The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rungnapha Sivayavirote, 2021-01-27 06:26:37

โครงงาน เรื่อง การศึกษาความแตกต่ายของภาษาไทโย้ยและภาษาถิ่นอีสาน

โครงงานภาษาไทย


เรื่อง การศึกษาความแตกต่างของภาษาไทโย้ยกับภาษาถิ่นอีสาน




คณะผู้จัดท า



1. นางสาวกัณฐิการ์ เกตุสุวรรณ์ เลขที่ 24



2. นางสาวกุลปริยา ศรีเมือง เลขที่ 31


3. นางสาวรวิสรา เจริญชัย เลขที่ 33


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1





เสนอ


อาจารย์ธิรพงษ์ คงด้วง




รายงานโครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ท33102 ภาษาไทย


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่องนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความแตกต่างของภาษาไทโย้ยกับภาษาถิ่นอสาน โดยค้นคว้าหา

ื่
ี่

ความรู้จากในอนเทอร์เน็ต และผู้รู้ การจัดท าโครงงานครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากพอแม่พน้องและเพอน

ที่รู้ภาษาอีสานและให้ความร่วมมือในการรวบรวมหาค าศัพท์ภาษาอีสานได้เป็นอย่างดี และขอขอบคุณคุณครูที่
ปรึกษาโครงงาน คุณครูธิรพงษ์ คงด้วง ที่ให้ค าแนะน าช่วยเหลือและแก้ไขการท าโครงงานครั้งนี้จนโครงงาน

เล่มนี้ส าเร็จตามความมุ่งหมาย

คณะผู้จัดท าโครงงาน จึงใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านดังกล่าวข้างต้นไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง



คณะผู้จัดท า

สารบัญ

หน้า

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ
สารบัญตาราง

บทที่ 1 บทน า

1.1ที่มาและความส าคัญของโครงงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ในการศกษา 1

1.3 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 1
2
1.4นิยามศัพท์เฉพาะ

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1ความส าคัญของภาษาถิ่น 3

2.2ภาษาท้องถิ่นภาคอีสาน 4
2.3ภาษาไทโย้ย 6

2.4 ภาษาตระกูลขร้า-ไท 7

บทที่ 3 วิธีด าเนินโครงงาน
3.1แหล่งข้อมูล 8

3.2เกณฑ์ในการวิเคราะห์ 8

3.3การเก็บรวมรวบข้อมูล 8
3.4การวิเคราะห์ข้อมูล 8

3.5 ตารางการด าเนินงาน 8

บทที่ 4ผลการด าเนินงานโครงงาน
4.1ตารางการเปรียบเทียบภาษไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่นอีสาน และ 10

ภาษาไทโย้ย
4.2ตารางเปรียบเทียบลักษณะการเปลี่ยนแปลงของค าภาษาไทย 13

มาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสานและภาษาไทโย้ย

บทที่ 5สรุปและอภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ
5.1สรุปผลการศึกษา 16

5.2ผลอภิปราย 16
5.3ข้อเสนอแนะ 17

บรรณานุกรม 18

สารบัญตาราง




หน้า
ตารางที่ 3.1ตารางการด าเนินงาน 9

ตารางที่ 4.1ตารางการเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน 10

ภาษาถิ่นอีสานและภาษาไทโย้ย
ตารางที่4.2 ตารางเปรียบเทียบลักษณะการเปลี่ยนแปลง 13

ของค าภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นอีสาน

และภาษาไทโย้ย

1


บทที่ 1

บทน ำ

ที่มำและควำมส ำคัญของกำรศึกษำ

ภำษำถิ่น หรือ ส ำเนียง ซึ่งถ้ำอ้ำงอิงในควำมหมำยของสำรำนุกรมเสรี คือ ภำษำเฉพำะของท้องถิ่นใด

ท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพำะตัวทั้งถ้อยค ำและส ำเนียง เป็นต้น ในยุคปัจจุบันภำษำถิ่นถือเป็นภำษำที่จะใช้

เฉพำะกับคนในครอบครัวหรือคนใกล้ชิดที่สนิทชิดเชื้อเท่ำนั้นน้อยมำกที่จะน ำมำใช้ในที่สำธำรณะแม้ว่ำใน

ิ่
สถำนที่นั้นจะมีผู้คนที่ใช้ภำษำถิ่นด้วยก็ตำม เพรำะคนไทยในปัจจุบันมีค่ำนิยมใหม่ๆเพมขึ้นทุกวันท ำให้หลำย
คนมองว่ำภำษำถิ่นเป็นค่ำนิยมที่ผิดแปลกล้ำหลัง และเกิดเป็นประโยคที่ว่ำ “มันเป็นเรื่องน่ำอำยที่จะให้ฉันพด


ภำษำถิ่น” หรือ “ฉันพดไม่เป็น” เมื่อถูกถำม เพรำะกลัวคนอนจะคิดว่ำตนเองแปลกประหลำด บ้ำนนอก บำง
ื่

คนอำจจะโดนเหยียดด้วยสำยตำ แต่บำงคนอำจไม่คิดแบบนั้นเพรำะเมื่อเข้ำมำอยู่ในสังคมเมืองกรุง คนส่วน


ใหญ่ก็มำจำกต่ำงจังหวัดทั้งนั้น ก็อำจจะคิดว่ำคนอนอำจจะฟงภำษำบ้ำนเรำ หรือภำษำถิ่นของเรำไม่รู้เรื่อง ดัง
ื่
ส ำนวนที่ว่ำ เข้ำเมืองตำหลิ่ว ต้องหลิ่วตำตำม ดังนั้น ไม่ว่ำจะเป็นกำรไม่กล้ำพด เพรำะกลัวคนอนมองว่ำแปลก
ื่

ื่
ประหลำด หรือจะคิดว่ำคนอนจะฟงไม่รู้เรื่อง ปัญหำเหล่ำนี้ล้วนมีส่วนท ำให้ภำษำถิ่น อำจสูญหำยไปได้

เนื่องจำกไม่มีใครพูด และเด็กรุ่นใหม่ก็ไม่มีกำรปลูกฝังให้พูด

ที่กล่ำวมำท ำให้คณะผู้จัดท ำได้เล็งเห็นถึงปัญหำและค่ำนิยมผิดๆมำกมำย จึงจัดท ำโครงงำนนี้ขึ้นมำ

ื่
เพอเป็นกำรเผยแพร่วัฒนธรรมทำงภำษำที่น่ำภำคภูมิในของคนในจังหวัดสกลนครนั่นก็คือภำษำไทโย้ยและ
ภำษำถิ่นอีสำน



วัตถุประสงค์ในกำรศึกษำ

1.เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงควำมแตกต่ำงทำงภำษำและส ำเนียงของภำษำไทโย้ยและภำษำถิ่นอีสำน

2.เพื่อให้เกิดกำรสื่อสำรที่เข้ำใจตรงกัน

3.เพื่อให้เห็นคุณค่ำและควำมส ำคัญของภำษำอีสำน



ขอบเขตของกำรศึกษำ

1.พื้นที่ส ำรวจ หำข้อมูลและรวบรวมข้อมูล ณ อ ำเภอเกำะสมุย จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี

