The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติการจัดการดูแลสุขภาพเด็กจากpm 2.5 ในหน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by somchit kiatwattanacharoen, 2023-03-04 22:52:03

แนวปฏิบัติการจัดการดูแลสุขภาพเด็กจากpm 2.5 ในหน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก (1)

แนวปฏิบัติการจัดการดูแลสุขภาพเด็กจากpm 2.5 ในหน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก (1)

แนวปฏิบัติการจัดการดูแลสุขภาพเด็ก จาก PM 2.5 ไมครอน ในหน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แนวปฏิบัติการจัดการดูแลสุขภาพเด็ก จาก PM 2.5 ไมครอน ในหน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก


PM2.5 หมายถึง ฝุ่นละเอียด (Fine Particle) เป็นอนุภาคที่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ฝุ่นละเอียดมี แหล่งกำ เนิดจากควันเสียของ รถยนต์ โรงไฟฟ้า โรงงาน อุตสาหกรรม ควันที่เกิดจากหุง ต้มอาหารโดยใช้ฟืน หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


เนื่องจากเด็กจะมีอัตราการหายใจสูงกว่าผู้ใหญ่ โดยเด็ก ทารกอายุ 0-6 เดือนมีอัตราการหายใจ 30-60 ครั้งต่อ นาที (bpm) ทารกอายุมีอัตราการหายใจ 6-12 เดือน 24-30 bpm และเด็กอายุ 1-5 ปี มีอัตราการหายใจ 20-30 bpm จึงทำ ให้โอกาสการรับสัมผัส PM2.5 จาก การหายใจเพิ่มขึ้นได้ เมื่อ PM2.5 เข้าสู่ร่างกายจะทำ ให้เกิดผลกระทบต่อ สุขภาพในเด็ก โดยอาจก่อให้เกิดโรคในระบบทาง เดินหายใจ เนื่องจาก PM2.5 เป็นสาเหตุให้เกิดโรค ระบบทางเดินหายใจ ทั้งโรคหอบหืด โรคปอดอักเสบ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่


ทั้งยังทำ ให้เกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยจะเพิ่ม ความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำ เนิดของทารก อีกทั้งยัง มีผลกระทบต่อพัฒนาการของระบบประสาท ทำ ให้ลดระดับสติ ปัญญาและมีแนวโน้ม น้ ให้เกิดโรคที่เกี่ยวกับพัฒนาการด้าน พฤติกรรม เช่น ออติสติก และโรคสมาธิสั้น รวมทั้งการพัฒนา ด้านจิตใจและกล้ามเนื้อของ เด็ก กลไกการเกิดโรคบางอย่างอาจจะใช้ระยะเวลานานหลังจากได้ รับ PM2.5 ทำ ให้เด็กมีการ เจ็บป่ว ป่ ยเมื่อเติบโตขึ้น และอาจก่อ ให้เกิดการเจ็บป่ว ป่ ยแบบเรื้อรังตลอดช่วงชีวิต หรือเป็นโรค มะเร็งได้ หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


กรมอนามัยมั ได้กำ ด้ กำ หนดค่าเฝ้าระวังวัที่ใช้เ ช้ป็น ป็ สัญสัญาณเตือนถึงผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้น ขึ้ ต่อสุข สุ ภาพ โดยใช้ค่ ช้ ค่ าฝุ่นละอองขนาดไม่เ ม่ กิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เฉลี่ย 24 ชั่วชั่โมง ที่มีห มี น่ว น่ ยเป็น ป็ ไมโครกรัมรัต่อลูก ลู บาศก์ เมตร(มคก./ลบ.ม.) เป็น ป็ ตัวบอกถึงระดับดัของผลกระทบต่อสุข สุ ภาพ โดยแบ่ง บ่ เป็น ป็ 5 ระดับดัดังดันี้ หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


