The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นโยบายขับเคลื่อนงานวัฒนธรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunnawut70549, 2022-01-20 03:34:13

นโยบายขับเคลื่อนงานวัฒนธรรม

นโยบายขับเคลื่อนงานวัฒนธรรม

Keywords: นโยบาย,กระทรวงวัฒนธรรม

การขบั เคลือ่ น นโยบาย
ไปส่กู าร ปฏิบตั ิ

เพอื่ การยกระดบั งานวัฒนธรรม

โดย นางยุพา ทววี ฒั นะกิจบวร
ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

จดุ เน้นการขบั เคลอ่ื นงานวัฒนธรรม ปี 2565

๑. เทดิ ทูนสถาบันหลักของชาติ รกั ษาและสืบสานศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม
2. ส่งเสรมิ การนาวฒั นธรรมมาสร้างมลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ
3. ยกระดบั Soft Power ไทย สู่เวทโี ลก

จดุ เนน้ การขบั เคล่อื นงานวฒั นธรรม ปี 2565

4. สรา้ งคา่ นยิ มเชิงบวก และภูมคิ ้มุ กันทางสังคม
5. ยกระดบั การศกึ ษาและการเรยี นรูท้ างวัฒนธรรม
6. ยกระดบั การบริหารจัดการงานวัฒนธรรม

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมสาคัญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. การเทิดทนู สถาบนั หลักของชาติ

แนวทางปฏิบตั ิในส่วนภมู ิภาค

๑. จดั พิธที าบุญตกั บาตรและจดั โต๊ะหมู่บชู าในการจัดกิจกรรมทกุ ครัง้
ทเี่ กี่ยวข้องกับพระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์

2. งานพธิ ีการศพที่ได้รับพระราชทานตามพระบรมราโชบาย

3. การจดั กจิ กรรมเนอื่ งในวนั สาคญั ทางศาสนา

4. จดั กิจกรรมจิตอาสาเป็นประจา และใหร้ ายงานผลทุกเดอื น

จดั โตะ๊ หม่บู ชู า

งานพิธีการศพทไ่ี ดร้ ับพระราชทานตามพระบรมราโชบาย

1. การหา้ มรับสนิ บน ของกานัล
เร่อื งหาผลประโยชน์ในหน้าทรี่ าชการ

2. การใช้เวลาราชการไปหาผลประโยชน์
สว่ นตัวของเจ้าหนา้ ที่ผูป้ ฏิบัตงิ านใน
ภารกจิ พธิ ีการศพทีไ่ ดร้ บั พระราชทาน

กจิ กรรมจติ อาสา

การจัดกจิ กรรม
เนื่องในวนั สาคัญทางศาสนา

การจัดงานมหกรรมใตร้ ่มพระบารมี 240 ปี
กรุงรตั นโกสินทร์

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

๒. การตอ่ ยอดชมุ ชนคณุ ธรรม สู่ "เทีย่ วชมุ ชน ยลวถิ ี"

ตอ่ ยอดชมุ ชนคุณธรรมสู่การ“เทย่ี วชุมชน ยลวถิ ”ี

ต่อยอดทุนทางวัฒนธรรม
ตามรอยศาสตรพ์ ระราชา
เพ่อื ชมุ ชนเข้มแขง็ อยา่ งยง่ั ยืน
ภายใตแ้ นวคิด “เท่ยี วชุมชน ยลวถิ ”ี

จดุ เดน่ ของ “เที่ยวชมุ ชน ยลวิถี”

๑1 ๒1

“ต่อยอด ๓ ภมู ิ” “จุดขายคืออตั ลักษณ์ชมุ ชน”
นาเสนห่ แ์ ละความงดงามของศิลปวฒั นธรรม
ทุนทางวฒั นธรรมทเ่ี ปน็ “ภมู สิ ังคม”
“ภูมิปัญญา” “ภูมิวัฒนธรรม” ของชมุ ชน ประเพณี วถิ ีชวี ิต วิถพี อเพียง
ผลิตภัณฑ์ ภมู ปิ ัญญา ซึ่งเป็นอัตลักษณ์
มาพัฒนาต่อยอดเพื่อใหเ้ กิดคุณคา่ ของชุมชน ตลอดจนความงดงามทางธรรมชาติ
และมูลคา่ อยา่ งสร้างสรรค์ เป็นจดุ ดึงดูดนักท่องเทย่ี วและผู้มาเยอื น