2.ผู้ให้สัมภำษณ์

2




นำงสำวลักษมณ เลิศศิลำ อำยุ 18 ปีเกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลำคม พ.ศ.2545 บ้ำนเลขที่73หมู่10 ต ำบลวังสำมัคคี

อ ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด (คนร้อยเอ็ด)


นำงขวัญฤดี เจริญชัย อำยุ 45 ปี เกิดวันที่23 พฤษภำคม พ.ศ. 2519 บ้ำนเลขที่76 หมู่6 ต ำบลสำมัคคีพฒนำ
อ ำเภออำกำศอ ำนวย จังหวัดสกลนคร (คนสกลนคร)

นำงบุญเรือง เกตุสุวรรณ์ อำยุ 49 ปี เกิดวันที่ 11 เมษำยน พ.ศ. 2515 บ้ำนเลขที่3/2 หมู่3 ต ำบลบ่อ

ผุด อ ำเภอเกำะสมุย จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี(คนกำฬสินธิ์)

นำยอำพล นำโควง อำยุ 49ปี เกิดเมื่อวันที่1 กันยำยน พ.ศ. 2515 บ้ำนเลขที่221 หมู่3ต ำบลสำมัคคี

พัฒนำ อ ำเภออำกำศอ ำนวย จังหวัดสกลนคร (สกลนคร)





นิยำมศัพท์เฉพำะ

ภำษำถิ่นหมำยถึง ภำษำเฉพำะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพำะตัวทั้งถ้อยค ำและ

ส ำเนียงเป็นต้น

ภำษำอีสำนหมำยถึง ภำษำถิ่นที่มีคนส่วนมำกใช้พูดจำกันในภำคตะวันออกเฉยงเหนือ ภำษำถิ่นอสำน


นอกจำกจะใช้พูดจำกันในภำคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ยังมีกำรพูดจำกันในประเทศสำธำรณรัฐประชำธิปไตย

ประชำชนลำวอีกด้วย


ภำษำไทโย้ยหมำยถึงเป็นภำษำในตระกูลภำษำขร้ำ-ไท ผู้พดภำษำนี้ตั้งถิ่นฐำนในจังหวัดสกลนคร ประเทศ
ไทย และในประเทศลำว



ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

1.ได้ท ำให้เห็นถึงควำมแตกต่ำงทำงภำษำและส ำเนียงของภำษำไทโย้ยและภำษำถิ่นอีสำน

2.ได้ท ำให้เกิดกำรสื่อสำรที่เข้ำตรงกัน

3.ได้ท ำให้เห็นคุณค่ำและควำมส ำคัญของภำษำอีสำน

3




บทที่ 2


เอกสำรที่เกี่ยวข้อง

ควำมส ำคัญของภำษำถิ่น

ภำษำถิ่น เป็นภำษำที่พดกันในท้องถิ่นต่ำงๆ ตำมปกติ เป็นภำษำที่คนในถิ่นนั้นๆ ยังคงพดและใช้อยู่


จ ำนวนมำก ค ำบำงค ำในภำษำกลำงได้เลิกใช้ไปแล้ว แต่ในภำษำถิ่นยังคงรักษำขนบธรรมเนียมไว้เป็นอย่ำงดี

ในกำรศึกษำภำษำถิ่นย่อมจะศึกษำท้องถิ่นในด้ำนที่อยู่อำศัย ควำมเป็นอยู่ ควำมเชื่อ ขนบธรรมเนียม

ประเพณีและวัฒนธรรมได้ เพรำะภำษำเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ภำษำถิ่นจะรักษำค ำเดิมได้ดีกว่ำภำษำ

มำตรฐำน เพรำะจะมีกำรเปลี่ยนแปลงทำงภำษำและวัฒนธรรมน้อยกว่ำ นอกจำกนี้กำรศึกษำในท้องถิ่นมี

ประโยชน์ในกำรศึกษำด้ำนวรรณคดีอกด้วย เพรำะวรรณคดีเก่ำๆ นั้น ใช้ภำษำโบรำณ ซึ่งเป็นภำษำถิ่นจ ำนวน

มำก เช่น วรรณคดีสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยำ และสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ถ้ำเรำไม่เข้ำใจภำษำถิ่นที่ใช้ ก็จะ

ตีควำมไม่ออกและยำกต่อกำรศึกษำวรรณคดีนั้นๆ ได้ ฉะนั้นเรำจึงควรอย่ำงยิ่งที่จะต้องศึกษำภำษำถิ่นทุกถิ่น

จึงจะมีควำมรู้กว้ำงขวำง เช่น ในหลักศิลำจำรึกพ่อขุนรำมค ำแหงหลักที่ 1 ว่ำ “เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้ำเข้ำ” ค ำ


ว่ำ “เข้ำ” แปลว่ำ ปี สิบเก้ำเข้ำ คือ อำยุเต็ม 18 ย่ำง 19 “ตนกูพงช้ำงขุนสำมชนตัวชื่อมำสเมืองแพขุนสำมชน
ุ่
พ่ำยหนี” ค ำว่ำ แพ้ ในที่นี้ เป็นภำษำถิ่นเหนือ แปลว่ำชนะ ค ำว่ำ พำย จึงแปลว่ำ แพ ถ้ำเป็นภำษำกลำง ค ำว่ำ


พ่ำย หรือค ำว่ำแพ้ แปลเหมือนกันคือไม่ชนะ


ข้อควำมนี้หมำยถึงพอขุนรำมค ำแหงทรงไสช้ำงเข้ำชนกับช้ำงของขุนสำมชนตัวที่ชื่อมำสเมือง และ
พระองค์ทรงสำมำรถรบชนะขุนสำมชนจนขุนสำมชนแพ้แล้วไสช้ำงหนีไป (ระวีวรรณ อินทร์แหยม, 2542, หน้ำ

10)

นอกจำกนี้ ฉันทัส ทองช่วย (2534, หน้ำ 13-15) กล่ำวว่ำ ภำษำถิ่น เป็นภำษำของกลุ่มชำติที่อำศัยอยู่

ในท้องถิ่นต่ำงๆ เช่น ภำษำไทยถิ่นเป็นภำษำของกลุ่มชำวไทย ซึ่งอำศัยกระจัดกระจำยอยู่ทั่วประเทศ ภำษำถิ่น

ของชนกลุ่มใดย่อมเป็นภำษำที่มีควำมส ำคัญต่อชนกลุ่มนั้นมำกที่สุด เพรำะเป็นภำษำที่ใช้พดติดต่อสื่อสำร

ร่วมกันมำตั้งแต่เกิด โดยสำมำรถพิจำรณำจำกเจ้ำของภำษำและผู้ที่มีบทบำทเกี่ยวข้องกับภำษำได้ดังนี้

ภำษำถิ่นเป็นภำษำประจ ำถิ่นของกลุ่มชนที่อำศัยอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ เป็นภำษำที่ต้องใช้ติดต่อสื่อสำรกัน

