่ ที่เป็ฯตัวกลำงหรือทำงผ่ำนของควำมรู้

ถ่ำยทอดไปยังครูและนักเรียน สื่อประเภทนี้ตัวมันเองแทบไม่มีประโยชน์ต่อกำรสื่อควำมหมำยเลยถ้ำ


ไม่มีใครรู้ในรูปแบบต่ำง ๆ มำป้อนผ่ำนเครื่องกลไกลเหล่ำนี้ สื่อประเภทนี้จึงจ ำเป็นต้องอำศัยสื่อ
ประเภทวัสดุ บำงชนิดเป็นแหล่งควำมรู้ให้มันส่งผ่ำน ซึ่งจะท ำให้ควำมรู้ที่ส่งผ่ำนมีกำรเคลื่อนไหวไปสู่


นักเรียนจ ำนวนมำก ได้ไกลๆ และรวดเร็ว และบำงทีก็ท ำหน้ำที่เหมือนครูเสียเอง เช่น เครื่องช่วยสอน
ได้แก เครื่องฉำยภำพยนตร์ เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องฉำยภำพนิ่ง


3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีกำร ตัวกลำงในกระบวนกำรเรียนกำรสอนไม่จ ำเป็นต้องใช้แต่วัสดุหรือ
เครื่องมือเท่ำนั้น บำงครั้งจะต้องใช้เทคนิคและกลวิธีต่ำง ๆ ควบคู่กันไป โดยเน้นที่เทคนิคและวิธีกำร


เป็นส ำคัญ


3.4) คุณค่ำของสื่อกำรเรียนกำรสอน


1.สื่อกำรเรียนกำรสอนสำมำรถเอำชนะข้อจ ำกัดเรื่องควำมแตกต่ำงกันของประสบกำรดั้งเดิมของ

ผู้เรียน คือเมื่อใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนแล้วจะช่วยให้เด็กซึ่งมีประสบกำรณ์เดิมต่ำงกันเข้ำใจได้ใกล้เคียงกัน

10

2.ขจัดปัญหำเกี่ยวกับเรื่องสถำนที่ ประสบกำรณ์ตรงบำงอย่ำง หรือกำรเรียนรู้


3.ท ำให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรงจำกสิ่งแวดล้อมและสังคม



4.สื่อกำรเรียนกำรสอนท ำให้เด็กมีควำมคิดรวบยอดเป็นอย่ำงเดียวกัน


5.ท ำให้เด็กมีมโนภำพเริ่มแรกอย่ำงถูกต้องและสมบูรณ์



6.ท ำให้เด็กมีควำมสนใจและต้องกำรเรียนในเรื่องต่ำง ๆ มำกขึ้น เช่นกำรอำน ควำมคิดริเริ่ม
สร้ำงสรรค์ ทัศนคติ กำรแก้ปัญหำ ฯลฯ


7.เป็นกำรสร้ำงแรงจูงใจและเร้ำควำมสนใจ



8.ช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบกำรณ์จำกรูปธรรมสู่นำมธรรม


4..สื่อวิดีทัศน์


4.1) ควำมหมำยของสื่อวิดีทัศน์



วิดีทัศน์เป็นสื่อที่เหมำะสมส ำหรับใช้เพอกำรจัดกำรเรียนรู้ เพรำะวิดีทัศน์เป็นสื่อที่ท ำให้ผู้เรียนเห็น
ื่
ภำพได้ชัดเจน ซึ่งอำจเป็นภำพนิ่ง หรือภำพเคลื่อนไหว ท ำให้ผู้เรียนได้ยินเสียงที่สอดคล้องกับภำพนั้นๆ อก

ด้วย วิดีทัศน์สำมำรถใช้ในกำรสำธิต เป็นสิ่งที่สำมำรถช่วยให้ผู้เรียนเห็นสิ่งที่ควรเห็น ผู้สำธิตสำมำรถจัดเตรียม

และจัดท ำวิดีทัศน์ได้อย่ำงถูกต้อง ก่อนที่จะน ำไปใช้จริง นอกจำกนั้นกำรใช้วิดีทัศน์สำมำรถเลือกดูภำพช้ำ หรือ

หยุดดูเฉพำะภำพได้กำรบันทึกภำพวิดีทัศน์สำมำรถกระท ำได้ทั้งในห้องถ่ำยภำพ และห้องปฏิบัติกำรซึ่งเรำ

สำมำรถตัดต่อส่วนที่ต้องกำร หรือเพมเติมส่วนใหม่ลงไปได้ วิดีทัศน์เป็นสื่อที่สำมำรถตรวจเช็คภำพได้ทันที
ิ่
และในขณะที่ถ่ำยภำพถ้ำไม่พอใจก็สำมำรถลบทิ้ง และบันทึกใหม่ได้ ส ำหรับเสียงก็สำมำรถบันทึกลงในแหล่ง

