เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในงานโลจิสติกส์
1.ความหมายของโลจิสตกิ ส์
โลจิสติกส์ (logistics) เป็นระบบการจัดการการสง่ สินค้า ขอ้ มลู และทรัพยากร จากจุด
ต้นทางแหลง่ กาเนดิ ผผู้ ลติ ไปยงั จดุ ต่าง ๆ ตามความต้องการของลกู คา้ โลจสิ ตกิ ส์ เก่ียวขอ้ งกบั
การจัดการด้าน ข้อมูล การขนส่ง การบริหารวสั ดุคงคลัง การจดั การวัตถดุ บิ การบรรจุหบี ห่อ โลจิ
สติกสเ์ ปน็ ชอ่ งทางหนึง่ ของห่วงโซ่อปุ ทาน ที่ช่วยเพม่ิ มลู ค่าของห่วงโซ่อุปทาน โดยการใช้
ประโยชนข์ องเวลาและสถานทใี่ นการสร้างมลู คา่ เพ่มิ
โลจิสติกส์ (logistics) มาจากภาษาฝรั่งเศสคาวา่ logistique ทีม่ ีรากศพั ท์มาจากคาว่า
โลเชอร์ (loger) ทีห่ มายถึงการเก็บ โดยมีจุดเรม่ิ ต้นมาจากการขนส่งสินค้าทางการทหารในการสง่
กาลงั บารงุ ท้ังเสบียง อาวุธ กาลังพล เพ่ือสนับสนุนการรบ หรือกจิ กรรมท่ีมกี ารเคล่ือนยา้ ยจดั เกบ็
จากอีกท่ีหน่ึงไปยงั อกี ที่หนึง่ อาจมีการจัดเก็บระยะเวลานานหรือระยะเวลาชั่วคราวเช่น เอกสาร
สินค้าสาเร็จรปู วัตถดุ ิบ และอ่นื ๆ
โลจสิ ติกส์ (Logistics) ถูกนามาใช้ในการทหารเปน็ หลักโดยตามความหมายเดิม หมายถงึ
การส่งกาลังบารงุ หรือพลาธิการ แตใ่ นปัจจุบันไดม้ ีการขยายขอบเขตองค์ ความรดู้ ้านโลจิสติกส์
มาใชใ้ นการดาเนินธุรกจิ มากขนึ้ โดยคาว่า โลจสิ ตกิ ส์ จากการกาหนดนยิ ามโดย Council of
Logistics Management, USA ในปี 1998 ซ่ึงใหค้ านิยามโลจิสติกสไ์ วว้ ่า เป็นส่วนหนง่ึ ของ
กระบวนการในหว่ งโซอ่ ุปทานในการวางแผน การประยุกต์ใช้ และการควบคมุ ประสทิ ธภิ าพ
ประสทิ ธผิ ลการไหล และการจัดเกบ็ สนิ ค้า บรหิ ารและสัมพันธ์กบั ข้อมูลจากจดุ เร่มิ ต้นของการ
บริโภคทีต่ อบสนองความต้องการของลกู คา้
โลจสิ ติกส์ (logistics) ความหมายตามคานิยามของ The Council of Logistics
Management คือ กระบวนการวางแผนการดาเนินงาน การควบคุมการเคลื่อนย้ายทง้ั ไปและ
กลับ การเกบ็ รักษาสินค้า บริการ และขอ้ มูลทเ่ี กี่ยวข้องอย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล
ตัง้ แตจ่ ดุ เร่ิมต้นของการผลติ ไปสู่จดุ สุดท้ายของการบรโิ ภคเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้า
สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติได้จาแนก ระดับการ
พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศต่าง ๆ ไว้ 4 ระดับ ดังน้ี
1. การกระจายสินค้า (Physical Distribution) เปน็ ระดับการพฒั นาทีม่ ุ่งเนน้ เพอื่ เพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพและลดต้นทุนในการขนสง่ สินคา้ สาเร็จรูปจากผผู้ ลติ ไปยังผบู้ รโิ ภค ซึง่ จะครอบคลุม