เปา้ หมายในปี ๒๕๖๕

คดั เลอื ก “ชุมชน ยลวถิ ี”ต้นแบบเพ่ิม ๑๐ ชุมชน

พฒั นา “ชุมชน ยลวถิ ี” ที่มอี ยู่เดมิ ใหม้ ีศกั ยภาพมากขนึ้

พฒั นาระบบ Mobile Application “เทยี่ วชุมชน ยลวิถี” เพือ่ พัฒนา
ชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธ์การให้บริการขอ้ มูลและชอ่ งทางการตลาดของชุมชน

เปา้ หมาย “พัฒนาชมุ ชนให้มีความพร้อม” ๒

“คัดเลือกชมุ ชนโดดเด่น” ๑ ชมุ ชนคณุ ธรรมฯ “เท่ยี วชมุ ชน ยลวถิ ี”
มคี วามพร้อมในการให้บรกิ าร
ชมุ ชนคณุ ธรรมฯ ที่มคี วามโดดเด่น
ด้านการทอ่ งเทยี่ ววิถชี มุ ชน และมีผลการดาเนนิ งาน ตอ้ นรับ ดแู ลนกั ทอ่ งเท่ียว ผู้มาเยือน สรา้ งการเรยี นรู้
และความประทบั ใจ
เปน็ ทป่ี ระจกั ษไ์ ด้รับการยกย่อง
เชิดชเู กียรติ สร้างขวญั กาลังใจ พร้อมเกิดตน้ แบบนักเล่าเรื่องชมุ ชน ทีส่ รา้ งแรงบนั ดาลใจ
ในการขบั เคลือ่ นงานเพอ่ื ประโยชน์ ให้แกเ่ ดก็ เยาวชน และประชาชนในชุมชน
ได้ศกึ ษาเรียนรู้ และเกดิ การพฒั นาอยา่ งยั่งยืน
ของคนในชุมชนต่อไป

๓ พฒั นาระบบ Mobile Application “เทย่ี วชมุ ชน ยลวถิ ี”

ผลิตภัณฑ์ ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ทาง ชุมชน

วฒั นธรรม

ร้านอาหาร เท่ยี ว ที่พัก
ของฝาก ชมุ ชน ยลวิถี โฮมสเตย์

แผนผงั ชุมชน เสน้ ทาง
ทอ่ งเท่ียว
ชมุ ชน

แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคญั
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

๓. ตลาดวัฒนธรรม "ตลาดนา ตลาดบก"

วตั ถุประสงค์

เพื่อพัฒนาวิถีชีวิตดังเดมิ “ตลาดนา ตลาดบก”
ของแต่ละชุมชน ให้กลบั มาเปน็ ที่รูจ้ กั อีกครัง
และสง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ

แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคัญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

๔. การสารวจเสน้ ทางการทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์

เป้าประสงค์

สารวจ สืบค้นเสน้ ทาง และแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตรใ์ นพื้นทจ่ี ังหวดั
เพอื่ รวบรวม และเสนอเป็นเสน้ ทางท่องเทยี่ วที่เชอ่ื มโยงกบั ชุมชนคุณธรรม
ในการเตรยี มความพรอ้ มสาหรบั การยกระดับการเท่ียวชมุ ชน ยลวิถี ตอ่ ไป

แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

๕. การสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมคอนเทนตไ์ ทย (Content Thailand)

ทม่ี า : การส่งเสริมอตุ สาหกรรมคอนเทนตไ์ ทย
(Content Thailand)

