เอกสารประกอบการเรียน
รายวชิ า การบัญชเี บ้อื งต้น 2
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3
สมดุ รายวันท่ัวไป
จัดทำโดย
นางสาวสุมิตตา อดเิ รกลาภ
กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
โรงเรยี นบางพลีราษฎร์บำรุง อำเภอบางพลี จงั หวัดสมุทรปราการ
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ
สำนักงานการคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
สมดุ รายวันท่วั ไป : 1
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
วิชา การบัญชเี บอ้ื งต้น 1
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 สมดุ รายวันทวั่ ไป
คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านคำถามตอ่ ไปน้ี แล้วเลอื กคำตอบทเี่ ห็นวา่ ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดย
เขยี นเคร่ืองหมาย X ลงในกระดาษคำตอบ
........................................................................................................................................................
1. สมดุ รายวนั ข้ันต้นเล่มใดทใี่ ชจ้ ดบนั ทกึ รายการขนั้ ตน้ เฉพาะเร่อื งใดเรอ่ื งหนึ่ง
ก. สมดุ รายวนั ทัว่ ไป ข. สมุดรายวันเฉพาะ
ค. สมุดแยกประเภททั่วไป ง. ถกู ทุกข้อ
2. ขอ้ ใดหมายถงึ Book of Original Entry
ก. สมดุ รายวันทวั่ ไป ข. สมดุ รายวนั เฉพาะ
ค. สมดุ รายวนั ขั้นตน้ ง. สมดุ แยกประเภท
3.นาย ก. นำเงนิ สดมาลงทนุ ในกิจการ 10,000 บาท สามารถบนั ทกึ บญั ชีโดย
ก. เดบติ เงนิ สด 10,000 บาท เครดิต ทนุ – นาย ก 10,000 บาท
ข. เดบติ ทุน – นาย ก 10,000 บาท เครดติ เงินสด 10,000 บาท
ค. เดบติ เงนิ สด 10,000 บาท เครดติ รายได้ 10,000 บาท
ง. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตวั 10,000 บาท เครดิต เงินสด 10,000 บาท
4.นายธานี นำเงินสด 12,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 20,000 บาท เครอ่ื งตกแตง่ 5,000 บาท
เจ้าหน้ีการค้า 4,000 บาท และเงนิ กู้ 8,000 บาท มาลงทุน อยากทราบว่ามสี ินทรพั ยท์ ั้งสิน
จำนวนเทา่ ใด
ก. 49,000 บาท ข. 37,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
สมุดรายวนั ทั่วไป : 2
5. จากข้อ 4 มีหนสี้ ินทั้งสนิ จำนวนเท่าใด
ก. 4,000 บาท ข. 8,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
6. จากขอ้ 4 อยากทราบวา่ นายธานมี ีทุนจำนวนเทา่ ใด
ก. 49,000 บาท ข. 37,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
7. สง่ บิลเรียกเกบ็ เงินจากลกู คา้ คา่ บรกิ ารทค่ี ้างชำระ สามารถบันทกึ บญั ชโี ดย
ก. เดบติ เจ้าหน้ี เครดติ เงนิ สด ข. เดบิตเงินสด เครดิตเจ้าหน้ี
ค. เดบติ ลูกหนี้ เครดิตเงนิ สด ง. เดบิตลูกหนี้ เครดิตรายไดค้ า่ บริการ
8.รบั บิลคา่ ไฟฟ้าจากการไฟฟา้ นครหลวง สามารถบนั ทึกบญั ชีโดย
ก. เดบติ ลูกหน้ี เครดติ รายได้ ข. เดบติ คา่ ไฟฟ้า เครดิตเจ้าหนี้
ค. เดบิตคา่ ไฟฟา้ เครดิตเงินสด ง. เดบติ เจ้าหนี้ เครดติ เงินสด
9.นาย ก ถอนเงินของกจิ การไปใช้สว่ นตัว สามารถบนั ทึกบญั ชโี ดย
ก. เดบติ ถอนใช้ส่วนตวั เครดิตเงนิ สด
ข. เดบิตเงินสด เครดิตถอนใช้สว่ นตัว
ค. เดบติ ทนุ นาย ก เครดิตถอนใช้ส่วนตวั
ง. ไม่บันทึกรายการ
10. นายนรากร ถอนเงินจากบญั ชสี ่วนตวั ของตนเองไปใชส้ ่วนตัว สามารถบนั ทกึ บัญชโี ดย
ก. เดบติ ถอนใช้ส่วนตัว เครดติ เงินสด
ข. เดบิตเงินสด เครดติ ถอนใชส้ ่วนตวั
ค. เดบิตทุนนาย ก เครดติ ถอนใชส้ ่วนตัว