ในชีวิตประจ ำวัน เป็นภำษำที่ใช้มำตั้งแต่แรกเกิด ได้เรียนรู้ จดจ ำ สืบทอดและร่วมรับในกำรปรับปรุง

เปลี่ยนแปลง เป็นภำษำที่มีควำมส ำคัญในฐำนะเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ภำษำถิ่นจึงมีควำมส ำคัญต่อกลุ่มชนผู้

เป็นเจ้ำของภำษำนั้นๆ มำกที่สุด

4


ภำษำถิ่นเป็นวัฒนธรรมส่วนหนึ่งที่ควรศึกษำ เพรำะกำรศึกษำภำษำถิ่นจะช่วยให้เข้ำใจสภำพสังคม

และวัฒนธรรมของกลุ่มชนได้ทำงหนึ่ง ภูมิปัญญำของชำวบ้ำนด้ำนต่ำงๆ เช่น เพลงกล่อมเด็ก นิทำน ปริศนำค ำ


ทำย ชื่อบุคคล ชื่อพืชและชื่อสัตว์ ชื่อสิ่งของเครื่องใช้ ชื่ออำหำรเครื่องดื่ม บทสวดในพธีกรรม และวรรณกรรม
ท้องถิ่นต่ำงๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้ภำษำเป็นเครื่องมือสื่อสำรถ่ำยทอดทั้งสิ้น

ภำษำถิ่นเป็นรำกฐำนทำงประวัติศำสตร์ของกลุ่มชน เรำอำจกล่ำวได้ว่ำกลุ่มระดับชำวบ้ำนที่ใช้ภำษำ

เดียวกันในชีวิตประจ ำวันสืบต่อกันมำหลำยชั่วอำยุคนจะต้องมีประวัติควำมเป็นมำร่วมกัน เช่นชำวไทยถิ่นตำก


ใบกับชำวมำเลเซียเชื้อสำยไทยในอำเภอตุมปัต รัฐกลันตัน ประเทศมำเลเซีย ซึ่งพดภำษำไทยถิ่นตำกใบใน

ชีวิตประจ ำวันอยู่ในขณะนี้ จะต้องมีประวัติศำสตร์ของกลุ่มชนร่วมกันมำในอดีต ปัจจุบันก็ต้องเกี่ยวข้องกันมำ

เป็นเวลำหลำยร้อยปี แสดงว่ำเรำสำมำรถใช้ภำษำถิ่นเป็นหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ของกลุ่มชนได้

ภำษำถิ่นเป็นบ่อเกิดของวรรณกรรมท้องถิ่น ผลกำรส ำรวจวรรณกรรมท้องถิ่น ที่สืบทอดกันด้วยวำจำ

หรือเป็นเรื่องเล่ำที่สืบทอดกันมำปำกต่อปำก (มุขปำฐะ) และวรรณกรรมที่ได้มีผู้บันทึกไว้เป็นลำยลักษณ์อกษร

เช่น วรรณกรรมสมุดข่อย วรรณกรรมใบลำนและ ศิลำจำรึก พบว่ำมีจ ำนวนมหำศำล วรรณกรรมเหล่ำนี้มี

หลำยประเภท เช่น วรรณกรรมเกี่ยวกับศำสนำ ควำมเชื่อ นิทำนประโลมโลก ต ำนำน เป็นต้น วรรณกรรม

เหล่ำนี้ล้วนแล้วแต่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญำของชำวบ้ำนแต่ละท้องถิ่นได้เป็นอย่ำงดี และที่ส ำคัญคือ เป็น

วรรณกรรมที่ใช้ภำษำถิ่นเป็นสื่อในกำรถ่ำยทอด ดังนั้นถ้ำไม่มีภำษำถิ่นวรรณกรรมท้องถิ่นเหล่ำนี้จะเกิดขึ้นได้

อย่ำงไร

ดังนั้น ภำษำถิ่นจึงมีควำมส ำคัญคือ เป็นภำษำประจ ำถิ่นของกลุ่มชนที่บรรพบุรุษได้สร้ำงสรรค์และสืบ

ทอดต่อเนื่องมำยังลูกหลำน โดยผ่ำนวัฒนธรรมทำงภำษำที่เป็นรำกฐำนทำงประวัติศำสตร์และเป็นบ่อเกิดของ

วรรณกรรมท้องถิ่น



ภำษำท้องถิ่นภำคอีสำน

ภำคอีสำน เป็นเขตหรือภำคหนึ่ง ทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่รำบสูงโครำช มีแม่น้ ำ


โขงกั้นเขตทำงตอนเหนือและตะวันออกของภำค ทำงด้ำนใต้จรดชำยแดนกัมพชำ ทำงตะวันตกมีเทือกเขำ
เพชรบูรณ์และเทือกเขำดงพญำเย็นเป็นแนวกั้นแยกจำกภำคเหนือและภำคกลำง

ื่
กำรเกษตรนับเป็นอำชีพหลักของภำค แต่ด้วยสภำพอำกำศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจัยอนๆ ทำงด้ำน
สังคมเศรษฐกิจ ท ำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่ำภำคอื่นๆ

ภำษำหลักของ ภำคนี้ คือ ภำษำอสำน แต่ภำษำไทยกลำงก็นิยมใช้กันแพร่หลำยโดยเฉพำะในเมือง


ใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภำษำเขมร ที่ใช้กันมำกในบริเวณอสำนใต้ นอกจำกนี้ยังมีภำษำถิ่นอนๆ อกมำก เช่น

ื่
ภำษำผู้ไท ภำษำโส้ ภำษำไทยโครำช เป็นต้น

5



ภำคอีสำนมีเอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อำหำร ภำษำ ดนตรีหมอล ำ และศิลปะกำรฟอน
ร ำที่เรียกว่ำ เซิ้ง เป็นต้น


ภำคอสำนมีเนื้อที่มำกที่สุดของประเทศไทย ประมำณ 170,226 ตำรำงกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่หนี่งใน

สำม ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย มีเทือกเขำที่สูงที่สุดในภำคอสำนคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึง เป็นต้น

จุดก ำเนิดของแม่น้ ำ เช่น ล ำตะคอง แม่น้ ำชี แม่น้ ำพอง แม่น้ ำเลย แม่น้ ำพรม แม่น้ ำมล เป็นต้น

ภำษำไทยถิ่นอสำน เป็นภำษำไทยถิ่นที่ใช้พดในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภำษำลำว ใน



อดีตเคยเขียนด้วยอกษรธรรมล้ำนช้ำงหรืออกษรไทยน้อย ปัจจุบันเขียนด้วยอกษรไทย มีพยัญชนะ 20 เสียง


สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บำงท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเออ


ภำษำ ถิ่นอสำน หมำยถึง ภำษำถิ่นที่มีคนส่วนมำกใช้พดจำกันในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภำษำถิ่น


อสำน นอกจำกจะใช้พดจำกันในภำคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ยังมีกำรพดจำกันในประเทศสำธำรณรัฐ