กิจกรรมตา่ ง ๆ ได้แก่ การขนสง่ (Transportation) การจดั เก็บสินคา้ (Warehousing) การ
จดั การวสั ดุ (Supply Management) และการบรรจุภณั ฑ์ (Packaging) โดยในระดับนีจ้ ะยังไม่
มุ่งเนน้ การพัฒนาในส่วนทีเ่ ป็นสินค้าคงคลงั ท่เี ปน็ วัตถุดิบ (Raw Material) และสนิ คา้ ระหว่าง
ผลติ (Work in Process)
2. การบูรณาการโลจิสติกส์ภายใน (Internally Integrated Logistics) เปน็ ระดบั การ
พัฒนาที่บรู ณาการกจิ กรรมโลจิสติกส์ท่ีเกดิ ขึ้นต้ังแต่ก่อนกระบวนการผลติ (Production) โดยจะ
บูรณาการการจัดการภายในบริษทั ต้ังแตก่ ิจกรรมการวางแผนผลติ การจดั ซือ้ วตั ถดุ ิบจนถงึ การ
กระจายสินคา้ สง่ ถึงผู้บริโภค เพ่อื เพ่มิ ความถ่หี รือความสามารถในการระบายสินค้าอนั จะส่งผลทา
ให้ปริมาณสินคา้ คงคลังลดลงได้ การพัฒนาในระดับนีจ้ าเปน็ ต้องใช้ระบบเทคโนโลยสี ารนเทศและ
ระบบซอฟทแ์ วร์ช่วยในการบริหารจดั การกจิ กรรมทั้งระบบด้วย
3. การบูรณาการโลจสิ ติกสภ์ ายนอก (Externally Integrated Logistics) เปน็ ระดับการ
พัฒนาทม่ี กี ารบรู ณาการการขนสง่ ทุกรูปแบบ (Mode) อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เช่น การกาหนดใหม้ ี
จดุ ขนถ่ายสินคา้ ทไี่ ด้มาตรฐาน รวมถงึ นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบรู ณาการข้อมลู
ระหว่างบริษัทคูค่ า้ (Partner) นอกจากนี้ยงั มีการใชบ้ ริการจากผูใ้ ห้บรกิ ารโลจสิ ติกส์ (Third
Party Logistics Provider) เฉพาะดา้ นด้วย
4. การจดั การโลจสิ ตกิ สข์ า้ มชาติ (Global Logistics Management) เปน็ ระดับการ
พัฒนาที่เกดิ จากบริษัทข้ามชาติ ซึ่งหาทางแกป้ ัญหาเร่ืองต้นทุนในประเทศ ดังนนั้ จงึ เรม่ิ หาแหล่ง
วัตถดุ ิบหรือแรงงานที่มีต้นทุนตา่ กว่าในต่างประเทศ ลกั ษณะของการพฒั นาระดับนี้ ไดแ้ ก่ การ
จัดหาแหล่งวัตถดุ ิบและแรงงาน รวมถึงจัดส่งสนิ ค้าครอบคลมุ ไปทุกแหล่งท่ัวโลก ด้านการขนส่ง
จะมกี ารเชอ่ื มโยงการขนส่งระหว่างประเทศที่มีประสทิ ธิภาพดว้ ยการบรกิ ารจดั การ การขนสง่ ใน
รปู แบบตา่ ง ๆ รวมไปถึงการสง่ เสรมิ การส่งสนิ คา้ ผ่านแดน นอกจากน้ยี ังมีการใหค้ วามสาคญั กับ
ผลกระทบของการขนส่งต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภยั ดา้ นการขนส่ง ดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศจะมีการเชอ่ื มโยงระบบเครือขา่ ยภายในและระหว่างประเทศ และมกี ารพึง่ พาผู้ให้
บรกิ ารโลจสิ ติกส์ระหวา่ งประเทศดว้ ย
กจิ กรรมด้านโลจสิ ตกิ ส์ นับว่าเป็นกจิ กรรมสนับสนุนการดาเนนิ การภายในทุกองคก์ ร ซึ่ง