บันทึกไปพร้อมๆ กับกำรบันทึกภำพได้ทันที


4.2) ประโยชน์ของสื่อวิดีทัศน์


1. ผู้ชมได้ เห็นภำพ และได้ยินเสียงไปพร้อม ๆ กันซึ่งเป็นกำรรับรู้ โดยประสำทสัมผัสทั้งทำงซึ่งยอม

ดีกว่ำกำรรับรู้ โดยผ่ำนประสำทสัมผัสอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเพียงอย่ำงเดียว

2. ผู้ชมสำมำรถเข้ำในกระบวนกำรที่ซับซ้อนได้โดยอำศัยศักยภำพของเครื่องมือ

11

3. กำรผลิตวิดีทัศน์ที่สำมำรถย่อขยำยภำพท ำให้ภำพเคลื่อนที่ช้ำ เร็ว หรือหยุดนิ่งได้ แสดงกระบวนกำร

ที่มีควำมต่อเนื่องมีล ำดับขั้นตอนได้ในเวลำที่ต้องกำรโดยอำศัยเทคนิคกำรถ่ำยท ำ และเทคนิคกำรตัด

ต่อ

4. บันทึกเหตุกำรณ์ในอดีต และหรือ เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นตำงสถำนที่ ตำงเวลำ แล้วน ำมำเปิดชมได้ทันที

5. เป็นสื่อที่ใช้ได้ทั้งเป็นรำยบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ และใช้ กับมวลชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกระดับชั้น

6. วิดีทัศน์ที่ได้รับกำรวำงแผนกำรผลิตที่ดี และผลิตอย่ำงมีคุณภำพสำมำรถใช้ แทนครูได้ ซึ่งจะเป็นกำร

ลดปัญหำกำรขำดแคลนครูได้ เป็นอย่ำงดี

7. ใช้ได้กบทุกขั้นตอนของกำรสอน ไม่ว่ำจะเป็นกำรน ำเข้ำสู่บทเรียนขั้นระหว่ำงกำรสอน หรือขั้นสรุป

8. ใช้เพื่อกำรสอนซ่อมเสริมได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ


ื่
9. ใช้เพอบันทึกภำพที่เกิดจำกอปกรณ์กำรฉำยได้ หลำยชนิด เช่น ภำพสไลด์ ภำพยนตร์ โดยไม่
จ ำเป็นต้องใช้เครื่องฉำยหลำยประเภทในห้องเรียน

10. ใช้เป็นแหล่งส ำหรับให้ผู้เรียนได้ศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเองโดยกำรท ำห้องสมุดวิดีทัศน์ใช้ในกำรฝึกอบรม

ผู้ สอนด้วยกำรบันทึกกำรสำธิตวิธีกำรสอน กำรบันทึกรำยกำร หรือกำรจัดกำร ศึกษำใหม่ๆ



5.Youtube


5.1) ควำมหมำยของ Youtube


Youtube คือเว็บไซต์ที่ให้บริกำรแลกเปลี่ยนภำพวิดีโอระหว่ำงผู้ใช้ได้ฟรี โดยน ำเทคโนโลยีของ

Adobe Flash Playerมำใช้ในกำรแสดงภำพวิดีโอ โดยผู้ใช้สำมำรถเข้ำดูวีดีโอต่ำงๆ พร้อมทั้งเป็นผู้อปโหลด

วีดีโอ ผ่ำน Youtube ได้ฟรี เมื่อสมัครสมำชิกแล้วผู้ ใช้จะสำมำรถใส่ภำพวิดีโอเข้ำไป แบ่งปันภำพวิดีโอให้คน

อนดูด้วย แต่หำกไม่ได้สมัครสมำชิกก็สำมำรถเข้ำไปเปิดดูภำพวิดีโอที่ผู้ใช้คนอน ๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แต่
ื่
ื่
ไม่สำมำรถเป็นผู้อัปโหลดวีดีโอได้



วิดีโอที่สำมำรถอัพโหลดลงยูทูบได้ ต้องมีควำมยำวไม่เกิน 15 นำที ยกเว้นวิดีโอจำกพำร์ทเนอร์ของ

ยูทูบที่ได้รับอนุญำตจำกยูทูบขนำดของไฟล์ไม่เกิน 2 GB ยูทูปสำมำรถรับ file วิดีโอที่อพโหลดเข้ำมำใน

นำมสกุลต่ำง ๆ ได้แก่ .AVI , .MOV, .MP4, .FLV, .DivX รวมทั้งรูปแบบ MPEG , VOB และ .WMV

นอกจำกนี้ยังรองรับไฟล์สกุล 3GP ที่อพโหลดเข้ำมำทำงโทรศัพท์มือถืออกด้วย ในกำรรับชมวีดีโอต่ำงๆผ่ำนยู


ทูปนั้นผู้ใช้งำนสำมำรถเลือกชมวิดีโอในโหมดคุณภำพต่ำงๆ กันได้แก่ standard quality (SQ), high quality

(HQ) หรือ high definition (HD) ตำมควำมชอบและตำมควำมเหมำะสม ของควำมเร็วในกำรดำวน์โหลด