แนวทางเตรีย รี มความพร้อ ร้ มก่อนเข้า ข้ สู่รสู่ ะยะฝุ่นละอองขนาดไม่เ ม่ กิน 2.5 ไมครอน หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ 1.เฝ้าระวังวัสุข สุ ภาพของเด็ก ด็ ปฐมวัยวั และจัดจัทำ ทะเบีย บี นเด็ก ด็ ปฐมวัยวักลุ่ม ลุ่ เสี่ย สี่ ง เพื่อ พื่ ดูแ ดู ลอย่า ย่ งใกล้ชิดชิและ เตรีย รี มประสานกับ ร.พ ติดตามและรายงานคุณ คุ ภาพอากาศ ให้ผู้ ห้ ปผู้ กครองทราบเป็น ป็ ระยะ


แนวทางเตรีย รี มความพร้อ ร้ มก่อนเข้า ข้ สู่รสู่ ะยะฝุ่นละอองขนาดไม่เ ม่ กิน 2.5 ไมครอน 2.เตรีย รี มความพร้อ ร้ มของห้อ ห้ ง พยาบาล เวชภัณฑ์ หน้า น้ กากสำ หรับรั ป้อ ป้ งกันฝุ่นละออง 3.จัดจัเตรีย รี มห้อ ห้ งปลอดฝุ่นสำ หรับรั เด็ก ด็ ที่เป็น ป็ กลุ่ม ลุ่ เสี่ย สี่ งสูง สู 4.ทำ ความสะอาดเครื่อ รื่ งปรับรั อากาศ เครื่อ รื่ งกรองอากาศ หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์


แนวทางเตรีย รี มความพร้อ ร้ มก่อนเข้า ข้ สู่รสู่ ะยะฝุ่นละอองขนาดไม่เ ม่ กิน 2.5 ไมครอน 5.ดูแลถนนไม่ให้เกิดฝุ่น ฝุ่ ละออง เช่น การทำ ความสะอาด ถนน การติดตั้งสเปรย์ละอองน้ำ เพื่อช่วยลดปริมาณการ เกิดฝุ่น ฝุ่ ละอองที่ลอยขึ้นมาจากพื้นถนน 6. งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น การเผาใบไม้ เผา ขยะ เป็นต้น 7.ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกศูนย์ พัฒนาเด็กปฐมวัย จัดบริเวณสำ หรับรับ-ส่ง หากจำ เป็น ต้องนำ รถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ 8.หากมีห้องเรียนที่ปิดหรือมีเครื่องปรับอากาศ ให้ พิจารณาการเรียนการสอนในห้องนั้น และต้อง คำ นึงถึง อากาศถ่ายเทได้สะดวก โดยมีพื้นที่เฉลี่ยประมาณ 2.00 ตารางเมตร ต่อเด็ก 1 คน หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


แนวทางการปฏิบัติบั ติสำ หรับรัครูพี่เ พี่ ลี้ยง และการจัดจักิจกรรม 1) ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ใน Air4Thai หรือ รื ติดตามข่า ข่ วสารตาม ช่อ ช่ งทางต่าง ๆทุก ทุ วันวัเพื่อ พื่ หาทางป้อ ป้ งกันให้กั ห้ กับเด็ก ด็ เล็ก และสื่อ สื่ สารแจ้ง จ้ ข้อ ข้ มูลให้บุ ห้ บุ คลกรและผู้ปผู้ กครอง 2) ครูพี่เ พี่ ลี้ยง คัดกรองกลุ่ม ลุ่ เสี่ย สี่ งที่มีผ มี ลจากปริมริาณฝุ่นแบบ ชัดชัเจน เช่น ช่ อาการระคายตา คัดจมูก มีน้ำ มี น้ำ มูก เป็น ป็ ต้น 4) ควรดูแ ดู ลเด็กให้ห ห้ ลีกเลี่ยงการทำ กิจกรรมนอกอาคาร ในช่ว ช่ ง ที่ PM2.5 อยู่ใยู่ นระดับ ดั ตั้ง ตั้ แต่สีเ สี ขีย ขี ว (26-37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้น ขึ้ ไป เช่น ช่ งดการใช้ส ช้ นามเด็ก ด็ เล่นปรับ รั กิจกรรมที่สามารถทำ ใน อาคารได้เพื่อ พื่ ลดการสัม สั ผัส ผั ฝุ่นละออง 3) สื่อ สื่ สารข้อ ข้ มูลสถานการณ์ฝุ่ณ์ ฝุ่ นละอองและวิธีวิก ธี ารป้อ ป้ งกัน หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