เช่ือมโยงทกุ หนว่ ยงานภายในและภายนอกองคก์ รท้ังดา้ นอุปสงค์ และอุปทานโดยกิจกรรมหลกั
ดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ (Key Logistics Activities)สามารถจาแนกได้ 9 กิจกรรม ตามข้อมลู จากสานักโล
จสิ ตกิ สก์ รมอุตสาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมอื งแร่ ดังนี้
1. การใหบ้ รกิ ารลูกค้าและกิจกรรมสนับสนนุ ตา่ ง ๆ
2. การวางแผนจดั ซ้ือ จดั หาวัตถุดิบ อุปกรณต์ า่ ง ๆ
3. การสอื่ สารด้านโลจสิ ติกส์และกระบวนการส่ังซ้ือ
4. การดาเนินการ ผลิต บรรจุ และขนส่ง
5. การเลอื กสถานท่ตี ้ังของโรงงานและคลงั สินคา้
6. การวางแผนกาลังการผลิต และการคาดการณ์ปริมาณความตอ้ งการของลูกคา้
7. การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
8. การบริหารการจดั เก็บ การรวบรวม การกระจายสนิ ค้า และบรรจุหบี ห่อ
9. กระบวนการโลจสิ ตกิ ส์ย้อนกลบั
2. หนา้ ที่ของสินคา้ คงคลัง (Functions of Inventories)
หน้าทข่ี องสนิ ค้าคงคลัง (Functions of Inventories) จาแนกออกตามหน้าทไ่ี ด้เปน็
- วสั ดุหรือวตั ถุดิบคงคลงั แบบส่งผ่าน (Transit Inventories) หรือวสั ดุหรอื วัตถดุ บิ คง
คลงั ในทอ่ (Pipeline Inventory) เปน็ วสั ดุหรือวตั ถุดิบคงคลงั ท่ีกาลังอยใู่ นระหวา่ งการ
เคลือ่ นยา้ ยจากที่หน่ึงไปยงั อีกทหี่ นึง่
- วสั ดุหรือวตั ถุดิบคงคลงั ไว้ปอ้ งกนั (Buffer Inventories) หรืออีกช่ือคือ วัตถดุ บิ ใน
ระดบั ปลอดภยั (Safety Stock) เป็นวสั ดหุ รือวัตถดุ ิบคงคลังท่ธี ุรกจิ เก็บไวเ้ พ่ือป้องกันความไม่
แนน่ อนของปริมาณสินคา้ และความต้องการ โดยวัสดุหรือวัตถดุ ิบคงคลังจะมีระดับใช้เปน็ กนั ชน
(Cushion) เพอ่ื ให้การดาเนินงานมคี วามราบรนื่ และต่อเน่ือง โดยป้องกันปัญหาสนิ ค้าขาดมือ
(Stock out) และการส่ังซื้อกลับ (Backorder)
- วัสดุหรือวตั ถุดบิ คงคลงั แบบล่วงหนา้ (Anticipation Inventories) เปน็ วัสดุหรือ
วัตถดุ ิบคงคลังทีจ่ ัดเก็บเพื่อป้องกันความเสี่ยงของสถานการณ์ เช่น การข้ึนราคา การนดั หยุดงาน
การเปล่ยี นแปลตามสถานการณ์ หรอื ความผนั ผวนของสภาพเศรษฐกจิ เป็นต้น เพื่อใหก้ าร
ดาเนินงานมีความคงที่ไม่ขาดตอน หรือต้องเร่งกาลังการผลิต เช่น ผ้ผู ลติ ผู้ค้าส่ง ผู้ค้า
ปลีก และห้างสรรพสนิ คา้ ต่างกจ็ ะพยายามจะเก็บวสั ดุหรอื วัตถุดิบล่วงหนา้ ในช่วงเทศกาล เป็น
ตน้
- วสั ดุหรือวัตถุดบิ คงคลงั แบบคคู่ วบ (Decoupling Inventories) เป็นระบบวสั ดุหรอื
วัตถดุ บิ คงคลัง ทีช่ ่วยให้การหมุนเวยี นของวัสดุหรือวัตถุดิบและกระบวนการผลิตดาเนนิ ไปอยา่ ง