ง. ไมบ่ นั ทึกรายการ
สมดุ รายวนั ทัว่ ไป : 3
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1
สมดุ รายวันทัว่ ไป
สมุดรายวนั ข้นั ตน้ (Book of Original Entry) หรือ สมดุ รายวนั (Journal)
หมายถึงสมุดบัญชีที่จะใช้จดบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นขั้นแรก โดยการจด
บนั ทึกรายการคา้ ทีเ่ กดิ ขึ้นนั้น จะจดบันทึกโดยเรียงตามลำดบั ก่อนหลงั ของการเกิดรายการค้า
ประเภทของสมุดบญั ชขี ้นั ตน้ (Types of Books of Original Entry) แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท
1. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) คือ สมุดรายวันหรือสมุดบัญชีขั้นต้นที่ใช้
บันทึกรายการค้าทเี่ กิดข้นึ เรื่องใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ
1.1 สมุดรายวันรับเงิน (Cash Received Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้
บันทึกรายการค้าที่เก่ียวกับการรบั เงนิ เทา่ น้ัน เชน่ การรับรายได้ การรับชำระหนี้ เป็นต้น
1.2 สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Payment Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้
บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินเท่านั้น เช่น จ่ายค่าใช้จ่าย ซื้อสินทรัพย์ จ่ายเงินชำระหนี้
เป็นตน้
1.3 สมุดรายวนั ซ้ือ ( Purchases Journal ) เปน็ สมดุ รายวันทีใ่ ชบ้ นั ทึกรายการ
คา้ ทเ่ี กีย่ วกบั การซอ้ื สินค้าเปน็ เงินเชอ่ื เท่าน้ัน
1.4 สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าท่ี
เกยี่ วกบั การขายสินคา้ เป็นเงนิ เช่อื เท่านั้น
1.5 สมุดรายวันส่งคืนสินค้า ( Purchases Returns and Allowance
Journal) เป็นสมุดรายวันที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกี่ยวกับการส่งคืนสินค้าที่ซื้อมาเป็นเงินเชื่อ
เท่าน้นั
1.6 สมุดรายวันรับคืนสินค้า (Sales Returns and Allowance Journal)
เป็นสมดุ รายวันทใ่ี ช้บนั ทกึ รายการค้าทเ่ี กีย่ วกบั การรับคนื สินค้าท่ีขายเปน็ เงินเช่ือเท่านั้น
2. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) คือ สมุดบัญชีขั้นต้นหรือสมุดรายวันที่ใช้จด
บนั ทึกรายการค้าท่ีเกดิ ขึน้ ทุกรายการ ถ้ากิจการน้ันไมม่ สี มุดรายวันเฉพาะ แต่ถ้ากิจการน้ันมีการใช้
สมดุ รายวันเฉพาะ สมดุ รายวนั ท่ัวไปก็จะมีไว้เพ่ือบนั ทึกรายการค้าอน่ื ๆ ที่เกิดข้ึนและไม่สามาถนำ
ไปบนั ทึกในสมดุ รายวนั เฉพาะเลม่ ใดเล่มหนงึ่ ได้
สมุดรายวันทั่วไป : 4
ผังบัญชี
การกำหนดเลขทีบ่ ัญชหี รอื “ผังบญั ช”ี ซ่งึ จะกำหนดอยา่ งมีระบบตามมาตรฐาน
โดยทัว่ ไปแล้ว เลขทบี่ ญั ชจี ะถกู กำหนดตามหมวด บัญชี ซง่ึ แบ่งออก 5 หมวด ดังน้ี
หมวดท่ี 1 หมวดสนิ ทรัพย์ รหัสบัญชีคือ 1
หมวดที่ 2 หมวดหนสี้ นิ รหัสบญั ชคี ือ 2
หมวดท่ี 3 หมวดสว่ นของเจ้าของ รหสั บญั ชีคอื 3
หมวดท่ี 4 หมวดรายได้ รหสั บญั ชคี ือ 4
หมวดท่ี 5 หมวดคา่ ใชจ้ ่าย รหัสบญั ชคี อื 5
เลขทีบ่ ญั ชจี ะมจี ำนวนกีห่ ลักน้ัน ขน้ึ อยูก่ บั กิจการแตล่ ะแหง่ ถ้าเปน็ กิจการขนาดเล็กที่
มีจำนวนบัญชีต่าง ๆไม่มาก ก็อาจจะใช้เลขที่ บัญชี จำนวน 2 หลัก แต่ถ้าหากเป็นกิจการขนาดใหญ่
และบัญชตี า่ ง ๆ เปน็ จำนวนมากก็อาจจะกำหนดเลขทบ่ี ญั ชีให้มหี ลายหลกั อาจจะเป็น 3 หรอื 4 หลัก
หรือมากกว่านั้น
เลขท่ีบัญชีหลกั แรก แสดงถงึ หมวดของบัญชี และหลักหลังแสดงถงึ บัญชตี ่าง ๆ ในหมวดนั้น ๆ