รั ฐ บ า ล ไ ด้ มี ข้ อ ส่ั ง ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ น โ ย บ า ย
การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมภาพยนตร์เพ่ือเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
โดยใช้วถิ วี ัฒนธรรมและ Soft Power เปน็ กลไกในการขับเคลอื่ น

กระทรวงวฒั นธรรมเป็นหน่วยงานหลัก
ในการส่งเสริมพัฒนาอตุ สาหกรรมบันเทงิ ใหเ้ ป็นเคร่ืองมือ
ในการสร้าง Soft Power ใหก้ บั ประเทศท้งั ในมิตวิ ัฒนธรรม

และมติ อิ ่นื ๆ

ประเทศไทยมีทุนทางวัฒนธรรมมากมาย
ที่สามารถเผยแพร่ออกสตู่ า่ งประเทศได้

เป้าประสงค์

“นาอตั ลกั ษณ์ท้องถิ่น ขบั เคลื่อนอุตสาหกรรม

ภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั น์ เพื่อเพิ่มมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ โดย
ใช้มิติทางวฒั นธรรมและซอฟตพ์ าวเวอร์ (Soft Power)
เพื่อเพ่ิมมูลคา่ ทางเศรษฐกิจและผลกั ดันอุตสาหกรรม
ภาพยนตร์ และวดี ิทศั น์ เป็นอุตสาหกรรมทีม่ ีศักยภาพสูง
ของประเทศ

โดยการนาคอนเทนต์เก่ยี วกับ ศลิ ปวัฒนธรรม
อาหาร สถานท่ที ่องเท่ยี ว ในประเทศไทยสอดแทรกใน
ภาพยนตรแ์ ละส่ือต่างๆ เพ่ือสง่ ออกเปน็ การสร้างรายได้
และฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ”

๔ แนวทางการประชาสมั พันธช์ ุมชนท้องถน่ิ ผ่านคอนเทนต์

๑1 2๒ ๓ ๔

“ค1้นหา” “คดั สรร” 3 “ขอบอก (!)”
คดั เลือกชุมชนหรอื
คน้ หาแหล่งท่องเที่ยว แหลง่ ท่องเท่ยี วทางวฒั นธรรม “ขอ้ มลู ” จัดทาตวั อยา่ งวีดิทัศน์
ทางวฒั นธรรม หรอื ชมุ ชน เพอื่ นาสู่การสนับสนนุ และ จัดทาเป็นข้อมลู สถานท่ี หรือสื่อประชาสมั พนั ธอ์ นื่ ๆ
พฒั นาใหเ้ ปน็ สถานทถ่ี ่ายทา ทม่ี ีศักยภาพสาหรบั เป็น เพื่อเป็นตวั อย่างนาเสนอ
ทม่ี อี ตั ลักษณ์ ภาพยนตร์ ละคร หรือโฆษณา แหลง่ ผลติ Content ไทย
ท่นี าเสนอ Content ไทย เพ่ือนาเสนอตอ่ ผู้ประกอบการ Content ไทย
ภาพยนตรแ์ ละวีดิทัศน์ ของแต่ละทอ้ งถนิ่ หรอื จังหวัด

เสนห่ ว์ ถิ ชี ีวิต สถานทท่ี ม่ี ีประวัติศาสตรห์ รือเร่ืองเลา่ ภูมปิ ัญญา อาหาร สินค้าและบรกิ าร เพื่อพฒั นาใหเ้ ป็น Soft Power จดุ ขายการท่องเท่ยี ว

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

๖. รกั ษ์ผ้าไทย รักษค์ วามเปน็ ไทย

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อสืบสานงานศิลปวฒั นธรรมของชาตติ ามพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์
พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ในการสง่ เสริมการใชผ้ ้าไทย ผ้าพ้ืนถนิ่
และการรณรงคส์ ่งเสริมอตั ลกั ษณ์ความเปน็ ไทย

❖ นโยบายรฐั บาลสง่ เสรมิ การใช้และสวมใสผ่ า้ ไทย

นโยบายกระทรวงวัฒนธรรมในการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ขับเคลื่อน

