The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-02-20 12:25:57

พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย

4.9ศุทธินี42

พระราชกรณียกิจ
ของ

พระมหากษตั รยิ ์ไทย

คํานํา

หนั งสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง พระราชกรณียกิจของพระมหากษตั รยิ ์ไทย
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ทส ๓๑๑๐๔
โรงเรยี นเบญจมราชูทศิ ราชบุรี จ.ราชบุรี
มเี นือ้ หาเกีย่ วกับพระราชกรณียกจิ สมัยก่อนรัตนโกสินทรแ์ ละสมัย
รัตนโกสินทร์ หากหนั งสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์เหลา่ นี้ มขี อ้ ผดิ พลาดประการใด
ผู้จัดทํากข็ ออภัยมา ณ ทนี่ ีด้ ว้ ย

น.ส.ศทุ ธินี พัฒนกุลสิรโิ สภณ
มธั ยมศกึ ษา ๔ หอ้ ง ๙ เลขที่ ๔๒

สารบญั หน้า

คาํ นํา
สารบญั ข
พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานั นทมหดิ ล ๑



สมยั กอ่ นรัตนโกสินทร์

ประวัติพอ่ ขุนรามคําแหงมหาราช
พ่อขนุ รามคาํ แหงมหาราชเป็นพระราชโอรสของพอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ
ย์ปฐมกษตั รยิ ์ แห่งกรงุ สุโขทัย พ่อขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ มพี ระมเหสีคือ
พระนางเสือง มีพระราชโอรสสามพระองค์ พระราชธดิ าสองพระองค์ พระ
ราชโอรส องค์ใหญ่สิน้ พระชนม์ตงั ้ แต่ยงั เยาว์ องค์กลางมี พระนามวา่
บานเมือง และพระราชโอรสองค์ทีส่ าม คือ
พ่อขนุ รามคําแหงมหาราช เมือ่ พระชั นษาได้ ๑๙ ปี
ได้ชนชา้ งชนะขนุ สามชนเจา้ เมอื งฉอด พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทิตย์
จงึ พระราชทานนามว่า พระรามคําแหง เมอื่ สิน้ รัชสมยั พ่อขนุ ศรอี ินทรา
ทติ ยแ์ ละพ่อขนุ บานเมอื งแลว้ พระองค์ได้ครองกรงุ สุโขทัย ตอ่ มา
เป็นพระมหากษัตรยิ ร์ ัชกาลที่ ๓ แหง่ ราชวงศ์พระรว่ ง
สันนิษฐานว่าพระองคส์ ิน้ พระชนมใ์ นราวปี พ.ศ.๑๘๖๐
รวมเวลาทีท่ รงครองราชยป์ ระมาณ ๔๐ ปี

การขยายอาณาจักร

เมือ่ พระเจ้ารามคําแหง เสดจ็ เถลงิ ถวัลราชสมบตั ิสืบต่อจาก
พอ่ ขุนบาลเมืองนั น้ อาณาจักรสุโขทัยนั บวา่ ตกอยู่ในระหวา่ งอนั ตราย
รอบด้าน และยากทาํ การขยายอาณาจกั รออกไปได้ เพราะทางเหนือก็
ติดต่อกับแคว้นลานนา อันเป็นเชือ้ สายไทยด้วยกันมพี ระยาเมง็ ราย
เป็นเจ้าเมืองเงนิ ยางและพระยางาํ เมือง เป็นเจา้ เมืองพะเยาและทงั ้
พระยาเม็งรายและพระยางาํ เมือง ขณะนั น้ ต่างกม็ ีกาํ ลังอาํ นาจแขง็ แกรง่ ทงั ้
คู่ ทางตะวันออกนั น้ เลา่ กต็ ิดตอ่ กบั ดนิ แดนของขอม ซึง่ มีชาวไทยเข้าไป
ตัง้ ภูมิลําเนาอยูม่ าก ตะวนั ตกของอาณาจักรสุโขทยั กจ็ ดเขตแดนมอญ
และพมา่ ส่วนทางใต้กถ็ ูกเมืองละโวข้ องขอมกระหนาบอยู่