โดยกำรรับชมวิดีโอจำกเว็บไซต์ เดิมผู้ชมต้องติดตั้ง Adobe Flash Player ลงในเว็บเบรำเซอร์จึงจะสำมำรถดู

12

ได้ แต่ในปัจจุบัน ยูทูบได้เปิดให้บริกำรเว็บ เวอร์ชั่นใหม่ ให้สำมำรถชมวิดีโอได้ผ่ำนเว็บเบรำเซอร์ใดๆ ที่รองรับ

มำตรฐำน HTML5 ซึ่งท ำให้ผู้ใช้งำนไม่จ ำเป็นต้องติดตั้ง Flash Player อีกต่อไป


5.2) ประโยชน์ของ Youtube


1. แหล่งรวมควำมรู้



นอกเหนือจำกคลิปวีดีโอทั่วไปแล้ว มีบำงคน บำงบริษัท ก็ได้มีกำรท ำคลิปวีดีโอเผยแพร่สิ่งต่ำงๆ ไม่ว่ำจะเป็น

ควำมรู้ทำงด้ำนไอที ควำมรู้ในกำรท ำอำหำร แนะน ำสินค้ำและบริกำร และอื่นๆ อีกมำกมำยที่น่ำสนใจ


2. แหล่งควำมบันเทิง


แน่นอน อีกสิ่งหนึ่งที่เรำสำมำรถพบเห็นได้บนยูทูบ นั่นคือ เพลง ละคร รำยงำนบันเทิงจำกช่องทีวีช่องปกติ ซึ่ง

มีกำรอัพลงบนยูทูบ และสร้ำงเป็นสถำนี หรือที่เรียกว่ำ Channel ให้ใครที่สนใจ สำมำรถดูย้อนหลังได้



3. แหล่งสร้ำงรำยได้


ปัจจุบันมีคนจ ำนวนมำก ท ำคลิปขำยสินค้ำในรูปแบบวีดีโอ สำมำรถสร้ำงรำยได้เป็นกอบเป็นก ำ หรือก็อำจน ำ

วีดีโอ ไปโฆษณำผ่ำนยูทูบซึ่งให้ผลลัพธ์เป็นที่น่ำพอใจเช่นกัน


4. หำรำยได้จำก YouTube โดยตรง


ไม่นำนมำนี้ ทำง YouTube ได้เปิดบริกำรให้เจ้ำของคลิปวีดีโอ สำมำรถหำรำยได้จำกำรท ำคลิปและให้คนทั่ว

โลกดูได้ โดยถ้ำมีจ ำนวน 10,000 Page view ขึ้นไป วีดีโอของเรำก็จะมีกำรแสดงโฆษณำแทรก และนี่เป็น


ช่องทำงในกำรท ำให้เรำสำมำรถมีรำยได้เพิ่มเติม


5. โปรโมทตัวเอง


ปัจจุบันมีคนไทยจ ำนวนหนึ่งที่มีกำรใช้ ยูทูบ ในกำรแนะน ำตัวเอง แสดงควำมสำมำรถไม่ว่ำจะเป็นกำรร้อง

ื่

เพลง เล่นดนตรี เต้นร ำ หรือแม้แต่กำรท ำอำหำร เพอเป็นช่องทำงหนึ่งในกำรประชำสัมพนธ์ ซึ่งขอบอกว่ำ มี
คนประสบควำมสำมำรถในช่องทำงนี้จ ำนวนไม่น้อย

13

บทที่ 3


วิธีด ำเนินกำรวิจัย



กำรศึกษำเรื่อง ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย ซึ่งได้ส ำรวจควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปี

ที่ 4 โรงเรียนทีปรำษฎร์พทยำ และได้จัดท ำสื่อวิดีทัศน์ขึ้นมำเพอเป็นสื่อกำรเรียนกำรสอนในเรื่องนี้ ซึ่งมี

ื่
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษำค ำที่มักใช้ผิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เพอสร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้
ื่
ผิด และ เพื่อเผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย ผ่ำนทำง Youtube


โดยมีขั้นตอนกำรด ำเนินวิจัยดังนี้


1. เลือกหัวข้อศึกษำค้นคว้ำที่ทำงคณะผู้จัดท ำสนใจ

2. ศึกษำเอกสำร ต ำรำ ที่เกี่ยวข้องกับ ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย

3. วำงแผนขอบเขตของข้อมูลและขอบเขตของหัวข้อที่ศึกษำค้นคว้ำ

4. รวบรวมข้อมูล ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยจำกช่องทำง Facebook Twitter และเว็บไซต์ต่ำงๆบน

อินเทอร์เน็ต

5. ด ำเนินกำรวิเครำะห์หัวข้อของข้อมูลตำมหัวข้อที่ศึกษำค้นคว้ำ

6. สรุปและอภิปรำยผลข้อมูลกำรศึกษำค้นคว้ำ

7. จัดท ำรูปแบบเล่มรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำ


8. น ำเสนอผลกำรศึกษำค้นคว้ำ


แหล่งข้อมูล

แหล่งข้อมูลที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยครั้งนี้ ได้แก่ Facebook Twitter และ