นโยบายโมเดลเศรษฐกจิ ใหม่ BCG ซ่ึงได้มุ่งผลกั ดัน “Soft Power” ความเป็นไทยและส่งเสริมการต่อยอด

นาคุณค่าวฒั นธรรมมาสร้างสรรค์สินค้าและบริการเพ่ือเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและประเทศ
โดยเฉพาะการสง่ เสรมิ การออกแบบและการแต่งกายด้วยผา้ ไทย

๗ แนวทางการพัฒนา: รกั ษผ์ า้ ไทย รักษค์ วามเปน็ ไทย

๑ ๒ ๓

คน้ หาหรือออกแบบลายผ้า พัฒนาต่อยอด สรา้ งสรรค์ชน้ิ งาน
ประจาจังหวัด จานวน ๑ ลาย

๔ ๕ ๖ ๗

รณรงคป์ ระชาสมั พันธ์ จดั งานนทิ รรศการองค์ความรู้ จดั งานนทิ รรศการผ้าไทย ๗๖ จังหวัด พฒั นาระบบสารสนเทศ
ให้เป็นทร่ี ้จู ัก ลายผ้าของจังหวดั เพ่อื เทดิ พระเกยี รตขิ องสมเด็จพระนาง ภมู ปิ ญั ญาผ้าไทย
เจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรม เพอ่ื สร้างมลู คา่ เพ่ิม
ทางเศรษฐกจิ
ราชชนนีพันปีหลวง

แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคัญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

7. การยกระดบั เทศกาลประเพณี

เปา้ ประสงค์

“ ยกระดับเทศกาลประเพณจี ากระดบั ท้องถน่ิ
ส่รู ะดบั ประเทศและนานาชาติ

นาไปส่กู ารสง่ เสริมท่องเที่ยวทางวฒั นธรรม ”

แนวทางการพฒั นา : ยกระดบั เทศกาลประเพณี

แนวทางที่ ๑ แนวทางที่ ๒ แนวทางท่ี 3

“รับฟงั ” “รายงาน” “วางแผน”

เปิดเวทีรบั ฟงั ความเหน็ ของผ้นู า นาเสนอข้อมูลเทศกาลประเพณี วางแผนและเตรยี มการจัดงาน
ปราชณ์ชาวบ้าน ศลิ ปนิ ท้องถิน่ ท่จี ะยกระดับตอ่ ผ้วู า่ ราชการจงั หวัด เทศกาลประเพณี ในสว่ นของแหลง่

เพอ่ื พิจารณาเทศกาล ส่วนราชการในจังหวดั งบประมาณ หนว่ ยงานและ
ประเพณขี องทอ้ งถิ่นหรือจงั หวดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ แนวทางการบูรณาการ
และภาคเอกชน เพอื่ ประกาศ
ทม่ี ีศักยภาพ (หรอื ประเทศท่ีจะมาร่วมจัดงาน
เป็นเทศกาลประเพณี กรณีทเี่ ปน็ ระดับนานาชาติ) รวมถึง
ท่ีจะดาเนินการยกระดบั ประจาปี การมสี ว่ นร่วมของประชาชนใน
จงั หวัด ตลอดจนแผนการเผยแพร่

ประชาสมั พันธใ์ นวงกว้าง

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

๘. การจัดงานมหกรรมวฒั นธรรม ๔ ภาค

เปา้ ประสงค์ : มหกรรมวฒั นธรรม ๔ ภาค
๒ “เยียวยา”
๑ “ฟื้นฟู” เพอ่ื เยียวยาช่วยเหลอื ศลิ ปนิ พน้ื บา้ นศลิ ปนิ
เพอื่ ฟนื้ ฟเู ศรษฐกจิ และสงั คมจากสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา แขนงตา่ ง ๆ และผูป้ ระกอบการ
สนิ คา้ และบรกิ ารทางวฒั นธรรม ใหม้ ีงานมรี ายได้
2019 (COVID - 19)
๓ “เผยแพร่” ๔ “ประชาสัมพันธแ์ ละการตลาด”
เพือ่ เผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรมระดับชาติ เพอ่ื ประชาสมั พนั ธแ์ ละใหเ้ กดิ ช่องทาง
และระดับทอ้ งถิ่นใหเ้ ป็นที่รจู้ กั มากขนึ้ การตลาดในการจาหน่ายสินคา้ และบรกิ าร
นาไปสกู่ ารสบื สานและตอ่ ยอด ทางวฒั นธรรม