ราบรืน่ ในอตั ราคงที่
- วสั ดหุ รือวตั ถดุ ิบคงคลงั แบบวงจร (Cycle Inventories) หรือวัสดหุ รือวัตถุดิบคงคลังท่ี
สง่ั ซ้ือ (Lot-size Inventory) เป็นปริมาณวสั ดุหรือวัตถุดิบคงคลังทีส่ ่ังซื้อในรอบระยะเวลา
เพื่อใหต้ น้ ทุนการสง่ั ซอื้ และการจดั เก็บวสั ดุหรือวตั ถุดบิ คงคลงั ต่าทส่ี ุด โดยวัสดุหรือวตั ถุดบิ คงคลัง
แบบวงจรเป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการบรหิ ารระบบวัสดหุ รอื วัตถดุ บิ คงคลงั ธรุ กิจ ในทางปฏิบัติ
ธุรกิจต่าง ๆ คงมไิ ดแ้ ยกเกบ็ วสั ดุหรือวัตถุดิบคงคลังตามหน้าทอ่ี ยา่ งชัดเจนตามทีก่ ล่าวมา และ
หลายธุรกจิ กไ็ มจ่ าเปน็ ทจี่ ะต้องมีวัสดุหรอื วัตถุดิบคงคลังในทุกหน้าที่ แตเ่ พอื่ ให้สามารถทาความ
เขา้ ใจถงึ ความแตกต่างของวัสดหุ รอื วตั ถดุ บิ คงคลังเพื่อใช้ในระบบการ วางแผนจดั การวสั ดหุ รือ
วัตถดุ ิบในเชงิ รกุ
- การมวี สั ดุคงคลังเพอ่ื เก็บไว้ใช้ในกรณีพิเศษต่าง ๆ (Anticipation Inventory) ทีจ่ ะ
เกดิ ขึ้นตามแผนการดาเนนิ งานทัง้ กรณที ีค่ าดว่าจะมีความตอ้ งการเพิ่มข้ึนจากปกติ เชน่ planned
sales promotion programs, seasonal fluctuations และกรณที ว่ี สั ดุหรือสนิ ค้านัน้ อาจขาด
แคลนชัว่ คราว เช่น plant shutdowns
- การมีวสั ดคุ งคลังเพื่อเก็บไวส้ ารอง (Fluctuation Inventory) ในกรณีท่คี วามต้องการ
ของลูกคา้ หรือการจดั ส่งวสั ดุหรอื สินคา้ จะ Supplier มคี วามไมแ่ นน่ อน
- การมวี สั ดคุ งคลังเนอ่ื งจากกรผลิตหรอื ส่ังซื้อแบบเต็ม Lot (Lot size Inventory) เพื่อ
รกั ษาการผลิตใหม้ ีอัตราคงที่หรือเพ่ือให้ไดส้ ว่ นลดปริมาณจากการจดั ซอ้ื จานวนมากตอ่ ครัง้
- การมีวัสดคุ งคลังไวเ้ พ่ือเก็งกาไรในอนาคต (Hedging Inventory)
การจัดการสินค้าคงคลัง มีความสาคญั หลายประการ
1. เพิม่ ความสามารถในการทากาไรของกิจการจากการจัดการสนิ ค้าคงคลังทมี่ ี
ประสทิ ธิภาพ โดยการจัดให้มีระดับสนิ คา้ คงคลังที่เหมาะสมไม่มากเกนิ ไปจนต้องเสยี ค่าใช้จา่ ยใน
การเกบ็ รักษาหรอื มตี น้ ทนุ จมในสินค้าคงคลงั นนั้ และไม่มสี ินคา้ คงคลังนอ้ ยเกินไปจนเกิดการขาด
แคลนทาให้สญู เสียโอกาสในการขายหรอื สูญเสียลูกคา้ ไปใหค้ แู่ ข่งขนั
2. การสร้างความพึงพอใจให้กบั ลกู ค้า สินคา้ คงคลงั ของกจิ การจะทาให้กจิ การสามารถ
ตอบสนองความต้องการของลกู คา้ ได้ทนั ที ในเวลาทล่ี ูกค้าตอ้ งการ สามารถส่งมอบสินคา้ ได้ตรง
เวลา ซ่ึงเปน็ ส่วนสาคัญในการสร้างความได้เปรยี บทางการแข่งขนั
3. การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพของการบวนการผลิต โดยสนิ คา้ คงคลังท่ีเปน็ วตั ถุดิบจะช่วยให้