สื่ออินเทอร์เน็ต โดยได้รวบรวมค ำที่ผู้คนมักใช้ผิดมำจัดท ำเป็นโครงงำน เรื่อง กำรสร้ำงสื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิด

ในภำษำไทย เพอน ำสื่อกำรเรียนกำรสอนที่คณะผู้จัดท ำได้สร้ำงขึ้นมำเผยแพร่ให้ผู้ที่ต้องกำรศึกษำมีควำมรู้
ื่
ควำมเข้ำใจในเรื่องนี้มำกขึ้น

14

เกณฑ์ในกำรวิเครำะห์



1. เนื้อหำภำยในสื่อที่จัดท ำจะต้องมีควำมสัมพันธ์กับเนื้อที่คณะผู้จัดท ำได้ศึกษำและต้องกำรที่จะ

เผยแพร่


2. สื่อที่สร้ำงขึ้นจะต้องมีเนื้อหำที่ถูกต้อง ทันสมัย น่ำสนใจ และเป็นสื่อที่จะช่วยให้นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษำปีที่ 4 มีควำมเข้ำใจหรือมีควำมรู้ในเรื่องของค ำที่มักใช้ผิดได้มำกขึ้น


3. เป็นสื่อที่เหมำะสมกับวัย ระดับชั้น ควำมรู้ และประสบกำรณ์ของผู้เรียน


4. สื่อนั้นมีควำมสะดวกในกำรใช้ มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยำกจนเกินไป



5. เป็นสื่อที่มีคณภำพเทคนิคกำรผลิตที่ดี มีควำมชัดเจนและเป็นจริง


กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

ในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้ คณะผู้จัดท ำได้รวบรวมข้อมูลที่ใช้กำรวิเครำะห์จำกเว็บไซต์ Facebook

Twitter และเว็บไซต์ต่ำงๆบนอินเทอร์เน็ต



ซึ่งมีขั้นตอนกำรด ำเนินกำรดังต่อไปนี้


1. รวบรวมค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยจ ำนวน 30 ค ำ โดยรวบรวมค ำที่มักใช้ผิดจำก Facebook Twitter

และเว็บไซต์ต่ำงๆบนอินเทอร์เน็ต

2. สร้ำงแบบทดสอบควำมรู้ด้วยก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย google forms

2.1) เตรียมค ำส ำหรับสร้ำงแบบทดสอบ

2.2) สร้ำง ชื่อแบบทดสอบ

2.3) สร้ำงช่องส ำหรับระบุตัวตนผู้ทดสอบ

2.4) สร้ำงค ำชี้แจงแบบทดสอบนี้

2.5) เพิ่มค ำถำม

2.6) ใส่ค ำถำมลงในค ำถำมแต่ละข้อ จ ำนวน 30 ข้อ

2.7) ใส่ตัวเลือกลงในค ำถำมแต่ละขอ จ ำนวนข้อละ 2 ตัวเลือก

2.8) เพิ่มเฉลยค ำที่ถูกต้อง

2.9) ก ำหนดคะแนนแต่ละขอ ข้อละ 1 คะแนน

2.10) ตรวจสอบและแกไขควำมถูกต้องของแบบทดสอบ


15

2.11) สร้ำงแบบทดสอบหลังเรียน เหมือนกับวิธีกำรสร้ำงแบบทดสอบก่อนเรียนทุกประกำร

3. สร้ำงสื่อกำรเรียนรู้วิชำภำษำไทย ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย

3.1) ศึกษำวิธีกำรสร้ำงสื่อ

3.2) วำงแผนกำรสร้ำงสื่อ

3.3) รวบรวมค ำศัพท์และเนื้อหำ

3.4) ค้นคว้ำหำตัวอย่ำงสื่อที่น่ำสนใจเพื่อเป็นแนวทำงในกำรสร้ำงสื่อ

3.5) ออกแบบพนหลังของสื่อ
ื้
3.6) น ำเนื้อหำที่เตรียมไว้มำใส่ในสื่อ

3.7) เพิ่มเอฟเฟคลูกเล่นต่ำงๆ เช่น ภำพ เสียง ลงในสื่อ

3.8) ตัดต่อท ำเป็นวีดีโอเคลื่อนไหว

3.9) ตรวจสอบและแก้ไขควำมถูกต้องของสื่อ

3.10) เผยแพร่สื่อ ผ่ำนช่องทำง Youtube



ระยะเวลำในกำรด ำเนินกำร


ในกำรศึกษำเรื่อง ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย มีระยะเวลำในกำรด ำเนินกำรซึ่งแบ่งได้ ดังนี้


ล ำดับที่ ขั้นตอนกำรศึกษำ ช่วงเวลำ ผู้รับผิดชอบ

รวบรวมข้อมูลเอกสำรและ

1 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง วันที่ 10-15 เดือนธันวำคม พ.ศ.2563 คณะผู้จัดท ำ