ประชำธิปไตยประชำชนลำวอีกด้วย
ฟังไกว ลี ได้แบ่งกลุ่มภำษำตระกูลไทย ในสำขำตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบด้วยภำษำในประเทศไทย

ลำว อนเดีย และเวียดนำม ภำษำตระกูลไทนั้น ใช่ว่ำจะใช้เฉพำะในประเทศไทยเท่ำนั้น ยังมีกำรใช้ภำษำ


ตระกูลไท ในต่ำงประเทศอกหลำยแห่ง แต่ละแห่งก็ได้ชื่อว่ำ เป็นภำษำถิ่นไททั้งนั้น เมื่อประมำณ 40 กว่ำปีที่
แล้วมำ ท่ำนรองอธิบดีกรมประชำสัมพนธ์ จำกมณฑลยูนำนกับคณะ ได้มำเยี่ยมวิทยำลัยครูมหำสำรคำม ท่ำน


ได้บรรยำยต่อที่ประชุมอำจำรย์ด้วยภำษำถิ่นไท มณฑลยูนนำน ท่ำนได้แสดงอกษรไทยยูนนำน ให้พวกเรำได้ดู
ได้อ่ำน คณะครูอำจำรย์ และนักศึกษำในสมัยนั้น สำมำรถฟังและอ่ำนได้อย่ำงเข้ำใจด้วย

ภำษำถิ่นไทย ยูนนำน มีควำมละม้ำยคล้ำยคลึงเหมือนกับภำษำถิ่นอีสำนมำก โดยเฉพำะค ำศัพท์ต่ำงๆ ส ำหรับ


ตัวอักษรยูนนำน ก็คือ “อักษรไทลื้อ” นั่นเอง ลักษณะของอกษรไทลื้อ มีลักษณะใกล้เคียงกับอกษรไทยล้ำนนำ





และอักษรธรรมอีสำนมำก กล่ำวได้ว่ำ ผู้ที่อ่ำนอักษรไทล้ำนนำและอำนอกษรธรรมอสำนได้ ก็สำมำรถที่จะอำน
อักษรไทลื้อได้
เป็นที่น่ำสังเกตว่ำ คนไทยส่วนมำจะสำมำรถเข้ำใจกัน ด้วยภำษำต่ำงถิ่นกันได้ เพรำะ


ี่
1. มีศัพท์ร่วมตระกูลกัน (Cognate) เช่น ชื่อที่เรียกเครือญำติกัน พอ แม่ พ น้อง ศัพท์เกี่ยวกับ
ร่ำงกำย เช่น แขน ขำ มือ ตำ ปำก ศัพท์ที่เกี่ยวกับกิริยำอำกำร เช่น กิน นอน ไป มำ ค ำที่เรียกชื่อสัตว์ต่ำงๆ

เช่น หมู หมำ เป็ด ไก่ กำรเรียกชื่อของใช้ในบ้ำน เช่น มีด พร้ำ ครำด ไถ และค ำที่เป็นจ ำนวนนับ เช่น หนึ่ง

สอง สำม เป็นต้น

2. มีเสียงปฏิภำค (Correspondence) ของระบบเสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ จะออกเสียง

แตกต่ำงกันอย่ำงมีกฎเกณฑ์ และเงื่อนไข ระหว่ำงภำษำถิ่นด้วยกัน เช่น ภำษำถิ่นไทยกลำง มีเสียง ช (ช้ำง) แต่

ภำษำถิ่นอีสำน มีเสียง ส หรือเสียง ซ แทน ช้ำง ภำคกลำง จะออกเสียงเป็น ซ่ำง ในภำษำถิ่นอีสำน เป็นต้น

6



ภำษำไทยถิ่นอสำน เป็นภำษำท้องถิ่นที่ใช้พดในภำคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภำษำ

ลำวส ำเนียงหนึ่ง ในส ำเนียงภำษำถิ่นของภำษำลำวซึ่งแบ่งเป็น 6 ส ำเนียงใหญ่ คือ

1.ภำษำลำวเวียงจันทน์ ใช้ในท้องที่ เวียงจันทน์ บอลิค ำไซ และในประเทศไทยท้องที่ จ.ชัยภูมิ


หนองบัวล ำภู หนองคำย (อ.เมือง ศรีเชียงใหม่ ท่ำบ่อ โพนพสัย) ขอนแก่น (อ.ภูเวียง ชุมแพ สีชมพ ภูผำม่ำน

หนองนำค ำ เวียงเก่ำ หนองเรือบำงหมู่บ้ำน) ยโสธร (อ.เมือง ทรำยมูล กุดชุม บำงหมู่บ้ำน) อุดรธำนี (อ.บ้ำนผือ

เพ็ญ บำงหมู่บ้ำน)



2.ภำษำลำวเหนือ ใช้กันในท้องที่ เมืองหลวงพระบำง ไซยะบูลี อดมไซ จ.เลย อตรดิตถ์ (อ.บ้ำนโคก
น้ ำปำด ฟำกท่ำ) เพชรบูรณ์ (อ.หล่มสัก หล่มเก่ำ น้ ำหนำว) ขอนแก่น (อ.ภูผำม่ำน และบำงหมู่บ้ำนของ อ.สี

ชมพ ชุมแพ) ชัยภูมิ (อ.คอนสำร) พษณุโลก (อ.ชำติตระกำร และนครไทยบำงหมู่บ้ำน) หนองคำย (อ.สังคม)


อุดรธำนี (อ.น้ ำโสม นำยูง บำงหมู่บ้ำน)

3.ภำษำลำวตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้กันในท้องที่เมืองเซียงขวำง หัวพน ในประเทศไทยท้องที่บ้ำน

เชียง อ.หนองหำน อ.บ้ำนผือ จ.อดรธำนี และบำงหมู่บ้ำน ใน จ.สกลนคร หนองคำย และยังมีชุมชนลำวพวน

ในภำคเหนือบำงแห่งในจังหวัด สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้ำนเท่ำนั้น

4.ภำษำลำวกลำง แยกออกเป็นส ำเนียงถิ่น 2 ส ำเนียงใหญ่ คือ ภำษำลำวกลำงถิ่นค ำม่วน และถิ่น

สะหวันนะเขด ถิ่นค ำม่วน จังหวัดที่พดในประเทศไทย เช่น จ.นครพนม สกลนคร หนองคำย (อ.เซกำ บึงโขง

หลง บำงหมู่บ้ำน) ถิ่นสะหวันนะเขด จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จ.มุกดำหำร


5.ภำษำลำวใต้ ใช้กันในท้องที่แขวงจ ำปำสัก สำละวัน เซกอง อัตตะปือ จังหวัดที่พดในประเทศไทย จ.
อุบลรำชธำนี อ ำนำจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร

6.ภำษำลำวตะวันตก ไม่มีใช้ในประเทศลำว เป็นภำษำที่ใช้ในท้องถิ่นภำคตะวันออกเฉียงเหนือของ

