The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rungnapha Sivayavirote, 2021-03-02 08:20:19

โครงงาน เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม


โครงงานวิทยาศาสตร

การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพ




การละลายนําของบาธบอม








ู้

คณะผจัดทา
นางสาว จรรยพร แสงสว่าง เลขท 6

นางสาว จิดาภา ขวัญเมือง เลขท 7

นางสาว ณฐธิดา พงษพานช เลขท 9




นางสาว เนตรชนก ทองเมือง เลขท 13

นางสาว ศภนช ศรีสงคราม เลขท 20 Bomb



Bath
ม.6/1







ครผสอน
ู้
คุณคร นพวรรณ แกวโกสุม



รายงานโครงงานฉบับนี เป นส่วนหนึง
ของรายวิชาเคมี (ว30226)
ภาคเรียนท 2 ป การศกษา 2563


โรงเรียนทปราษฎร์พิทยา

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม









คณะผู้จัดทำ


นางสาว จรรยพร แสงสว่าง เลขที่ 6 ม.6/1


นางสาว จิดาภา ขวัญเมือง เลขที่ 7 ม.6/1

นางสาว ณัฐธิดา พงษ์พานิช เลขที่ 9 ม.6/1


นางสาว เนตรชนก ทองเมือง เลขที่ 13 ม.6/1

นางสาว ศุภนุช ศรีสงคราม เลขที่ 20 ม.6/1







ครผู้สอน



คุณคร นพวรรณ แก้วโกสุม














รายงานโครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา (ว 30226) เคมี

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563


โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี



ชื่อโครงงาน : การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม
ผู้จัดทำ : นางสาว จรรยพร แสงสว่าง


นางสาว จิดาภา ขวัญเมือง
นางสาว ณัฐธิดา พงษ์พานิช


นางสาว เนตรชนก ทองเมือง
นางสาว ศุภนุช ศรีสงคราม


ครูที่ปรึกษา : นางสาว นพวรรณ แก้วโกสุม
ปีการศึกษา : 2563


บทคัดย่อ

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม

มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้าเพื่อผลิตบาธบอมโดยการใช้ครีมออฟทาร์ทาร์แทนผงกรดซิตริก,

เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมที่มีส่วนผสมจากกรดซิตริกและบาธบอมที่มีส่วนผสม

จากครีมออฟทาร์ทาร์ และ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมในน้ำที่อุณหภูมิแตกต่างกัน

ผลการทดลองพบว่า บาธบอมสูตรที่มีส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายไดดีกว่าบาธบอมทมีสวนผสมของ


ี่


กรดซิตริกและ บาธบอมสูตรทมีส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายไดดในน้ำที่มีอุณหภูมิ 40°C มากกว่าใน
ี่
น้ำทมีอุณหภูมิ 30°C
ี่



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเคมี เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอมเป็นโครงงานที่จัดทำขึ้น

เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอมที่มีส่วนผสมต่างกันระหว่างกรดซิตริกกับครีมออฟ

ทาร์ทาร์ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายน้ำในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน

การจัดทำโครงงานนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์นพวรรณ แก้วโกสุม อาจารย์ทปรึกษา
ี่
โครงงานที่ได้ให้คำแนะนำ แนวคิด รวมถึงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆให้ถูกต้องตามหลักการมาตลอด จนโครงงาน

ู้
เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ คณะผจัดจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และผู้ปกครองที่ให้คำปรึกษาในเรื่องต่างๆและเป็นกำลังใจที่ดีเสมอมา


ี่

สุดท้ายนี้ขอขอบคณเพื่อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยาทุกคนทให้กำลงใจมาโดย
ตลอด




คณะผู้จดทำ



สารบัญ
เรื่อง หน้า

บทคัดย่อ ก

กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค

สารบัญตาราง จ

สารบัญภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนำ 1

ที่มาและความสำคัญ 1
วัตถุประสงค ์ 1

สมมติฐาน 1

ขอบเขตการศึกษา 2
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3

โซเดียมไบคาร์บอเนต 3
แป้งข้าวโพด 4

กรดซิตริก/กรดมะนาว 5

น้ำมันหอมระเหย 8
น้ำมันมะพร้าว 10

โพแทสเซียมไบทาร์เทรต 11

ดีเกลือ 12
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 14

ระเบียบวิธีการที่ใช้ในการศึกษา 14
อุปกรณ์และเครื่องมือ 14

วัสดุและสารเคมี 14
วิธีการทดลอง 15

บทที่ 4 ผลการทดลอง 16

ตารางสรุปผลการทดลอง ตอนที่ 1 16
ตารางสรุปผลการทดลอง ตอนที่ 2 16




บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 17

การสรุปผลการทดลอง 17
อภิปรายผล 17

ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 18
บรรณานุกรม 19

ภาคผนวก 22



สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า


ตารางที่ 1 เวลาในการละลายของบาธบอมแตละสูตร 16
ตารางที่ 2 เวลาในการละลายของบาธบอมในอุณหภูมิที่ต่างกัน 16



สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

ภาพที่ 1 โซเดียมไบคาร์บอเนต 4
ภาพที่ 2 แป้งข้าวโพด 5

ภาพที่ 3 กรดซิตริก/กรดมะนาว 6
ภาพที่ 4 น้ำมันหอมระเหย 9

ภาพที่ 5 น้ำมันมะพร้าว 10

ภาพท 6 ครีมออฟทาร์ทาร์ 11
ี่
ภาพที่ 7 ดีเกลือ 12

ภาพที่ 8 โครงสร้างทางเคมีของผงกรดซิตริก 17

ภาพที่ 9 โครงสร้างทางเคมีของครีมออฟทาร์ทาร์ 17


ภาคผนวก ภาพที่ 1 ส่วนผสมของบาธบอมที่เข้ากันและหมาดเหมือนทรายเปียก (สตรครีมออฟทาร์ทาร์) 23
ี่
ี่

ภาคผนวก ภาพท 2 ส่วนผสมของบาธบอมทเข้ากันและหมาดเหมือนทรายเปียก (สตรกรดซิตริก) 23
ภาคผนวก ภาพที่ 3 บาธบอมทั้งหมด 6 ลูก 24
ี่
ภาคผนวก ภาพที่ 4 บาธบอมสูตรทใช้ผงกรดซิตริก 24

ภาคผนวก ภาพที่ 5 วัดอุณหภูมิของน้ำก่อนเริ่มทำการทดลอง 25
ภาคผนวก ภาพที่ 6 ทดลองนำบาธบอมสตรที่ผสมกรดซิตริกไปละลายน้ำ 25



ภาคผนวก ภาพที่ 7 ทดลองนำบาธบอมสตรที่ผสมครีมออฟทาร์ทาร์ไปละลายน้ำ 26

ภาคผนวก ภาพที่ 8 นำบาธบอมไปละลายพร้อมกับทำการคนไปเรื่อยๆ และจบเวลา 26

1


บทที่ 1

บทนำ


ที่มาและความสำคัญ

ุ่


ี่
ในปัจจบันปัญหามลภาวะทเราพบเจอมีมากมาย เชน ปัญหาฝนละอองก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับ


ผวหนัง เกิดสว และอาจสงผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดนหายใจ เปนตน การออกจากบ้านในแตละ





ี่
ครั้งทำให้เราเจอมลภาวะทกลาวมาข้างตน การอาบน้ำเพื่อชำระลางร่างกายจึงเปนเรื่องทสำคัญสำหรับทุกคน


ี่



นอกจากปัญหามลภาวะแล้วการใชชีวิตประจำวันของเราก็ก่อให้เกิดความกังวล ความเครียดสะสม การอาบน้ำ




แช่น้ำอุ่นๆจึงชวยให้เราผอนคลายจากการใชชวิตทั้งวันได้ดขึ้น การอาบน้ำให้สะอาดนั้นตองใช้สบู่ ครีมอาบน้ำ




ี่


ี่
ี่
หรืออย่างทเราเห็นในปัจจบันทมีผลตภัณฑ์อย่างบาธบอมทถูกผลตออกมาเพื่อชวยให้การอาบน้ำของเรา

มีความผอนคลาย ชวยให้เราสามารถชำระร่างกายไดอย่างสะอาดมากยิ่งขึ้นและสวนผสมในบาธบอมยังชวย










บำรุงผวของเราให้นุ่มชมชนมากยิ่งขึ้นไดดวยจดเดนของบาธบอมนั้นคอ เมื่อนำไปแชในอ่างน้ำแล้วจะแตกตว

ื้

ุ่
ิ่


กลายเป็นฟองฟู่คลายยาลดกรดในกระเพาะ มีกลนหอม สสนสดใส ชวยบำรุงผวและชวยชำระร่างกายให้




สะอาดมากยิ่งขึ้น

ู้
คณะผจดทำจงตองการทจะผลตบาธบอมขึ้นมาแตในการผลตบาธบอมนั้นตองใชผงกรดซิตริกท ี่



ี่




สามารถหาซื้อไดยาก จงไดปรับเปลี่ยนมาใชครีมออฟทาร์ทาร์เพื่อเปรียบเทียบว่าหากเราเปลยนไปใช้สวนผสม




ี่


ี่

ทสามารถหาซื้อไดง่ายกว่านั้นเพื่อนำมาทำบาธบอมมีประสทธิภาพเทยบเทากับบาธบอมทมีสวนผสมของผง

ี่


ี่






กรดซิตริกหรือไม่ เมื่อนำไปเปรียบเทยบและไดบาธบอมทมีประสทธิภาพดกว่าแลวจงจะนำบาธบอมนั้นไป
ทดสอบการละลายในน้ำที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันว่า น้ำที่อุณหภูมิที่เท่าไหร่สามารถละลายบาธบอมได้ดีที่สุด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตบาธบอมโดยการใช้ครีมออฟทาร์ทาร์แทนผงกรดซิตริก

2. เพื่อเปรียบเทยบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมทมีสวนผสมจากผงกรดซิตริกและบาธบอม
ี่

ที่มีส่วนผสมจากครีมออฟทาร์ทาร์
3. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมในน้ำที่อุณหภูมิแตกต่างกัน
สมมติฐาน
ตอนที่ 1 บาธบอมที่มีส่วนผสมของผงกรดซิตริกสามารถละลายน้ำได้ดีกว่า
ตอนที่ 2 บาธบอมละลายได้ดีที่สุดในน้ำที่มีอุณหภูมิ 40°C
ขอบเขตการศึกษา
ู้



ี่
ี่

คณะผจดทำไดศกษาและคนคว้าข้อมูลทใชในโครงงานครั้งนี้ คอ บาธบอมทมีสวนผสมของผงกรด




2



ี่


ซิตริกและบาธบอมทมีสวนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์เพื่อนำมาเปรียบเทยบประสทธิภาพการละลายว่า




ี่
บาธบอมสตรไหนสามารถละลายไดดกว่ากันจากนั้นจงนำบาธบอมทมีประสทธิภาพในการละลายดกว่า


ไปทดสอบว่าสามารถละลายในน้ำอุณหภูมิใดได้ดีที่สุด
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างบาธบอมที่มีส่วนผสมของกรดซิตริกกับบาธบอมที่มี
ส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์
ตัวแปรต้น : ผงกรดซิตริก ครีมออฟทาร์ทาร์

ตัวแปรตาม : การละลายของบาธบอม

ตัวแปรควบคุม : ปริมาณของส่วนผสมทุกอย่าง, ขนาดของบาธบอม, ปริมาณของน้ำ

ที่ใชละลาย, อ่างน้ำที่เดียวกัน, ผู้ทำการทดลอง

ตอนที่ 2 อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการละลายของบาธบอม

ตัวแปรต้น : อุณหภูมิน้ำ

ตัวแปรตาม : เวลาที่ใชในการละลายของบาธบอม

ตัวแปรควบคุม : ปริมาณของส่วนผสมทุกอย่าง, ขนาดของบาธบอม, ปริมาณของน้ำ


ที่ใชละลาย, อ่างน้ำที่เดียวกัน, ผู้ทำการทดลอง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ได้สร้างบาธบอมที่มีส่วนผสมจากผงกรดซิตริกและบาธบอมที่มีส่วนผสมจากครีมออฟทาร์ทาร์




ี่
2. ได้เปรียบเทยบประสทธิภาพของบาธบอมทมีสวนผสมจากผงกรดซิตริกและบาธบอมทมีสวนผสม
ี่

จากครีมออฟทาร์ทาร์
3. ได้ทดสอบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมในน้ำที่อุณหภูมิแตกต่างกัน
นิยามศัพท์เฉพาะ





ี่

1. บาธบอม คอ สวนผสมทอัดแน่นของสวนผสมเปียกและแห้งทปั้นเป็นรูปทรงตางๆแลวทำให้แห้ง
ี่
หย่อนลงไปในอ่างน้ำแช่อยู่ในนั้นจนมีการกระจายตัวของส่วนผสม เช่น น้ำมันหอมระเหย , ครีมบำรุงผิว


2. ผงกรดซิตริก คอ จดเป็นกรดอินทรีย์ทมีรสเปรี้ยว สามารถผลตไดจากน้ำผลไม้หรือการหมักแป้ง

ี่


และน้ำตาล นิยมใชประโยชน์ในดานอาหาร ยา เครื่องสำอาง และการเกษตร รวมถึงอุตสาหกรรมบางชนิด

3. ครีมออฟทาร์ทาร์ คือ เป็นเกลือกรดโพแทสเซียมของกรดทาร์ทาริก ลักษณะเป็นของแข็งสขาวหรือ

ผลึกไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีรสเปรี้ยวเล็กน้อย
4. ประสทธิภาพการละลายของบาธบอม วัดโดยจบเวลาทใชในการละลาย หากใชเวลาน้อยแปลว่า