กระบวนการผลติ เปน็ ไปอยา่ งราบร่นื นอกจากนใ้ี นกระบนการผลติ หากมีขัน้ ตอนหน่ึงหรือ
เคร่อื งจกั รใดเครอ่ื งจกั รหนึง่ เกิดเสีย การมสี ินค้าคงคลงั ระหวา่ งการผลิตจะช่วยให้การผลติ ไมต่ ้อง
หยดุ ชะงกั สามารถดาเนนิ การผลติ ได้อย่างต่อเนอ่ื งกนั ไป
(https://iok2u.com/index.php/article/logistics-supply-chain/726-lm57-
logistics)
3. เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นคลงั สนิ คา้
การเลอื ก อปุ กรณท์ ่ีดีช่วยลดเวลาในการขน้ึ และลงสนิ ค้าใหผ้ ลประโยชน์ทางธุรกจิ
มากขึ้นนอกจากนน้ั ยงั ลดภาระดา้ นแรงาน ความล้าหนา้ ทางเทคโนโลยขี องอุปกรณ์ยกสนิ คา้ ท่เี ปน็
เคร่อื งจักรกลสามารถเพ่ิมขนาดสนิ คา้ ทยี่ กมารถยกสินค้าในปรมิ าณท่ีสูงขน้ึ
อุปกรณย์ กสนิ ค้าที่เปน็ พาเลท ( Pallet Handling Equipments ) อาจจะเปน็ วธิ ที งี่ ่าย
ท่ีสุด วิธีที่ นยิ มมากในปัจจุบัน คอื
การยกสนิ ค้าเปน็ พาเลทโดยใชร้ ถโฟลล์ ฟิ ทน์ อกจากนี้ยังมีประเภททใี่ ช้แรงงานคน (
Pallet Hand Jack ) หรอื บ้านเราเรยี กว่า ตะเขล้ ากสินค้าใชล้ ากสินค้าบรเิ วณท่าขนึ้ ลงสนิ คา้
1.รถลากพาเลทหรือตะเข้ ( Hand Pallet Truck )เป็นอปุ กรณล์ ากด้วยมือธรรมดายก
ลากโดยใช้ระบบไฮดรอลกิ ในการควบคุมการยก
รปู ภาพที1่ .1 รถลากพาเลทหรอื ตะเข้
2.สะพานพาด ( Dock Plate/Ramp/Board ) ในปัจจบุ นั ระบบสะพานพาดจะผลติ โดย
ใช้อะลูมเิ นียมเหล็กหรือไฟเบอรก์ ลาส หากเปน็ อะลูมเิ นียมจะมนี ้าหนกั เบาสามารถออกแบบให้
รองรับนา้ หนกั ได้ถึง 30,000กิโลกรมั จะควบคมุ ร่วมกบั ระบบไฮดรอลิก หรือใช้คนยกกไ็ ด้
รูปภาพที่1.2 สะพานพาด
3.อปุ กรณท์ า่ ขึ้นลงสินคา้ และลฟิ ท์(LiftandDockLeveler Devices ) ใชใ้ นการยกพา
เลทและ กล่องมหี ลายชนิด ได้แก่ ลฟิ ทก์ รรไก( Lift Devices ) ท่าขน้ึ ลงสนิ คา้ (Dock Leveler
Devices)พาเลท อตั โนมตั ิ ( Pallet LoadingAutomated Equipment ) ระบบโตะ๊ หมนุ พา
เลท ( Pallet Disc Turntable )
รูปภาพท่ี1.3 อปุ กรณท์ า่ ขนึ้ ลงสินค้าและลฟิ ท์
4.ประตแู ละมา่ นช่องข้ึนลงสินค้า (DockSealsand Shelters ) ขนาดเปน็ ไปตามขนาด
ช่องประตูที่ต้องการ มหี ลายชนิด เชน่ มานช่องขึน้ ลงสนิ คา้ (DockSeals)ประตูช่องข้ึนลงสินค้า
แบบผสม ( Dock Combination Shelters ) สามารถควบคุมอณุหภมู ิในห้องได้
รปู ภาพท่ี1.4 ประตูและม่านช่องขึ้นลงสินคา้
5.สายพานลาเลยี งแบบยืน่ เข้าไปในตู้ ( Powered Extendible Conveyor ) ใชส้ าหรบั
ยนื่ เข้าไปในตคู้ อนเทนเนอร์ การออกแบบขน้ึ กับรถยนต์ที่ใช้