ด้วยเหตุนีพ้ ระเจา้ รามคําแหงจึงตอ้ งดําเนินวเิ ทโศบายในการแผ่
อาณาจกั รอยา่ งแยบยล และสุขุมทีส่ ดุ เพอื่ หลกี เลีย่ งการฆา่ ฟั นระหวา่ ง
คนไทยด้วยกันเอง คือแทนทจี่ ะขยายอาณาเขตไปทางเหนือ หรอื ตะวัน
ออกซึง่ มคี นตัง้ หลักแหล่งอย่มู าก พระองคก์ ลบั ทรงตดั สินพระทยั ขยาย
อาณาเขตลงไปทางใต้อันเป็นดินแดนของขอม และทางทศิ ตะวันตกอัน
เป็นดนิ แดนของมอญ เพือ่ ใหค้ นไทยในแควน้ ลานนาไดป้ ระจกั ษ์ใน
บุญญาธกิ าร และไดเ้ ห็นความแข็งแกรง่ ของกองทัพไทยแห่งอาณาจกั ร
สุโขทยั เสียกอ่ น แลว้ ไทยในแคว้นลานนากอ็ าจจะมารวมเขา้ ด้วยตอ่ ภาย
หลังได้โดยไม่ยาก

ดว้ ยวเิ ทโศบายอันชาญฉลาด สุขุมคัมภีรภาพของพระองค์นี้
เอง จงึ เป็นผลใหอ้ าณาจกั รไทยในสมยั พระเจ้ารามคําแหงแผข่ ยาย
ออกไปอยา่ งกว้างขวาง ปรากฎตามหลกั ศลิ าจารกึ ว่าทางทศิ ใตจ้ ด
แหลมมลายทู ศิ ตะวันตกได้หวั เมืองมอญทัง้ หมด ไดจ้ ดเขตแดนหง
สาวดี จดอ่าวเบงคอล ทิศตะวนั ออกเฉียงใตป้ ระเทศเขมร มีเขต
ตงั ้ แต่สันขวานโบราณไปจดทะเลจนี ทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือได้
เมอื งน่าน เมอื งหลวงพระบางทงั ้ เวยี งคําฝั ่งซ้ายแม่นํ้าโขง ทศิ
เหนือมีอาณาเขตจดเมอื งลําปาง กล่าวได้ว่าเป็นครัง้ ตงั ้ แตต่ ัง้
อาณาจกั รไทยทไี่ ด้แผ่นขยายอาณาเขตไปได้กว้างขวางถงึ เพยี งนั น้

การทํานุบํารุงบา้ นเมือง

เมือ่ ได้ทรงขยายอาณาเขตของอาณาจักรสโุ ขทยั ออกไปอย่าง
กว้างขวางดังกลา่ วแลว้ พระเจ้ารามคําแหง ยงั ได้ทรงทํานุบํารงุ บ้านเมอื ง
อีกเป็นอันมาก เช่นไดท้ รงสนั บสนุนในทางการค้าพานิช เลกิ ด่านเกบ็
ภาษีอากรและจงั กอบ เพือ่ เปิดโอกาสใหผ้ ูค้ นไปมาค้าขายกันไดโ้ ดย
สะดวกได้ยงิ่ ขนึ้ ไดส้ ่งเสรมิ การทําอตุ สาหกรรมทาํ เครอื่ งถว้ ยชาม ถึง
กับได้เสดจ็ ไปดูการทาํ ถ้วยชามในประเทศจนี ถึงสองครัง้ แล้วนําเอาช่าง
ปั่นถว้ ยชามชาวจนี เขา้ มาดว้ ยเป็นอนั มาก เพอื่ จะได้ใหฝ้ ึกสอนคน
ไทยใหร้ จู้ ักวิธีทาํ ถ้วยชามเครอื่ งเคลือบดินเผาตา่ งๆ ซึง่ ปรากฏวา่ ได้
เจรญิ รุง่ เรอื งมากในระยะนั น้

ในด้านทางศาลกใ็ หค้ วามยุติธรรมแกอ่ าณาประชาราษฎรโดยทัว่
ถึงกนั ไม่เลือกหน้าทรงเอาพระทัยใส่ในทุกข์สุขของอาณาประชาราษฎร์
ถงึ กับสัง่ ใหเ้ จ้าพนั กงานแขวนกระดงิ่ ขนาดใหญ่ไว้ทปี่ ระตพู ระราชวัง
ดา้ นหน้าแม้ใครมที ุกขร์ อ้ นประการใดจะขอให้ทรงระงับดบั เขญ็ แลว้ กใ็ ห้
ลนั่ กระดงิ่ รอ้ งทุกขไ์ ด้ทกุ เวลา ในขณะพจิ ารณาสอบสวนและตัดสิน
คดี พระองค์ก็เสด็จออกฟั งและตัดสินด้วยพระองค์เองไปตามความ
ยุตธิ รรม แสดงความเมตตาแก่ไพรฟ่ ้าข้าแผ่นดินเสมอื นบิดากับบตุ ร
ทรงชั กนําใหศ้ าสนาประกอบการบญุ กุศล ศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา
พระองค์เองทรงเป็นอัครศาสนูปถมั ภกได้ทรงสรา้ งแท่นมนั งศศลิ าไว้ที่
ดงตาล สําหรับให้พระสงฆ์แสดงธรรมและบางครัง้ กใ็ ชเ้ ป็นทีป่ ระทับว่า
ราชการแผ่นดิน