ี่


มีประสิทธิภาพในการละลายด ี

3


บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง



ในการจดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม
ผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1. โซเดียมไบคาร์บอเนต

1.1 ประโยชน์ของโซเดียมไบคาร์บอเนต

2. แป้งข้าวโพด

2.1 ประโยชน์ของแป้งข้าวโพด

3. กรดซิตริก/กรดมะนาว

3.1 คุณสมบัตทางกายภาพ และ เคมี

3.2 แหล่งของกรดซิตริก


3.3 การผลตกรดซิตริก
3.4 ความเป็นพิษของกรดซิตริก

3.5 ประโยชน์ของกรดซิตริก

4. น้ำมันหอมระเหย

4.1 ลักษณะของน้ำมันหอมระเหย

4.2 วิธีการผลิต

5. น้ำมันมะพร้าว

5.1 ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว

6. โพแทสเซียมไบทาร์เทรต

6.1 ลักษณะของโพแทสเซียมไบทาร์เทรต

7. ดีเกลือ

7.1 ประโยชน์ของดีเกลือ

1. โซเดียมไบคาร์บอเนต



ื่
โซเดยมไบคาร์บอเนต (อังกฤษ: sodium bicarbonate; ชอตาม IUPAC: โซเดยมไฮโดรเจนคาร์บอเนต) หรือ
โซดาทำขนม (baking soda) มีลกษณะเป็นผลกสขาวทละลายน้ำไดด มีความเป็นดาง เมื่อทำปฏิกิริยา

ี่





กับส่วนผสมทเป็นกรดในสวนผสมของเหลวก็จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO ) จนทำให้เกิดฟองก๊าซ
ี่

2
เป็นสิ่งที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ โดยนำมาประยุกต์ใช้ในหลายธุรกิจ

4




















ภาพที่ 1 โซเดียมไบคาร์บอเนต
( ที่มา : http://tuinuisirinthip.blogspot.com/2017/04/blog-post.html )



1.1 ประโยชน์ของโซเดียมไบคาร์บอเนต

1.1.1 ใช้บรรเทาอาการผิวไหม้แดด


1.1.2 ช่วยผลดเซลลผิวทำให้ผิวเนียน สดใส

1.1.3 ช่วยทำให้ขนมปังฟู

1.1.4 ใช้เป็นส่วนผสมในสารทำความสะอาด

1.1.5 ใช้ปรับความเป็นกรดด่างของบ่อน้ำ

1.1.6 ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดับเพลิงชนิดเคมีแห้ง

2. แป้งข้าวโพด


แป้งข้าวโพด (อังกฤษ: corn starch, cornflour หรือ maize starch) แป้งข้าวโพดไดจาก


เอนโดสเปร์มในเมล็ด แปงทได้จากการโม่เมลดข้าวโพดแบบแหง เรียกว่า คอร์นมีล (cornmeal) เมื่อร่อนแยก

ี่



ี่

ขนาดและแยกเอ็มบริโอออก เรียกว่า คอร์นฟลาวร์ (corn flour) มีโปรตน และแร่ธาตสง เหมาะทจะใช ้



ี่
ประกอบอาหาร คอร์นสตาร์ช (cornstarch) ไดจากการโม่เปียก โดยตองแชเมลดข้าวโพดในน้ำทมีสวนผสม



ของกำมะถันเผา ทอุณหภูมิ 50 °C เป็นเวลา 36-50 ชวโมง เพื่อให้เปลอกนุ่ม แลวนำเมลดไปบดหยาบเพื่อ
ี่

ั่










แยกเปลอกชั้นนอกออก แลวผานไปยังถังแชน้ำเพื่อแยกเอ็มบริโอออก จะไดแปงและโปรตนกลเตน (gluten)

เป็นเม็ดขนาดเล็ก จากนั้นนำไปผ่านเครื่องเหวี่ยง จะได้แปงในรูปสารแขวนลอยเข้มข้นที่มีโปรตีนกลูเต็นปนอยู่


เลกน้อย เมื่อนำสารแขวนลอยมาปั่นแยกอีกครั้งดวยเครื่องเหวี่ยงแรงสง ลางแป้ง แลวทำให้แห้งจะไดคอร์น




สตาร์ช

5




























ภาพที่ 2 แป้งข้าวโพด

( ที่มา : https://women.mthai.com/beauty/beautytipandtrick/220521.html )






คอร์นสตาร์ชชวยทำให้อาหารข้น (thickener) ใชในอุตสาหกรรมการผลตเบียร์ ซอส ใชเป็นแป้งรีดผาและ

ใชในอุตสาหกรรมการทอผา และผลตเดกซ์ตริน คอร์นไซรัป (corn syrup) เป็นฟรักโทสไซรัป (fructose




ี่
ี่


syrup) ไดจากการเปลยนคอร์นสตาร์ชเป็นน้ำตาลฟรักโทสดวยกรดและเอนไซม์ เปนน้ำตาลทมีความหวาน

มากกว่าน้ำตาลจากอ้อย ไม่ให้พลงงาน และมีราคาแพง ใช้ผสมในอาหารพวกเนยถั่ว ซอสมะเขอเทศ น้ำอัดลม



น้ำผลไม้ และเครื่องดมตางๆ นอกจากผลตจากคอร์นสตาร์ชแล้ว ฟรักโทสไซรัปอาจผลิตจากแป้งมันสำปะหลง
ื่

ได้เช่นกัน
2.1 ประโยชน์ของแป้งข้าวโพด
2.1.1 ใช้ในการเพิ่มความข้นของซอสหรือซุป
2.1.2 ใช้ขัดเงาเครื่องเงินได ้
2.1.3 ใช้ทำความสะอาดหน้าต่าง
2.1.4 ใช้ทำความสะอาดพรม

2.1.5 ขจัดคราบมันบนหนัง โซฟา รองเท้าบู๊ธ เสื้อโค้ช และของอื่น ๆ ที่ทำจากหนังได ้

2.1.6 อัดแข็งผ้าหรือเสื้อ ที่ต้องการความเรียบเนี้ยบเป็นพิเศษ

3. กรดซิตริก/กรดมะนาว




กรดซิตริก หรือ กรดมะนาว (Citric acid) จดเป็นกรดอินทรีย์ทมีรสเปรี้ยว สามารถผลตไดจากน้ำ
ี่
ผลไม้หรือการหมักแป้ง และน้ำตาล นิยมใชประโยชน์ในดานอาหาร ยา เครื่องสำอาง และการเกษตร รวมถึง


อุตสาหกรรมบางชนิด

6
























ภาพที่ 3 กรดซิตริก/กรดมะนาว


( ที่มา : https://htgetrid.com/th/limonnaya-kislota-dlya-volos-polza-i-primeneniya/ )



3.1 คุณสมบัติทางกายภาพ และ เคม ี
3.1.1 สถานะ ผงสีขาวใส ไม่มีกลิ่น มีรสเปรี้ยว และมีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว


3.1.2 ชื่อทางเคมี 2-ไฮดรอกซี่-1,2,3-โพรเพนไตรคาร์บอกซิลิก แอซิด
(2-hydroxy-1,2,3-propanetricarboxylic acid)


3.1.3 สูตรโมเลกุล C H O
6 8 7
3.1.4 รูปผลึกที่พบในปัจจุบัน Monohydrate (C H O . H O)
2
6 8 7
3.1.5 ธาตุประกอบ C 37.51%, H 4.20% และ O 58.29%

3.1.6 น้ำหนักโมเลกุล 192.12 กรัม/โมล

3.1.7 ความหนาแน่นที่ 20 ºC : 1.665 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร

3.1.8 จุดหลอมเหลว : 153 °C

3.1.9 การละลายน้ำ ที่ 0 ºC : 54.0% (w/w)

ที่ 20 ºC : 59.2% (w/w) หรือ 133 กรัม/100 มิลลลิตร

ที่ 30 ºC : 73.5% (w/w)

3.2 แหล่งของกรดซิตริก

3.2.1 ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น มะนาว มะขาม สับปะรด และส้ม เป็นต้น

3.2.2 ในกิจกรรมการย่อยของจุลินทรีย์บางชนิด

3.2.3 ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งใช้เป็นตัวกลางในกระบวนการ Kreb’s cycle

7


3.3 การผลิตกรดซิตริก

ั้

ี่
ในระยะแรก การผลตกรดซิตริกทำโดยการคนมะนาวโดยตรง ซึ่งจะไดน้ำมะนาวทมีความ



เข้มขนของกรดซิตริก ประมาณ 7-9% ปัจจุบัน การผลิตกรดซิตริก นิยมใชกระบวนการหมักน้ำตาล






กลโคสกับจลินทรีย์ ผานกระบวนการไกลโคไลซีส (Glycolysis Pathway) ดงแผนภูมิดานลาง จนได ้


สารออกซาโลอะซิเตท (Oxaloacetate) ก่อนสะสม และเปลี่ยนเปนกรดซิตริก โดยจลินทรีย์ที่นิยมใช ้
ได้แก่ เชื้อรา Aspergillus niger , ยีสต์ Candida Lypolitica
3.4 ความเป็นพิษของกรดซิตริก


กรดชตริก เป็นกรดอินทรีย์มนุษย์สามารถรับประทานหรือใชเป็นสวนผสมของอาหารได





ื่


แตหากรับประทานมากเกินไปหรือมีความเขมข้นสงจะทำให้เกิดอาการข้างเคยง คอ เกิดการคลนไส ้



อาเจยน และทองอืด เนื่องจาก เกิดก๊าซในกระเพาะอาหาร และลำไสมาก รวมถึงความเป็นกรดอาจ



ทำให้เกิดอาการทองร่วงไดง่าย การหายใจเอาไอของกรดซิตริกเข้าไปจะทำให้ระบบทางเดนหายใจ

ระคายเคอง มีอาการแสบคอ คนคอ และไอตามมา สำหรับความเป็นพิษเรื้อรังจากการรับประทาน

กรดซิตริกต่อเนื่องจะทำให้ฟันสึกกร่อน เพราะกรดจะเข้าทำลายสารเคลือบฟัน
3.5 ประโยชน์กรดซิตริก
3.5.1 ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร


ี่
3.5.1.1 ชวยเพิ่มรสเปรี้ยวของอาหารและชวยป้องกันการเปลยนเปนสน้ำตาลของ



ี่



ผกหรือผลไม้แปรรูป เนื่องจาก สามารถยับยั้งการเกิดสน้ำตาลไดด โดยทำหน้าทเป็น
สารคเลท (chelating agent) เข้าจบกับทองแดงทเป็นองคประกอบของเอนไซม์ PPO

ี่



(Polyphenols oxydase) ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ชวยให้เอนไซม์ทำงานไดชาลง



รวมถึงช่วยปรับสมดุลความเป็นกรด-ด่าง ช่วยให้แอนโธไซยานินในผลตภัณฑ์คงสภาพได้นาน
รวมถึงช่วยป้องกัน และชะลอการเกิดกระบวนการ auto-oxidation ของกรดแอสคอร์บิคได ้

ั้

ี่

ดวย ทงนี้ อาหารทมีการเตมกรดซิตริก ไดแก่ แยม เยลล อาหารกระป๋อง อาหารดอง และ
ี่
เครื่องดื่ม เป็นต้น
3.5.1.2 ใช้ผสมในอาหารประเภทเนื้อเพื่อปรับปรุงรสสัมผัสให้เกิดความนุ่มมากขึ้น
3.5.2 อุตสาหกรรมยา
ยาบางชนิดจำเป็นต้องใช้กรดซิตริกเป็นส่วนผสมเพื่อควบคุมความเป็นกรด-ด่าง หรือ






ใช้เป็นตวทำละลาย ชวยให้ยามีการแตกตว และกระจายตวได้ดขึ้น และใช้ป้องกันการจับตว
เป็นก้อนของยา นอกจากนี้ ยังใช้ผสมในยาบางชนิดเพื่อให้เกิดฟองฟู่ และช่วยเพิ่มรสให้ทาน
ง่าย โดยอาจใช้ร่วมกับคาร์บอเนต

8


3.5.3 อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง

ในอุตสาหกรรมการผลตเครื่องสำอาง กรดซิตริกจะถูกใช้เพื่อป้องกันการออกซิไดซ์


ปรับความเป็นกรด-ด่าง หรือเปนบัฟเฟอร์ (Buffer) ในเครื่องสำอาง เช่น ใช้เปนส่วนผสมของ




น้ำยาเซทผม ครีมบำรุงผม และครีมทาผว ทำหน้าทชวยให้สวนผสมผสานกันไดด และทำให้

ี่

เกิดความแวววาว
3.5.4 อุตสาหกรรมอื่นๆ
3.5.4.1 กรดซิตริกในรูปของโซเดยมซิเตรทถูกใช้ในอุตสาหกรรมการผลตผงซักฟอก


เพื่อใช้แทนสารฟอสเฟต

3.5.4.2 กรดซิตริกถูกใช้เป็นสารบัฟเฟอร์ในอุตสาหกรรมการถ่ายภาพ




3.5.4.3 กรดซิตริกถูกใชเปนสวนผสมของสารทำความสะอาด น้ำยาเตมหม้อต้มน้ำ





(Boiler) รวมถึงใชทำความสะอาดโลหะ ลางสนิม ลางหมึกพิมพ์ น้ำและส รวมถึง
นำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย
3.5.5 ด้านการเกษตร


3.5.5.1 ใช้เป็นสวนผสมของปุ๋ยน้ำหรือฮอร์โมนพืช ทำหน้าที่ละลายไขที่เคลอบผิวใบ
ช่วยให้สารถูกดูดซึมผ่านใบมากขึ้น