ประเทศไทย ต้องที่ร้อยเอ็ด กำฬสินธุ์ มหำสำรคำม และบริเวณใกล้เคียงมลฑลร้อยเอ็ด ของประเทศสยำม



ในอดีตเคยเขียนด้วยอกษรธรรมล้ำนช้ำงส ำหรับเรื่องรำวเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพทธศำสนำ หรือเขียนด้วย
อกษรไทยน้อยส ำหรับเรื่องรำวทำงโลก ปัจจุบันเขียนด้วยอกษรไทย มีพยัญชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง


สระประสม 2-3 เสียง บำงท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ



ภำษำไทโย้ย

ภำษำไทโย้ยเป็นภำษำในตระกูลภำษำขร้ำ-ไท ผู้พดภำษำนี้ตั้งถิ่นฐำนในจังหวัดสกลนคร ประเทศ



ไทย และในประเทศลำว มีผู้พดในประเทศไทยประมำณ 50,000 คน (พ.ศ. 2547) ซึ่งคนไทยที่พดภำษำไทย
โย้ยสำมำรพูดภำษำไทยถิ่นอีสำนได้ด้วย

7



ภำษำโย้ยมีไวยำกรณ์คล้ำยกับภำษำไทยถิ่นอสำนแต่ใช้ค ำศัพท์และไวยำกรณ์ที่แตกต่ำงกันอยู่บ้ำง แต่เดิมใช้คู่
กับอักษรธรรมลำวและอักษรไทน้อยซึ่งเป็นตัวอักษรของอำณำจักรล้ำนช้ำง



ภำษำตระกูลขร้ำ-ไท

ตระกูลภำษำขร้ำ-ไทหรือรู้จักกันในนำม ขร้ำไท, ไท-กะไดหรือ กะไดเป็นตระกูลภำษำของภำษำที่มี

เสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภำษำขร้ำ-ไท

เคยถูกก ำหนดให้อยู่ในตระกูลภำษำจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมำเป็นอกตระกูลภำษำหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่ำ

ตระกูลภำษำขร้ำ-ไทนี้มีควำมสัมพันธ์กับตระกูลภำษำออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภำษำที่เรียกว่ำ "ออสโตร-

ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภำษำใหญ่ออสตริก

รอเจอร์ เบลนช์ได้กล่ำวว่ำ ถ้ำข้อจ ำกัดของควำมเชื่อมต่อของตระกูลภำษำออสโตร-ไทมีควำมส ำคัญมำก แสดง

ี่
ว่ำควำมสัมพนธ์ทั้งสองตระกูลอำจไม่ใช่ภำษำที่เป็นพน้องกัน กลุ่มภำษำกะไดอำจเป็นสำขำของภำษำตระกูล

ออสโตรนีเซียนที่อพยพจำกฟลิปปินส์ไปสู่เกำะไหหล ำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สำขำไดของภำษำ

กลุ่มกะไดมีกำรปรับโครงสร้ำงใหม่โดยได้รับอิทธิพลจำกกลุ่มภำษำม้ง-เมี่ยนและภำษำจีน

โลร็อง ซำกำร์ ได้เสนอว่ำ ภำษำขร้ำ-ไทดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภำษำออสโตรนีเซียนที่อำจจะ

อพยพกลับจำกทำงตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชำยฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจำกจีนไปไต้หวัน


และเกิดกำรพฒนำของภำษำตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกำะนี้ ควำมสัมพนธ์ระหว่ำงภำษำตระกูลออสโตรนี

เซียนกับขร้ำ-ไทอำจจะอธิบำยได้จำกค ำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน ค ำยืมในยุคก่อนประวัติศำสตร์และอน ๆ ที่ยังไม่รู้
ื่

นอกจำกนั้นภำษำตระกูลออสโตรนีเซียนอำจจะมีควำมสัมพนธ์กับตระกูลภำษำจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นใน
บริเวณชำยฝั่งของจีนภำคเหนือและภำคตะวันออก

ควำมหลำกหลำยของตระกูลภำษำขร้ำ-ไทในทำงตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีควำมสัมพนธ์กับถิ่นก ำเนิด

ของภำษำ ผู้พดภำษำสำขำไทอพยพจำกตอนใต้ของจีนลงทำงใต้เข้ำสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบรำณ

เข้ำสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลำวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภำษำในตระกูลภำษำออสโตรเอเชียติก

ชื่อ "ไท-กะได" มำจำกกำรจัดแบ่งตระกูลภำษำออกเป็นสองสำขำคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจำก

กะไดจะเป็นกลุ่มภำษำที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภำษำไทรวมอยู่ด้วย ในบำงบริบทค ำว่ำกะไดจึงใช้เรียกตระกูล

ภำษำขร้ำ-ไททั้งตระกูล แต่บำงบริบทก็จ ำกัดกำรใช้ค ำนี้ให้แคบลง โดยหมำยถึงกลุ่มภำษำขร้ำที่เป็นส่วนหนึ่ง

ของตระกูลภำษำนี้

8


บทที่ 3


วิธีกำรด ำเนินงำน

ในกำรกำรด ำเนินกำรจัดท ำโครงงำนภำษำไทย เรื่อง กำรศกษำควำมแตกต่ำงของภำษำไทโย้ยกับภำษำถิ่น

อีสำน มีกำรด ำเนินงำนดังนี้



1. แหล่งข้อมูล

1. ศึกษำจำกเอกสำร/อินเทอร์เน็ต

2. สัมภำษณ์ผู้รู้



2. เกณฑ์ในกำรวิเครำะห์

1.ค ำพ้องควำมหมำย

2.ค ำเพี้ยนเสียง

2.1 ค ำเพี้ยนเสียงที่พยัญชนะ

2.2 ค ำเพี้ยนเสียงที่สระ

2.3 ค ำเพี้ยนเสียงที่วรรณยุกต์



3. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

1. ศึกษำจำกเอกสำร/อินเทอร์เน็ต

2. สัมภำษณ์ผู้รู้



4. กำรวิเครำะห์ข้อมูล


น ำข้อมูลที่ได้มำจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อสรุปเป็นรำยงำนโครงงำน



5. ตำรำงกำรด ำเนินงำน

วัน/เดือน/ปี รำยกำรปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลำ


27/11/63 เสนอหัวข้อโครงงำน (ครั้งที่1) สมำชิกทุกคน/คุณครู 1 วัน


04/12/63 ประชุมวำงแผน/แบ่งหน้ำที่รับผิดชอบ/ท ำปฏิทิน สมำชิกทุกคน 1 วัน

9



(ครั้งที่1)


08-13/12/63 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (ครั้งที่1) สมำชิกทุกคน 6 วัน


14/12/63 เปลี่ยนหัวข้อโครงงำน/เสนอหัวข้อโครงงำน(ครั้งที่ สมำชิกทุกคน/คุณครู 1 วัน
2)


วัน/เดือน/ปี รำยกำรปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลำ


18/12/63 ประชุมวำงแผน/แบ่งหน้ำที่รับผิดชอบ/ท ำปฏิทิน สมำชิกทุกคน 1 วัน

(ครั้งที่2)