การปกครอง

ลกั ษณะการปกครองในสมยั ของพระเจา้ รามคาํ แหงหรอื ราษฎรมักเรยี ก
กันตดิ ปากว่าพอ่ ขุนรามคําแหงนั น้ พระองค์ไดท้ รงถอื เสมอื นหนึ่งวา่
พระองคเ์ ป็นบดิ าของราษฎรทัง้ หลาย ทรงใหค้ าํ แนะนําสัง่ สอน
ใกลช้ ิดเช่นเดยี วกับบดิ าจะพึงมตี อ่ บุตร ทโปรดการสมาคมกับไพร่
บา้ นพลเมืองไม่เลือกชั น้ วรรณะ ถ้าแม้ว่าใครจะถวายทลู รอ้ งทกุ ข์
ประการใดแล้ว กอ็ นุญาตให้เขา้ เฝ้าใกลช้ ิดไดไ้ ม่เลือกหน้าในทกุ
วนั พระมักเสด็จออกประทบั ยังพระแทน่ ศลิ าอาสน์ทําการสัง่ สอน
ประชาชนให้ตงั ้ อยู่ในศลี ธรรม

การวรรณคดี

นอกจากจะไดท้ รงขยายอาณาเขตของไทย ทางปกครองทาํ นุ
บํารงุ บ้านเมือง และจดั ระบบการปกครองทเี่ ป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยดังกลา่ ว
แล้ว พระเจา้ รามคาํ แหงยงั ได้ทรงสรา้ งสิง่ ทคี่ นไทยจะลมื เสียมไิ ด้อกี อยา่ ง
หนึ่ง สิง่ นั น้ ได้แก่ การประดษิ ฐ์อักษรไทยขนึ้ อันเป็นรากฐานของหนั งสือ
ไทยทีเ่ ราไดใ้ ชก้ นั อยใู่ นทกุ วนั นี้

ตามหลักฐานปรากฎว่าพระองค์ไดท้ รงคดิ อักษรไทยขนึ้ ใชเ้ มือ่ ปี
พ.ศ. ๑๘๒๖ กล่าวกันวา่ ได้ดดั แปลงมาจากอักษรคฤนถอ์ นั เป็นอักษรที่
ใชก้ ันอยู่ในอนิ เดียฝ่ายใต้

ตัวอกั ษรไทยซึง่ พระเจ้ารามคําแหงคดิ ขนึ้ ใชใ้ นสมยั นั น้ ตัว
พยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ตจ์ ึงอย่เู รยี งในบรรทัดเดยี วกนั หมด ดงั จะดูได้
จากแผ่นศลิ าจารกึ ในสมยั พระเจ้ารามคาํ แหง ซึง่ ประดษิ ฐานอยใู่ น
พพิ ิธภัณฑส์ ถานแหง่ ชาติ ตอ่ มาจึงได้มผี ูค้ อ่ ยคดิ ดดั แปลงให้วฒั นาในทาง
ดี และสะดวกในการเขียนมากขนึ้ เป็นลาํ ดบั จนกระทงั ่ ถึงอักษรไทยทเี่ รา
ได้ใชก้ นั อย่ใู นทกุ วันนี้

การศาสนา

ในสมัยพระเจา้ รามคําแหงนั น้ ปรากฎว่าศาสนาพุทธได้
เจรญิ รงุ่ เรอื งขนึ้ มากเพราะพระองคท์ รงเลอื่ มใสศรัทธาอย่างมาก เช่น
เมือ่ มีคนไทยเดินทางไปยงั เกาะลงั กา เพอื่ บวชเรยี นตามลทั ธลิ ังกา
วงศ์ คือถือคตอิ ยา่ งหินยาน มพี ระไตรปิฎกเป็นภาษามคธ แลว้ เขา้
มาตัง้ เผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาอยู่ทีเ่ มอื งนครธรรมราชนั น้ พระเจ้า
รามคําแหงยงั ไดเ้ สรจ็ ไปพบดว้ ยพระองค์เองแลว้ นิมนตพ์ ระภกิ ษุนั น้
ขนึ้ มาตงั ้ ให้เป็นสังฆราชกรุงสโุ ขทัย และไดบ้ วชในคนไทยทีเ่ ลอื่ มใส
ศรัทธาต่อมาตามลาํ ดับ ต่อมาพระเจา้ รามคําแหงไดท้ าํ ไมตรกี ับลงั กา
และได้พระพทุ ธสิหิงคม์ าจากลงั กา แลนั บแต่นั น้ มาคนไทยจงึ ได้
นั บถือลัทธิลังกาวงศ์สืบมา