3.5.5.2 ใช้เป็นสวนผสมของน้ำหมักชวภาพสำหรับการฉีดพ่น เพื่อยับยั้งการเตบโต


ของเชื้อราหรือเชื้อจุลินทรีย์ในพืช
4. น้ำมันหอมระเหย

น้ำมันหอมระเหย (อังกฤษ: essential oil) เป็นน้ำมันทสกัดได้มาจากพืชเช่น สวนดอก ใบ ผล ลำตน
ี่




มาใชในการบำบัดตามศาสตร์สุคนธบำบัด (Aromatherapy) ซึ่งหมายถึง การบำบัดรักษา โดยการใชกลิ่นหอม
ของสารหอมในพืช
ั่
ั่
โดยทวไปน้ำมันหอมระเหยจะถูกสกัดไดหลายรูปแบบ เชน การกลน (Distillation) การสกัดโดยใช ้



ไขมัน (Enfleurage) การสกัดดวยตวทำละลาย (Solvent extraction) การบีบอัด (Expression)

ั่



การใชคาร์บอนไดออกไซดเหลวภายใตความดนสง (Supercritical fluid extraction) ซึ่งการกลนหลาย


ประเภทนี้ ถูกนำมาใชในอุตสาหกรรมน้ำหอม เครื่องสำอาง สบู่ ธูปและผลตภัณฑ์อื่น ๆ เพื่อเพิ่มความหอม


และบางครั้งทำให้คนผ่อนคลายได้ด้วย

9






























ภาพที่ 4 น้ำมันหอมระเหย

( ที่มา:https://www.aiofresh.com/335/?=มาทำความรู้จัก-น้ำมันหอมระเหย-คืออะไร-มีสรรพคุณอย่างไร

บ้าง/ )

4.1 ลักษณะของน้ำมันหอมระเหย




ิ่
น้ำมันหอมระเหย มีลกษณะเป็นน้ำมันของเหลวสใส ซึ่งมีกลนหอม ซึ่งสามารถระเหยไดท ี่
อุณหภูมิห้อง สามารถสกัดจากพืชหอมซึ่งพืชเหล่านี้จะมีต่อมหรือท่อที่เก็บสะสมน้ำมันหอมระเหยไว้
4.2 วิธีการผลิต

การกลั่น



ปัจจบัน น้ำมันหอมระเหยสวนใหญ่ เชน ลาเวนเดอร์ เปปเปอร์มินต น้ำมันตนชา



ั่




และ ยูคาลปตส มาจากการกลน โดยใสวัตถุดบพืช ซึ่งประกอบดวยดอก ใบ ไม้ เปลอกไม้




ั่


ราก เมลดหรือเปลอกใสถ้วยกลนเหนือน้ำ เมื่อน้ำร้อนแลว ไอน้ำจะผานวัตถุดิบพืช เกิดเป็น




ไอสารประกอบระเหยง่าย ไอไหลผานขด ทซึ่งจะควบแน่นกลบเปนของเหลว แล้วมีการเก็บ
ี่
รวบรวมในภาชนะบรรจ ุ
รูปแบบการกลั่น มี 3 วิธีย่อย
ี่
1. การกลั่นโดยใช้ไอน้ำ (steam distillation) โดยการนำพืชทตองการน้ำมันหอมระเหย

ั่
วางไว้ในหม้อกลนทดานลางมีน้ำ จากนั้นตมน้ำ ไอทเกิดขึ้นจะวิ่งผานพืชทวางไว้ดานบน
ี่



ี่

ี่



ทำให้น้ำมันหอมระเหยในพืช ระเหยออกมารวมกับไอน้ำ จากนั้นให้ไอน้ำวิ่งผานทอ จนถึง

ั่
เครื่องควบแน่น (condenser) เพื่อทำให้เย็นลง แลวกลนตวลงมา ตกลงในภาชนะกักเก็บ

จะได้ส่วนน้ำมันหอมระเหยที่แยกชั้นกับน้ำ

10


2. การกลั่นโดยใช้พืชแช่ในน้ำ (Water or Hydro-Distillation) โดย การนำพืชแชในน้ำ

ั่
แล้วต้มน้ำจนเดอด เซล์พืชจะแตกออก และน้ำมันหอมระเหยจะแยกลอยตัวขึ้นมา พืชที่กลน


ี่



วิธีนี้จะตองเปนพืชททนความร้อนสงไดด แตควรระวังในการกลน เพราะเนื่องจากสวนของ
ั่



พืชโดนความร้อนโดยตรง อาจทำให้เกิดการไหม้ได้ กลิ่นไหม้ปนไปกับน้ำมันหอมระเหย และ
มีสารที่ไม่ต้องการปะปนไปด้วย



3. การกลั่นดวยไอน้ำภายใตแรงดนสูง (Vacuum Steam Distillation) วิธีนี้

ั่


จะเหมือนกับ การกลนดวยไอน้ำ แตจะกลนภายใตแรงดนสง เพื่อลดจดเดอดของน้ำและ


ั่


ี่


น้ำมันหอมระเหย ทำให้ไดน้ำมันทไม่โดนทำลายดวยอุณหภูมิสง และน้ำมันหอมระเหยนี้

ยังมีประสิทธิภาพ คุณภาพดีกว่า การกลั่นแบบ 2 วิธีแรกอีกด้วย
5. น้ำมันมะพร้าว

น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil) คอ น้ำมันทไดจากการสกัดแยกน้ำมันจากเนื้อผลของมะพร้าว
ี่





(Cocos nucifera L.) โดยองคประกอบหลกของน้ำมันมะพร้าวคอกรดไขมันอิ่มตว (เกิน 90% ของปริมาณ
ั้

กรดไขมันทงหมด) ซึ่งกรดไขมันเหลานี้จะมีขนาดโมเลกุลปานกลาง (Medium chain fatty acid) อย่างเชน


กรดลอริก (Lauric acid) เมื่อรับประทานเข้าไปแลวจะถูกเผาผลาญไดด จงถูกสะสมในเนื้อเยอไขมันไดน้อย
ื่




กว่ากรดไขมันที่มีขนาดโมเลกุลยาว









ภาพที่ 5 น้ำมันมะพร้าว

( ที่มา : https://www.sanook.com/health/12573/ )



5.1 ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว

5.1.1 น้ำมันมะพร้าวใช้ทาผิวเพื่อบำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใสไม่แห้งกร้าน

11



5.1.2 ชวยในการชะลอวัย ชะลอความเสอมของร่างกาย เพราะน้ำมันมะพร้าวมีบทบาทใน
ื่
การช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างด ี

5.1.3 ไม่ทำให้อ้วน เป็นตัวช่วยเสริมสำหรับผู้ที่ต้องการลดความอ้วน เนื่องจากน้ำมันมะพร้าว

มีโมเลกุลขนาดกลางจึงถูกย่อยได้เร็วไม่มีการสะสมในร่างกาย

5.1.4 ชวยลดน้ำหนักแบบทางอ้อม ดวยการเพิ่มเมตาบอลซึมทำให้เกิดความร้อน



ทำให้อุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้น ทำให้ต่อมไทรอยด์ทำงานได้ดีขึ้น จึงช่วยลดน้ำหนักได ้
5.1.5 ชวยทำให้รับประทานอาหารมื้อตอไปไดน้อยลง ชวยยืดและชะลอความหิวออกไปให้