7) สังสัเกตอาการเด็ก ด็ เล็ก หากมีอ มี าการผิดผิ ปกติ เช่น ช่ เคืองตา คัน ตา ตาแดง ให้ให้ ช้น้ำ ช้ น้ำ สะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ต ยี้ า และ ดูแ ดู ลอย่า ย่ งใกล้ชิดชิทั้ง ทั้ นี้ หากอาการรุนแรงให้ไห้ปพบแพทย์ทัย์ ทันที แนวทางการปฏิบัติบั ติสำ หรับรัครูพี่เ พี่ ลี้ยง และการจัดจักิจกรรม 5) ควรให้เ ห้ ด็ก ด็ ดื่ม ดื่ น้ำ ให้เ ห้ พีย พี งพออย่า ย่ งน้อ น้ ยวันวัละ 8-10 แก้ว 6) จัดจัเตรีย รี มสำ รองหน้า น้ กากป้อ ป้ งกันฝุ่นในศูนย์พัย์ฒพันาเด็ก ด็ ปฐมวัยวั ให้พ ห้ ร้อ ร้ ม และตรวจสอบให้เ ห้ ด็ก ด็ สวมหน้า น้ กากทุก ทุ ครั้งรั้ก่อนออกจาก ห้อ ห้ งเรีย รี น หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


แนวทางการป้อ ป้ งกันผลกระทบต่อสุขภาพในการจัดการของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพจากฝุ่น ฝุ่ ละออง PM2.5


แนวทางการป้อ ป้ งกันผลกระทบต่อสุขภาพในการจัดการของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพจากฝุ่น ฝุ่ ละออง PM2.5


การพิจพิารณาการปิดปิสถานพัฒ พั นาเด็ก ด็ ปฐมวัย วั ตามความเหมาะสมและดุล ดุ ยพินิพิจนิของผู้บผู้ ริหริาร โดยอาจพิจพิารณาจาก องค์ประกอบ 3 ด้า ด้ น ได้แ ด้ ก่ สถานการณ์ฝุ่ณ์ ฝุ่ นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ลักษณะและสภาพแวดล้อมของโรงเรีย รี น และสถานการณ์ ด้า ด้ นสุข สุ ภาพ รายละเอียดดังดันี้ หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


แนวทางการปฏิบัติ สำ หรับผู้ปกครอง 1) ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ Pณ์ M2.5 2) ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทำ กิจกรรมนอกบ้าน ในช่วงที่ PM2.5อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26-37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป 3) ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงด้วยการกินอาหารครบ 5 หมู่ และผักผล ไม้ 5 สีเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และควรให้เด็กดื่มน้ำ สะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน และนอนหลับให้เพียงพอ 9-11 ชั่วโมง/วัน 4) ควรดูแลเด็กที่มีโรคประจำ ตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิด ปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำ บาก หายใจไม่ออก แน่นหน้า น้ อก ให้รีบ พาไปพบแพทย์ 5)ควรปิดประตูหน้า น้ ต่างและเปิดพัดลมให้อากาศหมุนเวียน 6) ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น จุดธูป เผากระดาษเงิน กระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทำ ให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น 7 จัดหาหน้า น้ กากอนามัยที่ป้อ ป้ งกันฝุ่น ฝุ่ PM2.5 ที่เหมาะสม หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่


เอกสารอ้างอิง หน่วยสาธิตการสร้างเสริมสุขภาพเด็กเล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.กรมอนามัย 2563.แนวทางการป้อป้งกันและดูแลสุขภาพ จากฝุ่นฝุ่ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน สำ หรับสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัย.https://hia.anamai.moph.go.th/webupload/12xb1c83353535e43f224a05e184d8fd75a/m_magazine/35644/2924/file_download/afa9e 7cdcb54dd9be0b2cb3d7bb1abfe.pdf 2.สำ นักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.2564.คู่มือการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อ เด้กไทยสุขภาพดี .https://apps.hpc.go.th/dl/web/upFile/2021/12-4052- 20211206130901/ddd93393299b182eca644ed37997295f.pdf


Click to View FlipBook Version