รูปภาพท่ี1.5 สายพานลาเลียงแบบย่ืนเข้าไปในตู้
6.อุปกรณ์ยกพาเลทท่ีใช้พลังงานไฟฟ้า ( Powered Handling Device)ใช้หลกั การ
เดียวกบั สายพานลาเลียงแบบยื่นเข้าไปในตู้ และต่อมาในสดูของคานยืน่ ใช้แทนรถโฟร์คลฟิ ท์
รปู ภาพท1ี่ .6 อุปกรณย์ กพาเลทที่ใช้พลงั งานไฟฟ้า
7.เครนทีย่ ึดติดตง้ั ในท่ี (Builtin Crane)ในกรณีท่ีบรเิ วณทา่ ขน้ึ สนิ คา้ มนี า้ หนกั มากอาจจะ
ใช้การตดิ ตง้ั เครนในท่ี เพอ่ื ให้สามารถข้นึ ลงสินคา้ ได้อย่างรวดเร็ว มหี ลายรูปแบบ
รปู ภาพท่ี1.7 เครนที่ยดึ ตดิ ตั้งในที่
8.เครนทว่ี ิ่งบนราง ( Gantry Crane ) เปน็ เครนวิ่งบนรางสาหรับ ยกตู้คอนเทนเนอร์
สินค้าน้าหนกั มากใช้ในลานขนถ่ายสินคา้ ทา่ เรือ ลานตคู้ อนเทนเนอร์
รูปภาพท่ี1.8 เครนทีว่ ิ่งบนราง
9.อปุ กรณ์ยกสินค้าด้านหลังรถ ( Tail Lifts ) ใช้ระบบไฮดรอลิกโดยไม่ ตอ้ งใชท้ า่ ขึ้นลง
สินคา้ ซ่งึ ยดึ ตดิ ใตแ้ ชสซีรถยนต์ มีหลายชนิด ทั้งแบบทเ่ี ป็นแผน่ พ้นื ยกในแนวต้ังแบบยึดกบั รางกบั
เสาแบบคานยื่นแบบแผน่ เลอื่ น แบบตดิ กบั รถตู้ ฯลฯ
รปู ภาพท่ี1.9 อุปกรณ์ยกสินค้าดา้ นหลังรถ
10.รถยกตูส้ ินคา้ ( Special Forklift ) เป็นรถโฟรค์ ลิฟท์ท่ใี ช้สาหรบั ยกต้คู อนเทนเนอร์
สนิ คา้ ใช้ในลานขนถ่ายสนิ คา้ ทา่ เรือ ลานต้คู อนเทนเนอร์
รูปภาพท1่ี .10 รถยกตู้สนิ คา้
11.อปุ กรณเ์ คล่ือนยา้ ยบนพ้ืน (MovingFloors) โดยส่วนมากติดบนพนื้ อาคาร ตคู้ อนเทน
เนอร์ เพื่อใหพ้ าเลทไหลล่นื โดยสะดวก
รูปภาพที่1.11 อุปกรณ์เคลื่อนย้ายบนพ้ืน
12.ขาต้งั แบบประหยดั (EconomyStabilizingJack) สามารถรับนา้ หนกั ตงั้ แต่20-100
ตนั สามารถตง้ั ไดส้ งู ตัง้ แต่1.00-1.50เมตร
รปู ภาพที่1.12 ขาตั้งแบบประหยดั
13.โต๊ะปรับระดับติดล้อแบบเท้าเหยยี บ (Mobile Manual Table Lift) ใชผ้ ่อนแรงใน
การยกข้นึ ของงานท่ีมนี ้าหนัก
รูปภาพที่1.13 โต๊ะปรบั ระดับตดิ ลอ้ แบบเท้าเหยียบ
14.เหลก็ กันสนิ ค้าเสียหายในต้คู อนเทรนเนอร์ (Cargo Bars ) ติดตั้ง ในตู้ หรอื รถ
เทรนเนอร์ เพ่ือไม่่ใหส้ ินค้าเสียหาย ลดการส่ันสะเทือน ระหว่างการขนส่งโดยยึดตดิ กับ ผนงั ต้คู อน
เทรนเนอร์
รปู ภาพท่ี1.14 เหล็กกันสินคา้ เสียหายในต้คู อนเทรนเนอร์
15.อุปกรณ์ยกสินคา้ บรเิ วณท่าขน้ึ สนิ ค้า (Dock Hoists) เปน็ อุปกรณท์ ี่ยกสินค้าแบบกรร
ไก ( Scissor Hoists ) และยกแบบราง ( Rail Hoists ) ใช้สาหรบั ยา้ ยสินค้าระหวา่ งทา่ ข้ึนลง
สินค้าหรือรถยนตไ์ ปยังพน้ื ท่ี ระบบน้ีสามารถทาให้ไมต่ อ้ งยกระดบั ท่าข้นึ ลงสนิ ค้าหรอื โดยการขดุ
หลมุ แบบเดมิ สามารถแยกมาตั้งอิสระได้
รูปภาพท่ี1.15 อุปกรณ์ยกสนิ คา้ บริเวณท่าขึน้ สินค้า