นานขึ้น จึงเหมาะอย่างมากสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก
5.1.6 ช่วยล้างพิษ ขับพิษของเสียออกจากร่างกายหรือช่วยดีท็อกซ์

5.1.7 ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย

5.1.8 ช่วยบำรุงกำลัง

5.1.9 เป็นอาหารให้แก่เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย

5.1.10 ช่วยทำให้ร่างกายปลอดเชื้อโรค

6. โพแทสเซียมไบทาร์เทรต

โพแทสเซียมไบทาร์เทรต (อังกฤษ: potassium bitartrate) หรือ ครีมทาร์ทาร์ (cream of tartar)

เป็นเกลือกรดโพแทสเซียมของกรดทาร์ทาริก มีสูตรเคมีคือ KC H O ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวหรือผลึกไม่มีส ี
4 5 6

ไม่มีกลน มีรสเปรี้ยวเลกน้อย โพแทสเซียมไบทาร์เทรตเป็นผลตผลพลอยไดจากการหมักน้ำองุ่นเพื่อทำไวน์


ิ่





ในทางอาหารใชเปนสารให้ความคงตว สารป้องกันการจบเปนก้อน สารให้ความข้นเหนียวและเปนสวนผสม


ในผงฟู นอกจากนี้ยังสามารถผสมกับน้ำส้มสายชูหรือน้ำมะนาว ใช้เป็นสารทำความสะอาดเครื่องโลหะได ้












ภาพที่ 6 ครีมออฟทาร์ทาร์

( ที่มา : https://promotions.co.th/บทความ/what-is-the-cream-of-tartar.html )

12


6.1 ลักษณะของโพแทสเซียมไบทาร์เทรต

เป็นผงสขาว อาจเป็นผลพลอยไดจากการผลตไวน์ (wine) ใชเป็นสวนผสมของผงฟู (baking







powderประเภ ทผงฟู กำลงห นึ่ง (single acting baking powder) ซึ่งเป็ น ผงฟู ท จะผลตก๊าซ
ี่


คาร์บอนไดออกไซดออกมาทนท อย่างรวดเร็ว ขณะทผสมและระหว่างที่รอเข้าอบ ทำให้ไข่ขาว (egg white)
ี่

ที่ตีให้ขึ้นฟูแล้วมีความคงตัว ไม่ยุบตัว และมีเนื้อเนียนเป็นครีม ทำให้เนื้อเค้ก (cake) เบา เช่น ชิฟฟ่อน
7. ดีเกลือ
ดีเกลือ คือสารประกอบเกลือซัลเฟตของโซเดียมหรือแมกนีเซียม แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ ดีเกลือไทย
และดีเกลือฝรั่ง ดังนี้




























ภาพที่ 7 ดีเกลือ

( ที่มา : https://www.fillgood.co/products/epsom-salts-30oz)


1. ดีเกลือไทย มีสูตรทางเคมีว่า Na SO ดเกลือชนิดที่เป็นเกลือซัลเฟตของโซเดียม หรือเรียกง่ายๆว่า
4
2


"โซเดียมซัลเฟต" มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสเค็มจดจนขม มีคณสมบัติเป็นยาถ่ายพิษเสมหะ
และโลหิต ถ่ายอุจจาระ ถ่ายพรรดึก (อ่านว่า พัน-ระ-ดึก คือชื่อทใช้เรียกโรคทางแผนโบราณชนิดหนึ่ง
ี่
ที่เกิดจากการที่มีอาหารคั่งค้างอยู่ภายในท้อง ทำให้เกิด อาการท้องผูกอย่างแรง ผู้ป่วยจะมีอุจจาระท ี่

แข็งมาก และมีลักษณะเป็นเม็ดๆ คล้ายกันกับมูลแพะ) ทำให้เส้นเอ็นหย่อน



2. ดีเกลือฝรั่ง มีสตรทางเคมีว่า MgSO ดีเกลือชนิดที่เป็นเกลือซัลเฟตของแมกนีเซียม หรือเรียกว่า
4
"แมกนีเซียมซัลเฟต" เรียกเป็นภาษาสามัญแบบฝรั่งว่า Epsom salts มีลักษณะเป็นผลึกสีขาวหรือใส
คล้ายผงชูรส ไม่มีกลิ่น ละลายน้ำได้ รสเค็ม มีคณสมบัติเป็นยาระบายถายอุจจาระ ถ่ายพิษเสมหะและ



โลหิต นิยมนำเอามาใชในการรักษาปลา และยังมีการนำไปใช้ในการเกษตรช่วยรักษาดินที่ขาด
แมกนีเซียม นอกจากนี้สาวๆ ยังนิยมนำไปเป็นส่วนผสมในการรักษาสิวแบบประหยัดอีกด้วย

13


ดีเกลือทั้งสองแบบมีคุณประโยชน์คล้ายกัน แต่โดยส่วนมากดีเกลือที่มีในท้องตลาดจะเป็นแมกนีเซียม

ซัลเฟต (ดีเกลือฝรั่ง) สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายสารเคมีทั่วไป หรือร้านขายยาแผนโบราณ

7.1 ประโยชน์ของดีเกลือ



- ใชเพื่อกินเป็นยาระบาย โดยผสมน้ำ 3 ถ้วยต่อดเกลือ 4 ช้อนโต๊ะ
- ใชในบ่อกุ้ง เพื่อเพิ่มปริมาณแมกนีเซียม ช่วยกุ้งสร้างเปลือกใหม่ ในช่วงลอกคราบ

- ใชประกอบอาหาร อาท เต้าหู้ ดีเกลือจะช่วยแยกชั้นเนื้อและชั้นน้ำของถั่วเหลืองปั่น


- ใชในการขับไล่สารพิษในไต


- ใชเพื่อปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืชประเภทผล เช่น มะเขือเทศ มันฝรั่ง

14


บทที่ 3

วิธการดำเนินงาน






ในการศกษาครั้งนี้ ผจดทำไดทำการศกษาเรื่อง การเปรียบเทยบประสทธิทธิภาพการละลายน้ำของ


ู้
บาธบอม ซึ่งมีวิธีการดังนี้
1. ระเบียบวิธีการที่ใช้ในการศึกษา






ในการศกษาใชวิธีการสบคนข้อมูล จากหนังสอ อินเตอร์เน็ต และการสอบถาม จากนั้นจงพิสจน์

สมมติฐานที่ตั้งขึ้นด้วยการทดลอง และหาข้อสรุปผลการศึกษา
2. อุปกรณ์และเครื่องมือ
1. พิมพ์บาธบอม
2. ชามผสม