รวบรวมค ำที่มักใช้ผิดจำก
2 Facebook และ Twitter วันที่ 16-18 เดือนธันวำคม พ.ศ. 2563 คณะผู้จัดท ำ




3 วิเครำะห์ข้อมูล วันที่ 25-30 เดือนธันวำคม พ.ศ.2563 คณะผู้จัดท ำ

4 สรุปและอภิปรำยผลข้อมูล วันที่ 10-15 เดือนมกรำคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดท ำ


ตรวจทำนและแก้ไขข้อมูลจัดท ำ

5 รูปเล่มรำยงำนศึกษำค้นคว้ำ วันที่ 18-20 เดือนมกรำคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดท ำ



6 น ำเสนอผลกำรศึกษำค้นคว้ำ วันที่ 26 เดือนมกรำคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดท ำ
ส่งรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำฉบับ

7 สมบูรณ์ วันที่ 26-29 เดือนมกรำคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดท ำ

16

บทที่ 4



กำรวิเครำะห์ข้อมูล



กำรศึกษำค้นคว้ำเรื่อง กำรสร้ำงสื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย คณะผู้จัดท ำได้แบ่งกำรวิเครำะห์

ื่
ข้อมูลออก เป็น 3 ประเด็น ตำมวัตถุประสงค์ในกำรศึกษำค้นคว้ำ ได้แก่ เพอศึกษำค ำที่มักใช้ผิดของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เพอสร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และ
ื่
เพื่อเผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ผ่ำนทำง Youtube ซึ่งมีรำยละเอียดกำรวิเครำะห์ข้อมูล ดังนี้


1. ศึกษำค ำที่มักใช้ผิด



กำรวิเครำะห์ ข้อมูลของค ำทมักใช้ผิดนี้ คณะผู้จัดท ำได้ใช้เกณฑ์กำรวิเครำะห์ของค ำจำก กำร
ี่
เปรียบเทียบค ำที่ใช้ถูกและผิดจำกพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน


ค ำที่ผิด ค ำที่ถูกต้อง ควำมหมำยของค ำ


คนที่มอวัยวะเพศทั้งชำยและหญิง,
กระเทย กะเทย
คนที่มีจิตใจและกิริยำอำกำรตรงข้ำมกับเพศของตน
โควต้ำ โควตำ กำรจ ำกัดจ ำนวนโดยวำงกฎเกณฑ์ไว้

ต่ำงๆนำๆ ต่ำงๆนำนำ หลำกหลำย

ผลัดวันประกันพรุ่ง ผัดวันประกันพรุ่ง ขอเลื่อนเวลำออกไปครั้งแล้วครั้งเล่ำ.
ผำสุข ผำสุก ควำมส ำรำญ, ควำมสบำย

พแนง พะแนง แกงคั่วไก่หรือเนื้อเป็นต้น น ้ำแกงข้น

เป็นกำรกระท ำเพื่อสิ้นสุดควำมสัมพันธ์ทำงกำรสมรสที่
อย่ำร้ำง หย่ำร้ำง

ท ำขึ้นอย่ำงถกต้องตำมกฎหมำย
มัคคุเทศน์ มัคคุเทศก์ ผู้น ำทำง, ผู้ชี้ทำง, ผู้บอกทำ

กงก ำกงเกวียน กงเกวียนก ำเกวียน ใช้เป็นค ำอุปมำหมำยควำมว่ำ เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม
กังวำล กังวำน ก้องอยู่ได้นำน

อนุญำติ อนุญำต ยินยอม, ยอมให้, ตกลง

ขี้เกลียด ขี้เกียจ มีนิสัยไม่ชอบท ำงำน
ศรีษะ ศีรษะ ส่วนบนสุดบนร่ำงกำยของคนหรือสัตว์

17

ค ำที่ผิด ค ำที่ถูกต้อง ควำมหมำยของค ำ

อำนิสงฆ์ อำนิสงส์ ผลแห่งกุศลกรรม, ผลบุญ
อำหำรคำวอย่ำงหนึ่ง ใช้ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กผัดกับเครื่องปรุงมีน้ ำ

ผัดไท ผัดไทย มะขำมเปียก เต้ำหู้เหลือง หัวไช้โป๊ กุ้งแห้งหรือกุ้งสด ใบกุยช่ำย

ถั่วงอก
ใบกระเพรำ ใบกะเพรำ เป็นไม้ล้มลุก นิยมน ำใบมำประกอบอำหำร คือ ผัดกะเพรำ

ข้ำวเหนียวมูล ข้ำวเหนียวมูน เป็นขนมไทยภำคกลำง ขนมส่วนใหญ่จะท ำมำจำกข้ำวเจ้ำ

สถำนรักษำพยำบำล โดยมำกเป็นของเอกชน
คลีนิก คลินิก
มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษำตัวประจ ำ

อุบำท อุบำทว์ อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล

คัดสรรค์ คัดสรร กำรเลือกเฟ้น,กำรสรรหำ
สังสรร สังสรรค์ ที่พบปะวิสำสะกันเป็นครั้งครำวด้วยควำมสนิทสนม