19-22/12/63 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (ครั้งที่2) สมำชิกทุกคน 4 วัน


ื้
29-30/12/63 สัมภำษณผู้รู้เกี่ยวกับเพลงพนบ้ำนของหมู่บ้ำนดอน นำงสำวรวิสรำ เจริญ 2 วัน

ทอย ชัย


15/01/64 ปรึกษำโครงงำนกับครูที่ปรึกษำ สมำชิกทุกคน/คุณครู 1 วัน


16/01/64 ประชุมสมำชิก (ครั้งที่3) สมำชิกทุกคน 1 วัน


17/01/64 เปลี่ยนหัวข้อโครงงำน(ครั้งที่3) สมำชิกทุกคน 2 ชั่วโมง


17/01/64 สัมภำษณ์ผู้รู้เกี่ยวกับภำษำอีสำนสกลนคร นำงสำวกัณฐิกำร์ เกตุ 1 ชั่วโมง
สุวรรณ์ และ นำงสำว

รวิสรำ เจริญชัย


17/01/64 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สมำชิกทุกคน 4 ชั่วโมง


18/01/64 รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง/สรุปผล สมำชิกทุกคน 8 ชั่วโมง


18/01/64 เสนอหัวข้อโครงงำน (ครั้งที่3) สมำชิกทุกคน/คุณครู 1 ชั่วโมง


23/01/64 ตรวจทำนและแก้ไขข้อมูล/จัดท ำรูปเล่มรำยงำน สมำชิกทุกคน 1 วัน
กำรศึกษำค้นคว้ำ


24-25/01/64 จัดเตรียมสื่อน ำเสนอ สมำชิกทุกคน 1 วัน


26-29/01/64 น ำเสนอโครงงำน สมำชิกทุกคน/คุณครู 4 วัน


ตำรำงที่ 3.1 ตำรำงกำรด ำเนินงำน

10


บทที่ 4

ผลกำรด ำเนินงำน

กำรจัดท ำโครงงำนกำรศึกษำควำมแตกต่ำงของภำษำไทโย้ยกับภำษำถิ่นอสำนมีวัตถุประสงค์เพอ

ื่


เปรียบเทียบให้เห็นถึงควำมแตกต่ำงทำงภำษำและส ำเนียงของภำษำไทโย้ยและภำษำถิ่นอสำน อนส่งเสริมให้
เกิดกำรสื่อสำรที่เข้ำใจตรงกันและเพื่อให้เห็นคุณค่ำควำมส ำคัญของภำษำถิ่นอีสำนซึ่งมีผลกำรด ำเนินงำนดังนี้




ภำษำไทยมำตรฐำน ภำษำถิ่นอีสำน ภำษำไทโย้ย



น่ำสงสำร หลูโตน เป๋นต๋ำอิโต๋น


แอบ ลี่ เสื้อง


เงียบสนิท มิดสีลี มิดจี่หลี่


ดึก เดิก เดิ้ก

ฟุ้งกระจำย ไหง่ มุนกุ๊บ



ขี่หลัง ขี้หลัง กะเต้

ิ๋
ครั้งแรก ต ำก่อ เถื้อท้ ำอด

ครำบติดปำก เปื้อนปำก เกิ้ม


สำววัยรุ่น สำวส ำน้อย สำวสะดิ๊ง


รถหำย ลดเสีย ลดเฮี่ย


รถเสีย ลดฮ่ำง ลดฮ๊ำง


น้ ำหก น่ ำเฮีย น้ ำเฮี่ย


โกหก ขี้ตั๋ว ขี่ตั๊ว


ส่งสำยตำ เซียงตำน้อย ซิ่งต๋ำน้อย


เหลือเชื่อ เป๋นต๋ำงึด เป๋นต๋ำงึ๋ด


ภำษำไทยมำตรฐำน ภำษำถิ่นอีสำน ภำษำไทโย้ย

11



ไม่รู้อะไร จั๊กแม้นหยัง จั๊กแม้นเผียง


เปียก ซุม ซุ่ม


ไม่ถกต้อง บ่อเถอก บ่อถอง


บ้ำน เฮียน เฮือน


กล่องใส่ข้ำวเหนียวสุก กะติบข้ำว กะติ๊บข่ำว


ฟัง ฟั่ง พัง


นำน โดน เหิง


เหม่อ เมอ ซึง


ท ำอะไร เฮ็ดอิหยัง เอ็ดเผียง


เอียงไปข้ำงนึง เดิง กะเดิ้ก


ไม่สบำย บ่อส่ ำบ๋ำย โซ


นั่นคืออะไร อิหยังหั่น ผิสังน่ะ


ค่อยยังชั่ว ไค ซ่วง


หน้ำต่ำง ป่องเยี้ยม ป่องเอี้ยม


ตำข่ำยดักปลำ กระป่อม มอง


ต ำหนิ ฮิ ติ๊


เสมหะ ขี้กะเทอะ ขี้กะเทอ


กระอักกระอ่วน พอพักพอพ่วน ม๊กขิฮำก


กลิ้งหลุนๆ กลิ้งโค่โล่ กลิ้งคุ่มลุ่ม


เรียงรำย ซำบลำบ ซ๊ำบล้ำบ


ภำษำไทยมำตรฐำน ภำษำถิ่นอีสำน ภำษำไทโย้ย

12



ไหน ไส สิเหลอ


ไหม บ่อ เฮำะ


น้ำชำย น่ำ อำว


คนซุ่มซ่ำม คมบ่เคียม สะเงอะสะงะ


ท ำดีๆ ฮ็ดดี้ดี๋ จบเจือ


ฟืน ฟืน พืน



พ่อ อีพอ อิโพะ

แม่ อีแม่ อิเมะ


ตำ/ปู่ พอใย เพำะตู้


ยำย/ย่ำ แมใย แมะตู้


จริงๆ อีหลี ตะฮีด


ชะอม ผักขำ พักเน่ำ


พี่ชำย อ้ำย อ๊ำย


พี่สำว เอ้ย เอ๊ย


จระเข้ แข ่ เเข๊


ใคร ไผ เผอ


เขำ/หล่อน ข้ำเจ้ำ ข่ำเจ๋ำ


ลูกน้ ำ ญูงน่ ำ แมงง๊องแง๊ง


ผีเสื้อ แมงขี้ใหญ่ แมงกะเบื๊อ


ข้ำวโพด เข่ำโพด บักสำลี


มะเขือพวง บักแข้ง บักแข๊ง

13



กระท้อน หมักต้อง หมักต๊อง


โทงเทง บักแข้งโผ บักต๊องแล้ง


ตำรำงที่4.1ตำรำงกำรเปรียบเทียบภำษำไทยมำตรฐำนภำษำถิ่นอีสำนและภำษำไทโย้ย
**หมำยเหตุภำษำอีสำนมำตรฐำน อ้ำงอิงมำจำกอินเทอร์เน็ต