3. ถ้วยตวง

4. ไม้พาย

5. เทอร์โมมิเตอร์

3. วัสดุและสารเคม ี

สูตรที่1

เบคกิ้งโซดา 1/2 ถ้วย

ผงกรดซิตริก 1/4 ถ้วย

ดีเกลือ 1/4 ถ้วย

แป้งข้าวโพด 1/4 ถ้วย

น้ำเปล่าผสมสีผสมอาหาร 2 ช้อนชา

น้ำมันมะพร้าว 4 ช้อนชา

น้ำมันหอมระเหย 3 หยด

สูตรที่2

เบคกิ้งโซดา 1/2 ถ้วย

ครีมออฟทาร์ทาร์ 1/4 ถ้วย

ดีเกลือ 1/4 ถ้วย

แป้งข้าวโพด 1/4 ถ้วย

น้ำเปล่าผสมสีผสมอาหาร 2 ช้อนชา

15


น้ำมันมะพร้าว 4 ช้อนชา

น้ำมันหอมระเหย 3 หยด

4. วิธีการทดลอง

ตอนที่ 1

4.1 ผสมเบคกิ้งโซดา ผงกรดซิตริก ดีเกลือและแผ้งข้าวโพดเข้าด้วยกัน

4.2 คลุกเคล้าจนส่วนผสมเข้ากัน

4.3 จากนั้นจึงเติมน้ำมันมะพร้าว 4 ช้อนชา พร้อมกับน้ำมันหอมระเหย 3 หยด

4.4 คลุกเคล้าจนส่วนผสมเข้ากันแล้วจึงค่อยๆเติมน้ำที่ผสมสีอาหารเรียบร้อยแล้วลงไปเรื่อย ๆ จน

บาธบอมมีลักษณะเหมือนทรายเปียก

4.5 ตักใส่พิมพ์ทั้งสองฝาแล้วประกบให้พิมพ์ติดกัน ทิ้งไว้ 30 นาท ี

4.6 เมื่อครบ 30 นาทีแกะบาธบอมออกจากพิมพ์แล้วพักบาธบอมทิ้งไว้ 1-2 วัน

4.7 ทำเช่นเดียวกันกับข้อ 1-6 แต่เปลี่ยนส่วนผสมจากผงกรดซิตริกเป็นครีมออฟทาร์ทาร์

4.8 เมื่อได้พักบาธบอมครบตามระยะเวลาแล้วให้นำไปละลายน้ำที่อุณหภูมิเดียวกันพร้อมกับจับเวลา

ตอนที่ 2





ี่
4.7 หลงจากไดบาธบอมทมีประสทธิภาพการละลายดกว่า จงนำบาธบอมสตรนั้นมาทดสอบการ


ละลายในน้ำที่มีอุณหภูมิ
4.8 นำไปละลายน้ำพร้อมกับจับเวลาแล้วจดบันทึก

16


บทที่ 4

ผลการทดลอง



ู้
ในการศกษาครั้งนี้ ผจดทำไดทำการศกษาเรื่อง การเปรียบเทยบประสทธิทธิภาพการละลายน้ำของ





บาธบอม ได้แบ่งการทดลองออกเป็นสองตอนซึ่งมีผลการดำเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
ผลการทดลองตอนที่ 1
นำบาธบอมทมีสวนผสมจากกรดซิตริกและครีมออฟทาร์ทาร์ มาละลายในน้ำอุณหภูมิห้อง ปริมาตร
ี่

11 ลิตร คนจนละลายและจับเวลา ได้ผลดังตาราง


บาธบอม เวลาในการละลาย (วินาที)

สูตรผสทกรดซิตริก 60


สูตรผสมครีมออฟทาร์ทาร์ 49

ตารางที่ 1 เวลาในการละลายของบาธบอมแต่ละสูตร

ี่
ี่


จากตารางสรุปได้ว่า บาธบอมสตรทมีสวนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์สามารถละลายในน้ำทมีอุณหภูมิ

29°C ปริมาตร 11 ลตร ไดดกว่าบาธบอมทมีสวนผสมของกรดซิตริก ซึ่งละลายน้ำไดไวกว่า 12 วินาท คณะ


ี่



ผู้จัดทำจึงได้นำเอาบาธบอมที่มีส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ไปทำการทดลองต่อในตอนที่ 2
ผลการทดลองตอนที่ 2

ี่
นำบาธบอมทมีสวนผสมจากครีมออฟทาร์ทาร์ มาละลายในน้ำทมีอุณหภูมิ 30°C และ 40°C ปริมาตร
ี่
11 ลิตร คนจนละลายและจับเวลา ได้ผลดังตาราง

อุณหภูมิของน้ำ เวลาในการละลาย (วินาที)

30°C 47


40°C 27
ตารางที่ 2 เวลาในการละลายของบาธบอมในอุณหภูมิที่ต่างกัน



จากตารางสรุปไดว่า บาธบอมสตรทมีสวนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์สามารถละลายไดดในน้ำทมี
ี่


ี่

อุณหภูมิ 40°C ซึ่งละลายได้ไวกว่าน้ำที่มีอุณหภูมิ 30°C ถึง 20 วินาท ี

17


บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


สรุปผล

ี่

บาธบอมสตรทมีสวนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายไดดกว่าบาธบอมทมีสวนผสมของกรดซิตริก


ี่



ี่
ี่
ี่



และ บาธบอมสตรทมีสวนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายไดดในน้ำทมีอุณหภูมิ 40°C มากกว่าในน้ำทมี
อุณหภูมิ 30°C
อภิปรายผล
1. บาธบอมสูตรที่มีส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายได้ดีกว่าบาธบอมที่มีส่วนผสมของกรดซิตริก
2. บาธบอมสูตรที่มีส่วนผสมของครีมออฟทาร์ทาร์ละลายได้ดีในน้ำที่มีอุณหภูมิ 40°C มากกว่าในน้ำท ี่
มีอุณหภูมิ 30°C
ิ้

ี่
เมื่อทำการทดลองบาธบอมไปทงสนสครั้ง ทำให้เราทราบไดว่า ยิ่งน้ำมีอุณหภูมิสงขึ้นยิ่งทำให้

ั้
บาธบอมละลายได้ดีมากยิ่งขึ้น อ้างอิงจากคุณสมบัติการละลายน้ำของผงกรดซิตริก คือ การละลายน้ำที่ 0 ºC :
54.0% (w/w) ,ท 20 ºC : 59.2% (w/w) หรือ 133 กรัม/100 มิลลลตร ,ท 30 ºC : 73.5% (w/w) และ


ี่
ี่

ี่
ท 70 ºC : 84.0% (w/w) ซึ่งครีมออฟทาร์ทาร์หรือเกลอโพแทสเซียมของกรดทาร์ทาริกมีคณสมบัต ิ

เช่นเดียวกันกับผงกรดซิตริก โดยผงกรดซิตริกมีสูตรโครงสร้าง คือ C6H8O7









ภาพที่ 8 โครงสร้างทางเคมีของผงกรดซิตริก

และครีมออฟทาร์ทาร์มีสูตรโครงสร้าง คือ KC4H5O6













ภาพที่ 9 โครงสร้างทางเคมีของครีมออฟทาร์ทาร์

18


ในการจัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิทธิภาพการละลายน้ำของบาธบอม