วงศ์สกุล, เผ่ำพันธุ์, ต้นสกุล ค ำนี้บำงทีก็น ำไปใช้ในควำมหมำย
โครต โคตร
ไม่สุภำพหรือเป็นค ำด่ำ
จรำจล จลำจล ควำมปั่นป่วนวุ่นวำยไม่มีระเบียบ

น้ ำมันก๊ำซ น้ ำมันก๊ำด น ้ำมันชนิดหนึ่งใช้จุดไฟตะเกียงเป็นต้น

ต ำหรับ ต ำรับ ต ำรำที่ก ำหนดไว้เป็นเฉพำะแต่ละเรื่องละรำย
ห้วงน ้ำใหญ่ที่มีแผ่นดินล้อมรอบ มี 2 ชนิด คือ
ทะเลสำป ทะเลสำบ
ทะเลสำบน ้ำจืด และทะเลสำบน ้ำเค็ม

สิ่งเสริมแต่งหรือบ ำรุงใบหน้ำ ผิวพรรณ ผม ฯลฯ ให้ดูงำม
เครื่องส ำอำงค ์ เครื่องส ำอำง
เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว


นะคะ นะคะ ค ำต่อท้ำยประโยคแสดงควำมสุภำพของสุภำพสตรี
เรียกผ้ำที่พระภิกษุชักจำกศพ หรือที่ทอดไว้หน้ำศพ หรือที่ทอดบน
บังสกุล บังสุกุล ด้ำยสำยสิญจน์หรือผ้ำโยงที่ต่อจำกศพด้วยกำรปลงกรรมฐำน

ว่ำ ผ้ำบังสุกุล

บิดพริ้ว บิดพลิ้ว หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตำมสัญญำหรือปฏิบัติไม่ตรงตำมข้อตกลง


ตำรำงที่ 1 ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย

18

2.สื่อวิดีทัศน์ ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย



กำรวิเครำะห์สื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยนี้ คณะผู้จัดท ำได้ใช้เกณฑ์กำรวิเครำะห์ จำก

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 โดยกำรให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 รับชมสื่อวิดีทัศน์ที่คณะผู้จัดท ำได้จัดท ำ

ื่
ขึ้น เพอให้มีควำมเข้ำใจมำกยิ่งคนในเรื่องค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย จำกกำรที่คณะผู้จัดท ำได้เผยแพร่สี่อสิดี
ทัศน์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่4 ได้รับชมแล้ว หำกสื่อวิดีทัศน์ที่จัดท ำขึ้น มีคุณภำพจะท ำให้ผู้เรียนมี

ควำมรู้ ควำมเข้ำใจมำกขึ้น โดยมีหัวข้อกำรวิเครำะห์ ได้แก่

1.เนื้อหำภำยในสื่อที่จัดท ำจะต้องมีควำมสัมพนธ์กับเนื้อหำที่คณะผู้จัดท ำได้ศึกษำและต้องกำรที่จะ

เผยแพร่


2.สื่อที่สร้ำงขึ้นจะต้องมีเนื้อหำที่ถูกต้อง ทันสมัย น่ำสนใจ และเป็นสื่อที่จะช่วยให้นักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 มีควำมเข้ำใจหรือมีควำมรู้ในเรื่องของค ำที่มักใช้ผิดได้มำกขึ้น


3. เป็นสื่อที่เหมำะสมกับวัย ระดับชั้น ควำมรู้ และประสบกำรณ์ของผู้เรียน


4. สื่อนั้นมีควำมสะดวกในกำรใช้ มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยำกจนเกินไป


5. เป็นสื่อที่มีคุณภำพเทคนิคกำรผลิตที่ดี มีควำมชัดเจนและเป็นจริง


3.กำรเผยแพร่สื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย



กำรวิเครำะห์ช่องทำงเผยแพร่สื่อ คณะผู้จัดท ำได้ใช้เกณฑ์กำรวิเครำะห์ ดังนี้

1.ผู้ใช้งำนอินเตอร์เน็ตส่วนมำกมักใช้งำน



2.เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริกำรแลกเปลี่ยนภำพวิดีโอระหว่ำงผู้ใช้ได้ฟรี


3.ส ำหรับโรงเรียนเปิดโอกำสให้โรงเรียนต่ำงๆ เข้ำถึงวิดีโอเพื่อกำรศกษำฟรีจำกวิดีโอเหล่ำนี้


4.สำมำรถก ำหนดค่ำเนื้อหำที่ดูได้ตำมต้องกำร



5.เป็นช่องทำงที่เข้ำถึงได้ง่ำยกับทุกวัย


จำกเกณฑ์กำรวิเครำะห์ช่องทำงที่ต้องกำรเผยแพร่สื่อ คณะผู้จัดท ำจึงเลือกเผยแพร่สื่อวีดิทัศน์ที่จัดท ำ

ขึ้น ผ่ำนช่องทำง Youtube เนื่องจำกเป็นช่องทำงที่เข้ำถึงง่ำย ฟงก์ชันในกำรท ำงำนก็ค่อนข้ำงที่จะง่ำย มี