แผนงาน โครงการ และกิจกรรมสาคญั
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

9. การพัฒนาต่อยอดผลติ ภัณฑว์ ัฒนธรรมไทย

โครงการกระตนุ้ และส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก
ด้วยการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์วฒั นธรรมชมุ ชนไทย (CCPOT) สสู่ ากล

วตั ถปุ ระสงค์

1. สนบั สนนุ ให้เกิดการกระต้นุ เศรษฐกจิ ของประเทศในภาพรวม
๒. ลดต้นทนุ ในการพฒั นาผลติ ภัณฑข์ องชุมชน
๓. สร้างสนิ คา้ และบรกิ ารของชุมชนรปู แบบใหม่ทีม่ มี ลู คา่ เพ่มิ

เกดิ การสร้างงาน สรา้ งรายไดใ้ ห้แกป่ ระชาชนในชุมชน

แนวทางการดาเนินงาน

๑. พัฒนาผลติ ภณั ฑว์ ัฒนธรรมชมุ ชนโดยเพ่ิมมลู ค่าดว้ ยการออกแบบผลิตภณั ฑใ์ หม่

๒. จัดงานแสดงและจาหน่ายสนิ ค้าวัฒนธรรมท่ใี หญท่ ่ีสดุ ของประเทศ
(CCPOT GRAND EXPOSITION)

แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคัญ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

10. การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตของกระทรวงวฒั นธรรม

ยุทธศาสตรป์ ้องกันและปราบปรามการทจุ ริตของกระทรวงวฒั นธรรม

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒
สร้างวัฒนธรรมองคก์ รดา้ นความซ่ือสตั ย์ พฒั นาระบบการดาเนินงานและการบรกิ าร
ประชาชนใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล
สุจรติ และต่อตา้ นการทุจริต
และมาตรฐานท่กี าหนด
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓
พฒั นาประสทิ ธิภาพการจดั การ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔
เรื่องร้องเรียนกรณกี ารทจุ ริต สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื กับภาคส่วนอืน่

ในการป้องกนั การทุจริต

เปา้ ประสงค์

สว่ นราชการในสังกดั กระทรวงวฒั นธรรมได้รับการประเมินระดบั คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA) ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๐ คะแนน

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
89.59 คะแนน 85.46 คะแนน
อันดบั 10 93.40 คะแนน ตดิ อนั ดบั
อนั ดบั 2 อนั ดบั 8 ๑ ใน ๓



แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมสาคัญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
10. การจดั กิจกรรมลานวัฒนธรรม สร้างสขุ

เปา้ ประสงค์

ให้ทกุ จังหวดั บรู ณาการกับทกุ ภาคส่วนในการนากจิ กรรม
ทางวฒั นธรรมเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในทกุ โอกาส โดยไม่ตอ้ งรอ
ให้ถึงชว่ งเทศกาลประเพณี และผลกั ดนั ใหเ้ กิด

“ลานวัฒนธรรม สรา้ งสขุ ” เพื่อใหป้ ระชาชนทกุ กลมุ่

เขา้ ถงึ กจิ กรรมทางวัฒนธรรมจนเปน็ วิถีชวี ติ อาทิ
การจัดกิจกรรมดนตรีในสวน ถนนสายวฒั นธรรม
ศลิ ปะการแสดง ณ ลานวฒั นธรรมของแตล่ ะจงั หวัด
ทั้งน้ี ใหค้ านงึ บรบิ ทและมาตรการปอ้ งกนั โรคไวรัสโควิด–
19 ของพื้นทแี่ ตล่ ะจังหวัด


Click to View FlipBook Version