ี่



ทำให้เราไดลองทำบาธบอมสตรใหม่ๆคอบาธบอมทใชครีมออฟทาร์ทาร์ เนื่องจากบาธบอมสตรทวไปจะใช ้

ั่





ี่

กรดซิตริกเป็นสวนผสม และไดเปรียบเทยบประสทธิภาพการละลายของบาธบอมทมีสวนผสมจากกรดซิตริก
ี่

กับบาธบอมทมีส่วนผสมจากครีมออฟทาร์ทาร์ จนทำให้ทราบว่าบาธบอมสตรทใชครีมออฟทาร์ทาร์ละลายได ้
ี่


ี่

ดกว่า สรุปว่านอกจากจะไดสตรใหม่แลวยังมีประสทธิภาพทดกว่าสตรทใชกันทวไปอีกดวย ซึ่งเป็นไปตาม
ี่


ั่





วัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดทำที่วางไว้ ได้แก่

1. ไดผลิตบาธบอมโดยการใช้ครีมออฟทาร์ทาร์แทนผงกรดซิตริก
2. ไดเปรียบเทียบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมที่มีส่วนผสมจากกรดซิตริกและบาธบอมที่มี

ส่วนผสมจากครีมออฟทาร์ทาร์
3. ไดทดสอบประสิทธิภาพการละลายของบาธบอมในน้ำที่อุณหภูมิแตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะ
1. ทดสอบการละลายน้ำของบาธบอมในอุณหภูมิที่แตกต่างกันให้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
2. ใช้สารอื่นที่มีคุณสมบัติเหมือนผงกรดซิตริกมาทดลองทำบาธบอม

19


บรรรณานุกรม



กรดซตริก/กรดมะนาว (Citric acid) ประโยชน์ และความเป็นพิษของกรดซิตรก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.siamchemi.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%8B%E

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

ครีมออฟทาร์ทาร์ (cream of tartar). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.bakerstreet.co.th/cream-of-tartar-110-g.html?fbc


สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564
ชลธิชา จันทร์วิบูลย์. (2563). แป้งข้าวโพด มีประโยชน์หรือว่าโทษต่อสุขภาพกันแน่. [ออนไลน์].


เข้าถึงได้จาก https://hellokhunmor.com/%e0%b9%82%e0%b8%a0%e0%b8%8a%e0%
สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564


ทีมงานวิกิฮาว. วิธีการ ทำบาธบอม (Bath Bomb) แบบไม่ผสมกรดซิตรก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://th.wikihow.com/%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8


สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564
น้ำมันหอมระเหย – ความรู้เบื้องต้น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


https://www.botanicessence.com/essential-oil/home/knowledge.jsp

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

น้ำมันมะพร้าว กับประโยชน์ทางสุขภาพและความงาม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.pobpad.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

บ้านสบู่ช่อผกา PAKAsoap. (19 มีนาคม 2560). ทำบาธบอม Bath Bomb (EP23) ฟองเยอะมาก ! ! !.

[Video file]. เข้าถึงได้จาก

https://www.youtube.com/watch?fbclid=IwAR2byH9pTi2D74mBBI4VQpL2RswuGeTSP

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

แป้งข้าวโพด ( Corn Starch). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://sites.google.com/site/cerealflour1/home/corn-starch

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

20


ผู้หญิงกับสุขภาพ. (2559). ดีเกลือ คืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.facebook.com/1097813523608843/posts/1107656132624582/

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. น้ำมันหอมระเหย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://th.wikipedia.org/wiki/น้ำมันหอมระเหย

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. แมกนีเซียมซัลเฟต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://th.wikipedia.org/wiki/แมกนีเซียมซัลเฟต

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

วิกีพิเดีย สารานุกรมเสรี. โพแทสเซียมไบทาร์เทรต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://th.wikipedia.org/wiki/โพแทสเซียมไบทาร์เทรต

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

Citric Acid. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.whatsinsidescjohnson.com/th/th/ingredients/citric_acid?fbclid=

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

ั่
ู้
INSH. (2560). 10 ประโยชน์ของดีเกลือฝรง (Epsom salts) ที่มีต่อความงาม เรื่องที่สาวๆต้องร.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://sistacafe.com/summaries/21536

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

MedThai. (2560). น้ำมันมะพร้าว สรรพคุณและประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว 52 ข้อ !. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก https://medthai.com/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

MedThai. (2560). เบคกิ้งโซดา (Baking Soda) ประโยชน์ของเบกกิ้งโซดา 63 ข้อ !. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก https://medthai.com/%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

MedThai. (2560). โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) สรรพคุณ วิธีใช้ ผลข้างเคียง ฯลฯ.

[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttps://medthai.com/%E0%B9%82%E0%B

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

21


Myhome. (2563). ประโยชน์ของ เบกกิ้งโซดา ที่ไม่ใช่แค่การทำขนม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.baanlaesuan.com/56440/diy/easy-tips/baking-soda-2

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

Porraphat Jutrakul. (2561). ข้อควรระวงการใช้น้ำมันหอมระเหย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.thaihealth.or.th/Content/43984%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564


Samarin. (2553). ครีมออฟทาร์ทาร์คืออะไร (Cream of Tartar). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://yv3lin3.blogspot.com/2010/06/cream-of-tartar.html?m=1&fbclid=

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

Union Science จำหน่ายสารเคมี เครื่องแก้ว เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ปลีก-ส่ง. (2556). ดีเกลือทำมาจากอะไร

และ มีประโยชน์อย่างไร?. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/138046906

248086/posts/546704245382348/

สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

16 ประโยชน์แป้งข้าวโพด ที่เป็นได้มากกว่าแป้งทำอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก

https://www.sanook.com/home/11481/?fbclid=IwAR1B4FK4XWFmC0D6z9sHc-YXPZR-


สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564

22

























ภาคผนวก

23








































ี่
ี่
ภาพท 1 ส่วนผสมของบาธบอมทเข้ากันและหมาดเหมือนทรายเปียก (สูตรครีมออฟทาร์ทาร์)






































ภาพท 2 ส่วนผสมของบาธบอมทเข้ากันและหมาดเหมือนทรายเปียก (สูตรกรดซิตริก)
ี่
ี่

24







































ั้
ภาพที่ 3 บาธบอมทงหมด 6 ลูก







































ภาพที่ 4 บาธบอมสูตรทใชผงกรดซิตริก
ี่


25











































ภาพที่ 5 วัดอุณหภูมิของน้ำก่อนเริ่มทำการทดลอง





































ภาพที่ 6 ทดลองนำบาธบอมสตรที่ผสมกรดซิตริกไปละลายน้ำ


26












































ภาพที่ 7 ทดลองนำบาธบอมสตรที่ผสมครีมออฟทาร์ทาร์ไปละลายน้ำ





































ภาพท 8 นำบาธบอมไปละลายพร้อมกับทำการคนไปเรื่อยๆ และจับเวลา
ี่


Click to View FlipBook Version