ผลงาน

พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ทรงรวมเป็นพระมหากษัตรยิ ์ทที่ ร
งอจั ฉรยิ ภาพทัง้ ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนาและศลิ ปวทิ ยา
ต่างๆ ทสี่ ําคัญยงิ่ คอื พระองค์ไดท้ รงประดษิ ฐ์อกั ษรไทยขนึ้ เมือ่ ประ
มาณพ.ศ. ๑๘๒๖ ซึง่ เป็นต้นกําเนิดของอักษรไทยทีใ่ ชอ้ ย่ใู น
ปั จจุบนั

สมัยรัตนโกสินทร์

พระราชประวัติรัชกาลที่ ๘ แห่งราชวงศ์จกั รี
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานั นทมหิดล
พระราชประวตั ิ

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานั นทมหดิ ล มพี ระนามเดิมว่า
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ อานั นทมหดิ ล ทรงพระราชสมภพเมือ่ วันอาทติ ยท์ ี่ 20
กนั ยายน พ.ศ. 24๖๘ ตรงกบั วนั ขนึ้ ๓ ค่ํา เดอื น ๑๑ ปีฉลู ณ เมอื งไฮเดลแบรก์
ประเทศเยอรมนั นี ทรงเป็นพระราชโอรสองคท์ ี่ 2 ของสมเด็จพระราชบิดาเจ้าฟ้ามหดิ ล
อดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ และสมเด็จพระราชชนนีศรสี ังวาลย์
ทรงมพี ระพีน่ างและพระอนุชารว่ มสมเด็จพระราชบดิ าและสมเดจ็ พระราชชนนีเดยี วกันคือ
๑.สมเด็จพระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณิวัฒนา
๒.สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดลุ ยเดช

พระราชกรณียกจิ

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานั นทมหิดล พรอ้ มดว้ ยสมเด็จ
พระเจา้ น้องยาเธอเจา้ ฟ้าภูมพิ ลอดลุ ยเดช เสด็จเยยี่ มชาวไทยเชือ้
สายจนี เป็นครัง้ แรก ณ สําเพง็ พระนคร เมือ่ พ.ศ. 24๘๙

การปกครอง
พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ พระราชดาํ เนินไปในพระราชพธิ พี ระราชทาน
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวนั ที่ ๙พฤษภาคม พ.ศ. 24๘๙ และเปิด
ประชุมสภาผู้แทนในวันที่ ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. 24๘๙ นอกจากนี้
ยังเสด็จพระราชดําเนินทรงเยีย่ มราษฎรในจงั หวัดตา่ ง ๆ และทรง
เยีย่ มชาวไทยเชือ้ สายจนี เป็นครัง้ แรก ณ สําเพง็ พระนคร พรอ้ ม
ดว้ ย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจา้ ฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เมอื่ วันที่
๓ มถิ นุ ายน พ.ศ. 24๘๙ ซึง่ เป็นช่วงทีเ่ กิดความขดั แยง้ กนั
ระหวา่ งชาวไทยและชาวไทยเชือ้ สายจีนจนเกอื บเกิด
สงครามกลางเมือง เมือ่ พระองคท์ รงทราบเรอื่ ง มพี ระราชดํารวิ า่ หาก
ปล่อยความขนุ่ ข้องบาดหมางไวเ้ ช่นนี้ จะเป็นผลรา้ ยตลอดไป จงึ
ทรงตัดสินพระทัยเสดจ็ พระราชดําเนินสําเพ็ง ซึง่ ใชร้ ะยะเวลาประมาณ
4 ชั ่วโมง และพระองค์ทรงพระราชดําเนินด้วยพระบาทเป็นระยะ
ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร การเสด็จพระราชดําเนินสําเพง็ ในครัง้ นีจ้ ึง
เป็นการประสานรอยรา้ วทเี่ กดิ ขนึ้ ให้หมดไป


Click to View FlipBook Version