กลุ่มตัวอย่ำงค ำ
ลักษณะกำรเปลี่ยนแปลงของค ำ ภำษำไทย ภำษำถิ่นอีสำน ภำษำไทโย้ย

มำตรฐำน

ค ำพ้องควำมหมำย น่ำสงสำร หลูโตน เป๋นต๋ำอิโต๋น

(ค ำไวพจน์) คือ ค ำมูลที่มีรูปคำและออกเสียงต่ำงกัน แอบ ลี่ เสื้อง
แต่มีควำมหมำยเหมือนกัน ฟุ้งกระจำย ไหง่ มุนกุ๊บ
ขี่หลัง ขี้หลัง กะเต้

ครั้งแรก ต ำก่อ เถื้อท้ ำอิ๋ด

ครำบติดปำก เปื้อนปำก เกิ้ม

สำววัยรุ่น สำวส ำน้อย สำวสะดิ๊ง
ไม่ถกต้อง บ่อเถอก บ่อถอง


ไม่รู้อะไร จั๊กแม้นหยัง จั๊กแม้นเผียง

นำน โดน เหิง
เหมอ เมอ ซึง

ท ำอะไร เฮ็ดอิหยัง เอ็ดเผียง

เอียงไปข้ำงหนึ่ง เดิง กะเดิ้ก

ไม่สบำย บ่อส่ ำบ๋ำย โซ
นั่นคืออะไร อิหยังฮั่น ผิสังน่ะ

ค่อยยังชั่ว ไคแน ซ่วงแน้

ตะข่ำยดักปลำ กะป๋อม มอง
กระอักกระอ่วน พอพักพอพ่วน ม๊กขิฮำก

ต ำหนิ ฮิ ติ๊

ท ำดีๆ เอ็ดดี้ดี๋ จบเจือ
ไหน ไส สิเหลอ

ไหม บ่อ เฮำะ

14


น้ำชำย น่ำ อำว

คนซุ่มซ่ำม คมบ่อเคียม สะเงอะสะงะ
ตำ/ปู่ พอใย เพำะตู้

ยำย/ย่ำ แมใย แมะตู้

จริงๆ อีหลี ตะฮีด
ชะอม ผักขำ ผัดเน่ำ

ลูกน้ ำ ญูงน่ ำ แมงง๊องแง๊ง

ผีเสื้อ แมงขี้ใหญ่ แมงกะเบื๊อ
ข้ำวโพด เข่ำโพด บักสำลี

โทงเทง บักแข้งโผ บักต๊องแล้ง

ตัวอย่ำงประโยค
รถกะบะคันนั้น ลดกะบะคันนั้น ลดกะบะคันนั้น

ขับเร็วมำกจน คือขับเล็วแท่จน คับเล็วแฮงจ๋น

ฝุ่นฟุ้งกระจำย ฝุ่นมันไหง่ ฝุ้นมุนกุ๊บ



ค ำเพี้ยนเสียง เพี้ยนเสียงที่พยัญชนะ เงียบสนิท มิดสีลี มิดจี่หลี่
คือ ค ำที่มีรูปคำและ คือ กำรเพี้ยนเสียงที่เกิด รถหำย ลดเสีย ลดเฮี่ย

ควำมหมำยเหมือนกัน แต่ จำกกำรได้ยิน ฟัง ฟั่ง พัง

มีกำรออกเสียงที่แตกต่ำง หน้ำต่ำง ป่องเยี้ยม ป่องเอี้ยม
กัน ฟืน ฟืน พืน

ตัวอย่ำงประโยค

เขำรถหำยมำ ข้ำเจ้ำลดเสีย ข่ำเจ๋ำลดเฮี่ย

สำมวันแล้ว หลำยวันแล้ว สำมมื้อแล้ว
เพี้ยนเสียงที่สระ ส่งสำยตำ เซียงตำน้อย ซิ่งตำน้อย

คือ กำรเพี้ยนเสียงที่เกิด บ้ำน เฮียน เฮือน
จำกกำรพูด/ส ำเนียง เสมหะ ขี้กะเทอะ ขี้กะเทอ

กลิ้งหลุนๆ กลิ้งโค่โล่ กลิ้งคุ่มลุ่ม


พ่อ อิพอ โพะ
แม่ อีแม่ อิเมะ
ใคร ไผ เผอ

ตัวอย่ำงประโยค

15


แทมแม่เรียก แท้มอีแม่เอิ้น แทมอิเมะเอิ๊น

กลับบ้ำน เมือเฮียน เมือเฮือน
เพี้ยนเสียงที่วรรณยุกต์ ดึก เดิก เดิ้ก

คล้ำยกับกำรเพี้ยนเสียง รถเสีย ลดฮ่ำง ลดฮ๊ำง

ที่สระ คือเป็นกำรเพี้ยน น้ ำำหก น่ ำเฮีย น้ ำเฮี่ย
เสียงที่เกิดมำจำกกำร โกหก ขี้ตั๋ว ขี่ตั๊ว

พูด/ส ำเนียง เหลือเชื่อ เป๋นต๋ำงึด เป๋นต๋ำงึ๋ด

ซุ่ม เปียก ซุม

กล่องใส่ข้ำว กะติบข้ำว กะติ๊บข่ำว

เหนียวสุก
เรียงรำย ซำบลำบ ซ๊ำบล้ำบ

พี่ชำย อ้ำย อ๊ำย

พี่สำว เอ้ย เอ๊ย
จระเข้ แข ่ แข ๊

มะเขือพวง บักแข้ง บักแข๊ง

กระท้อน หมักต้อง หมักต๊อง

เขำ/หล่อน ข้ำเจ้ำ ข่ำเจ๋ำ
ตัวอย่ำงประโยค

เขำรถหำยมำ ข้ำเจ้ำลดเสีย ข่ำเจ๋ำลดเฮี่ย

สำมวันแล้ว หลำยวันแล้ว สำมมื้อแล้ว


ตำรำงที่ 4.2 ตำรำงเปรียบเทียบลักษณะกำรเปลี่ยนแปลงของค ำภำษำไทยมำตรฐำนกับภำษำถิ่นอสำนและ
ภำษำไทโย้ย

16


บทที่ 5

สรุป อภิปรำย และข้อเสนอแนะ

ื่

โครงงำนกำรศึกษำควำมแตกต่ำงของภำษำโย้ยกับภำษำถิ่นอสำนมีวัตถุประสงค์ เพอให้เกิดกำร

ื่
สื่อสำรที่เข้ำใจตรงกันและเพอให้เห็นคุณค่ำและควำมส ำคัญของภำษำอสำนต้องกำรให้ทรำบถึงควำมแตกต่ำง

ของส ำเนียงและค ำศัพท์บำงค ำในภำษำถิ่นอสำนที่แม้ว่ำจะเป็นคนอสำนเหมือนกันแต่กลับมีภำษำส ำเนียงที่

แตกต่ำงกันออกไปและต้องกำรให้คนรุ่นใหม่ซึ่งเป็นคนอสำนหรือคนภำคอนๆได้ตระหนักถึงกำรอนุรักษ์ภำษำ
ื่

ถิ่นของตนเองซึ่งปัจจุบันก ำลังจะหำยไปเพรำะวัฒนธรรมของท้องถิ่นเปลี่ยนไปตำมควำมทันสมัยและ