ผู้ใช้งำนจ ำนวนมำก และยังเป็นที่นิยมในยุคปัจจุบัน คณะผู้จัดท ำจึงเลือกเผยแพร่สื่อวิดีทัศน์ผ่ำนช่องทำง

Youtube

19

บทที่ 5



สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ


กำรศึกษำค้นคว้ำเรื่อง กำรสร้ำงสื่อวิดีทัศน์ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย มีวัตถุประสงค์ในกำรศึกษำ

ื่
ค้นคว้ำเพื่อศึกษำ เพื่อศึกษำค ำที่มักใช้ผิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เพอสร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่
ื่
มักใช้ผิด ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และ เพอเผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ โดยแหล่งข้อมูลหรือกลุ่ม
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำครั้งนี้ คือ รวบรวมข้อมูล ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยจำกช่องทำง Youtube Twitter

และเว็บไซต์ต่ำงๆบนอนเทอร์เน็ต และกลุ่มตัวอย่ำง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 โรงเรียนทีปรำษฎร์

พิทยำ ซึ่งได้ก ำหนดวิธีกำรศึกษำ ตำมขั้นตอนดังนี้


1) รวบรวมค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยจ ำนวน 30 ค ำ โดยรวบรวมค ำที่มกใช้ผิดจำก Facebook Twitter
และเว็บไซต์

2) สร้ำงแบบทดสอบควำมรู้ด้วยก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย google forms

3) สร้ำงสื่อกำรเรียนรู้วิชำภำษำไทย ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย



กำรสรุปผลข้อมูล



คณะผู้จัดท ำได้สรุปผลกำรวิจัยตำมวัตถุประสงค์ในกำรศกษำค้นคว้ำ ดังรำยละเอียดต่อไปนี้

1. ผลกำรศึกษำ กำรท ำแบบทดสอบกอนและหลังรับชมสื่อวิดีทัศน์ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด
ภำษำไทย ของนักเรียนมัธยมศึกษำปีที่ 4 จ ำนวน 6 ห้อง ของโรงเรียนทีปรำษฎร์พิทยำ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์

นำยศิวกร โชติกรณ์ 17 27
เด็กชำยคมกฤต วณกิจเจริญ 21 30

นำงสำวกัลยำพร แซ่เซียด 13 30

นำงสำวทักษพร ด่ำนสวัสดิ์ 22 30
นำงสำวสุวิณี บุญทัน 11 28

นำงสำวอัฐภิญญำ เดชะ 21 29

คะแนนเฉลี่ย 17.50 29


ตำรำงที่ 2 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1

20


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/2 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์
นำยอภิวัฒน์ แสนนนท์ค ำ 13 17

นำงสำวปภำวี วะชุม 25 30

นำงสำวจุฑำมำศ กำลจักร 17 28
นำงสำวจรัญญำ สงศรี 26 29

นำงสำวดวงกมล รักหวำน 23 28

เด็กหญิงสุนิษำ ไชยโคตร 15 15
คะแนนเฉลี่ย 19.83 24.50


ตำรำงที่ 3 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/2




นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/3 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์
นำยอภิสิทธิ์ คลิ้งบัวทอง 18 30

นำยอริย์ธัช พูลทรัพย์ 16 15

นำยณัฐพัฒน์ สมใจหมำย 24 24
นำยปพน สุขโข 16 14

นำงสำวณัฐนิตย์ ถี่ถ้วน 21 16

นำงสำวสุรัสวดี ยอดไสว 17 22
คะแนนเฉลี่ย 18.67 20.17



ตำรำงที่ 4 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/3



นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/4 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์
นำยณัฐวุฒิ หันจรูญ 14 29

นำยปฏิพล จิตมุ่ง 18 23

นำยอำอซ เจ๊ะมะหมัด 17 30

นำงสำวสุธำริณี ประเทพำ 18 30

นำงสำวมลทกำนต์ ธรรมชำติ 14 26

นำงสำวกนกพร หำญมนตรี 12 27
คะแนนเฉลี่ย 15.50 27.50



ตำรำงที่ 5 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/4

21


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/5 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์
เด็กชำยปรัชญำ รัตนะรำช 15 29

นำยฌัฎฐกร ค ำงำม 15 24

นำยจิรภัทร ทองเมือง 15 27
เด็กหญิงกญญำรัตน์ เก่งนอก 18 24

นำงสำวนัฐริกำ ธรฤทธิ์ 25 30

นำงสำววันวิภำ ทหำรเสือ 19 29

คะแนนเฉลี่ย 17.83 27.17


ตำรำงที่ 6 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/5


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/6 คะแนนก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนหลังชมสื่อวิดีทัศน์

นำยจีระพงษ์ ภูนำไชย 21 28

นำยณัฐดนัย ชำตำนันท์ 17 30
นำยสันติภำพ เขตสระน้อย 18 29

นำยธนทัต วรรณโสภณ 9 10

นำยปฎิภำณ กรรณสูตร 19 14


นำยระพพัฒน์ ศรีรัตน์ 13 30
คะแนนเฉลี่ย 16.16 23.50


ตำรำงที่ 7 คะแนนทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/6

22

2. สรุปคะแนนเฉลี่ยทั้งหมดในกำรท ำแบบทดสอบก่อนและหลังรับชมสื่อวิดีทัศน์ เรื่อง ค ำท ี่


มักใช้ผิดในภำษำไทย ของนักเรียนมัธยมศึกษำปีที่ 4 จ ำนวน 6 ห้อง ของโรงเรียนทีปรำษฎร์พิทยำ



นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยก่อนรับชมสื่อวิดีทัศน์ คะแนนเฉลี่ยหลังชมสื่อวิดีทัศน์
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1 17.50 29.00

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/2 19.83 24.50

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/3 18.67 20.17
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/4 15.50 27.50

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/5 17.83 27.17

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/6 16.16 23.50
คะแนนเฉลี่ยทั้งหมด 17.58 25.30



ตำรำงที่ 8 คะแนนเฉลี่ยจำกแบบทดสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4


อภิปรำยผล


ในกำรศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงสื่อ ค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทย คณะผู้จัดท ำพบว่ำ นักเรียน


มัธยมศึกษำปีที่ 4 ของโรงเรียนทีปรำษฎร์พิทยำ ได้รับควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องค ำที่มักใช้ผิดในภำษำไทยมำก
ยิ่งขึ้นจำกกำรเข้ำร่วมรับชมสื่อวีดีโอและท ำแบบทดสอบก่อนรับชมสื่อและหลังรับชมสื่อของคณะผู้จัดท ำที่


จัดท ำขึ้น ตำมวัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดท ำที่วำงไว้ ได้แก ่
1) เพื่อศึกษำค ำที่มักใช้ผิดจำก Facebook Twitter และเว็บไซต์ออนไลน์ต่ำงๆบนอินเทอร์เน็ต


2) เพื่อสร้ำงสื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4

3) เพื่อเผยแพร่สื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง ค ำที่มักใช้ผิด ผ่ำนทำง Youtube


ได้เป็นอย่ำงดีเยี่ยม และสำมำรถน ำควำมรู้ที่ได้รับจำกสื่อที่คณะผู้จัดท ำได้จัดท ำขึ้นไปปรับใช้ใน

ชีวิตประจ ำวันของนักเรียนได้ และนักเรียนยังสำมำรถน ำสื่อที่คณะผู้จัดท ำได้จัดท ำขึ้นไปเผยแพร่ต่อจำกนี้ได้

อย่ำงไม่จ ำกัดผ่ำนช่องทำง Youtube ที่บุคคลทั่วไปสำมำรถเข้ำถึงได้ง่ำย


ข้อเสนอแนะในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งต่อไป

1. ควรศึกษำค ำภำษำไทยที่มักใช้ผิดให้ครอบคลุมมำกยิ่งขึ้น

2. ควรหำช่องทำงกำรเผยแพร่สื่อให้หลำกหลำยมำกกว่ำช่องทำงเดียว

3. ควรพัฒนำสื่อให้มีควำมน่ำสนใจมำกยิ่งขึ้น

23

บรรณำนุกรม



Aizen Sosuke. (2557) . ภำษำมีควำมส ำคัญอย่ำงไร . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/questiondetail/8803


สืบค้นเมื่อ 11 ธันวำคม 2563



Maymatavee . (2559) . ควำมหมำยของสื่อกำรเรียนกำรสอน . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://mataveeblog.wordpress.com/2016/02/15 สืบค้นเมื่อ 15 ธันวำคม 2563


Mr. ONE . (2560) . YouTube คืออะไร . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://technointrend.com/what-is-youtube/ สืบค้นเมื่อ 10 ธันวำคม 2563


Natchaphon B . (2561) . 100 ค ำที่มักเขียนผิดในภำษำไทย . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://www.sanook.com/campus/1391961/ สืบค้นเมื่อ 10 ธันวำคม 2563


เกษมทรัพย์ เพลินจิตจ ำรุญ . (2552) . ประโยชน์ของวีดิทัศน์ . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://sites.google.com/site/vediowidithasn/ สืบค้นเมื่อ 14 ธันวำคม 2563


ธันวิน ณ นคร . (2561) . วีดิทัศน์คืออะไร . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :



https://www.deebuk.ac.th/krutop/p1-1.html สืบค้นเมื่อ 12 ธันวำคม 2563


พิมล มองจันทร์ . (2552) . ภำษำคืออะไร . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://www.gotoknow.org/posts/322514 สืบค้นเมื่อ 12 ธันวำคม 2563



หนึ่งฤทัย จันทร์เครือยิ้ม . (2554) . ควำมหมำยของภำษำ . [ออนไลน์] . เข้ำถึงได้จำก :


https://nungruatai11.wordpress.com/ สืบค้นเมื่อ 13 ธันวำคม 2563


Click to View FlipBook Version