เทคโนโลยีที่เข้ำมำ ท ำให้ผู้คนหันไปพูดภำษำกลำงซึ่งเป็นภำษำรำชกำรของไทยแทน



วิธีกำรศึกษำ กำรศึกษำโครงงำนควำมแตกต่ำงของภำษำไทโย้ยกับภำษำถิ่นอสำน คณะผู้จัดท ำได้

รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภำษำไทโย้ยที่ใช้กันในจังหวัดสกลนคร โดยกำรค้นข้อมูลในอนเทอร์เน็ตและสอบถำม


พ่อแม่พี่น้องที่เป็นคนในจังหวัดนี้เกี่ยวกับภำษำถิ่นอสำนของตนเองว่ำมีส ำเนียงและค ำศัพท์นี้อย่ำงไรบ้ำง และ
น ำข้อมูลมำวิเครำะห์สังเครำะห์จัดท ำเป็นรูปเล่มรำยงำน



สรุปผลกำรศึกษำ



ผลกำรศึกษำพบว่ำภำษำไทโย้ยมีลักษณะกำรเปลี่ยนแปลงของค ำ คือ เป็นค ำพองควำมหมำยหรือค ำ
ี้
มูลที่มีรูปค ำและออกเสียงแตกต่ำงกันแต่มีควำมหมำยเหมือนกัน และเป็นค ำเพยนเสียงหรือค ำที่มีรูปค ำและ
ี้
ควำมหมำยเหมือนกันแต่มีกำรออกเสียงที่แตกต่ำงกัน ซึ่งค ำเพี้ยนเสียงสำมำรถแบ่งได้ 3 ชนิด คือ เพยนเสียงที่

พยัญชนะ คือ กำรเพยนเสียงที่เกิดจำกกำรได้ยิน เพยนเสียงที่สระ คือ กำรเพยนเสียงที่เกิดจำกกำรพด/
ี้
ี้
ี้
ี้
ส ำเนียง และสุดท้ำยคือเพยนเสียงที่วรรณยุกต์ เหมือนกับกำรเพยนเสียงที่สระคือเป็นกำรเพยนเสียงที่เกิดมำ
ี้
ี้
จำกกำรพูด/ส ำเนียง

ผลอภิปรำย

จำกกำรท ำโครงงำนเรื่องควำมแตกต่ำงของภำษำไทโย้ยกับภำษำถิ่นอีสำน อภิปรำยผลได้ดังนี้

กำรที่เรำสำมำรถเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของภำษำไทโย้ยกับภำษำถิ่นอสำนนั้นท ำให้เรำได้ทรำบ

เกี่ยวกับภำษำท้องถิ่นของคนในจังหวัดสกลนครและจะได้เข้ำใจศัพท์ส ำเนียงที่แตกต่ำงกัน สำมำรถสื่อสำรกับ

คนสกลนครได้อย่ำงรู้เรื่อง และท ำให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่ำทำงภำษำของตนและกล้ำที่จะสื่อสำรกัน

ด้วยภำษำถิ่น

17


ผลกำรศึกษำเป็นไปตำมวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ คือ เพอเปรียบเทียบให้เห็นถึงควำมแตกต่ำงทำงภำษำ
ื่

ื่
และส ำเนียงของภำษำอสำนที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่กับภำษำอสำนสกลนคร เพอให้เห็นคุณค่ำและควำมส ำคัญ

ของภำษำอีสำนและเพื่ออนุรักษ์ภำษำอีสำนให้คงอยู่ตลอดไป
โครงงำนนี้ได้รับค ำแนะน ำจำกอำจำรย์ ธิรพงษ์ คงด้วง เป็นโครงงำนที่มีประโยชน์ต่อนักเรียนที่

จะน ำไปศึกษำค้นคว้ำต่อและผู้ที่อ่ำนโครงงำนนี้ ซึ่งโครงงำนนี้ส ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีตำมแบบแผนที่ได้วำงไว้



ข้อเสนอแนะ

1.ควรหำโอกำสในกำรไปสอบถำมผู้รู้อื่นๆที่อยู่ในจังหวัดที่ศึกษำ

2.ควรเพิ่มค ำศัพท์หรือรำกศัพท์ให้มำกกว่ำนี้เพื่อท ำให้เกิดควำมเข้ำใจได้ง่ำยขึ้น

18


บรรณำนุกรม



นำยสุรัช งันปัญญำ.(2548).กลุ่มชำติพันธ์โย้ย.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก

https://sites.google.com/site/thiyoy/phasa?fbclid=IwAR1xaHbdAiPs9L67AMyv9YFcm7o

EOzIdrpfHLUuv2e6g-UcBXodE7eIjhrs/.(วันที่ค้นข้อมูล: 23 มกรำคม 2564).




อำจำรย์พีระเสกบริสุทธิ์บัวทิพย์.(ไม่ปรำกฏปีที่พิมพ). ภำษำไทยม.6.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก
file:///C:/Users/User/Downloads/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%992%20(1).pdf.


(วันที่ค้นข้อมูล:23 มกรำคม 2564).



สุวิไล เปรมศรีรัตน์.(2547). แผนที่ภำษำของกลุ่มชำติพันธุ์ต่ำงๆในประเทศไทย.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0


%B9%82%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%A2?fbclid=IwAR1exH8FIsa4PPFsiiQTDhJYCnD_tGz

ofg0cwrvStgY8d1jC5W53OSpOEno/.(วันที่ค้นขอมูล :23มกรำคม 2564).



ศูนย์มำนุษยวิทยำสิรินธร.(ไม่ปรำกฏปีที่พิมพ์).นิทรรศกำรถำวร กลุ่มชำติพันธุ์ และโบรำณคดี.[ออนไลน์].

เข้ำถึงได้จำกhttps://th.wikipedia.org/wiki/.(วันที่ค้นข้อมูล : 23 มกรำคม 2564).



Anonymous.(2556).ภำษำถิ่นอีสำน.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก

http://naruebetd.blogspot.com/2013/02/blog-post.html?m=1/.(วันที่ค้นข้อมูล : 18 มกรำคม

2564).



Campus.(2562).รวมค ำศัพท์ภำษำอีสำนน่ำรู้.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก

https://mthai.com/campus/46218.html/.(วันที่ค้นข้อมูล : 18 มกรำคม 2564).

19


Wordy Guru.(2562).ภำษำอีสำนที่ใช้บ่อยที่ค้นหำบ่อย100ค ำ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก

https://www.wordyguru.com/a/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%

E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99/hit100/.(วันที่ค้นข้อมูล : 18

มกรำคม 2564).



Wordy Guru.(2562).ภำษำอีสำนที่ใช้บ่อยที่ค้นหำบ่อย200ค ำ.[ออนไลน์].เข้ำถึงได้จำก

https://www.wordyguru.com/a/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%

E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%99/hit200/.(วันที่ค้นข้อมูล : 18

มกรำคม 2564).


Click to View FlipBook Version