ซงึ่ ในแตล่ ะหมวดจะถูกกำหนดดว้ ยหลักเกณฑแ์ ตกต่างกันไป โดย
- หมวดสินทรัพย์ หลักหลังของเลขที่บัญชีจะเรียงตามสภาพคล่องของสินทรัพย์ โดยเรียง
จากสภาพคล่องมากไปสภาพคลอ่ งน้อย เชน่ เลขที่บัญชขี องเงนิ สด จะมากอ่ นเลขท่ีบัญชีของลูกหนี้
เปน็ ต้น
- หมวดหนี้สิน ก็จะเรียงตามสภาพคล่องของหนี้สิน เช่น เลขที่บัญชีของเจ้าหนี้จะมาก่อน
เลขที่บญั ชขี องเงนิ ก้รู ะยะยาว เปน็ ตน้
- หมวดส่วนของเจ้าของ หลักหลังของเลขที่บัญชีจะเรียงตามการเกิดขึ้นก่อนหลัง เช่น
การที่นำสนิ ทรพั ย์มาลงทนุ ทำให้เกิดบัญชที นุ ก่อนทีเ่ จ้าของ กจิ การจะมีการถอนใช้ส่วนตัว จึงทำให้
เลขท่บี ญั ชีทุนมากอ่ นเลขทีบ่ ญั ชถี อนใชส้ ่วนตวั
- หมวดรายได้ หลกั หลังของเลขท่ีบัญชจี ะเรยี งความสำคญั ของรายได้
-หมวดคา่ ใชจ้ ่าย หลักหลังของเลขท่บี ญั ชีจะเรยี งความสำคญั ของค่าใช้จ่าย
สมดุ รายวนั ท่วั ไป : 5
ตวั อย่างการกำหนดเลขบญั ชหี รือผงั บญั ชี
สมดุ รายวนั ทั่วไป : 6
หลักการบนั ทึกรายการในสมุดรายวันท่วั ไป
1. หลักการบัญชีเดี่ยว (Single-entry book-keeping) เปน็ หลักการบนั ทึกบญั ชอี ย่าง
ง่ายเพยี งแคจ่ ดบันทึกรายการคา้ ท่ีเกดิ ขึน้ เทา่ น้นั เชน่ นายดำรงนำเงนิ สดมาลงทนุ 50,000 บาท
ก็สามารถบันทึกตามรายการนี้ได้เลย ซึ่งทำให้ไม่สามารถทราบว่ากิจการมีผลการดำเนินงานและ
ฐานะทางการเงนิ เปน็ อยา่ งไรบ้าง ดงั น้ันหลักการบญั ชีเดี๋ยวจึงเป็นหลักการบญั ชที ีไ่ ม่นิยมใช้และถือ
เปน็ หลกั การบญั ชที ่ีไม่สมบูรณแ์ บบ
2. หลักการบัญชีคู่ (Double-entry book - keeping) เป็นหลักการบัญชีที่สมบูรณ์
แบบ และใช้กนั โดยทวั่ ไปในปัจจุบนั รวมถึงเปน็ หลกั การบญั ชีทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาวชิ าบญั ชตี ่าง ๆ
1. ด้านเดบิต (Debit) จะใช้ตัวย่อว่า Dr. คือด้านซ้ายของสมการบัญชี ดังนั้น
ด้านเดบิตจึงเป็นด้านที่ใช้บันทึกรายการบัญชีที่ทำให้ด้านซ้ายของสมการบัญชีเพิ่มขึ้นหรือรายการ
บัญชีที่ทำให้ด้านขวาของสมการบัญชีลดลง คือการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ การลดลงของหนีส้ ินและ
การลดลงของสว่ นของเจ้าของ
2. ดา้ นเครดติ (Credit) จะใชต้ ัวย่อวา่ Cr. คอื ด้านขวาของสมการบัญชี ดังน้ัน
ด้านเครดิตจึงเปน็ ด้านท่ีใช้บันทกึ รายการบญั ชีทท่ี ำใหด้ ้านขวาของสมการบัญชีเพ่ิมขึ้นหรือรายการ
บัญชีที่ทำให้ด้านซ้ายของสมการบัญชีลดลง คือ การลดลงของสินทรัพย์ การเพิ่มขึ้นของหนี้สิน
และการเพ่มิ ข้ึนของสว่ นของเจ้าของ
สมดุ รายวันทั่วไป : 7
การบนั ทึกบัญชตี ามหลกั การบญั ชีคู่ในสมุดรายวนั ท่ัวไป
รายการค้าทบี่ ันทกึ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทว่ั ไป แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. รายการเปิดบัญชี (Opening Entry)
2. รายการปกตขิ องกิจการ (Journal Entry)
1. การบนั ทึกรายการเปิดบัญชใี นสมดุ รายวันท่ัวไป
รายการเปดิ บญั ชี (Opening Entry) หมายถึง รายการแรกของการบนั ทกึ บญั ชใี นสมดุ
รายวันทว่ั ไป ซ่งึ อาจจะเกิดจากมีการลงทุนคร้งั แรก หรอื เมอื่ มกี าร เร่มิ รอบระยะเวลาบัญชใี หม่
1.1 การลงทุนครง้ั แรกมี 3 กรณี ดงั นี้
กรณีท่ี 1 การนำเงนิ สดมาลงทุนเพียงอย่างเดียว
ตัวอยา่ งท่ี 1 นายอยู่สขุ เปิดกจิ การอซู่ อ่ มรถ โดยเริ่มกิจการเมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม 2550 และ
นำเงนิ สดมาลงทนุ ในกิจการจำนวน 100,000 บาท
สมดุ รายวนั ท่วั ไป : 8
กรณีท่ี 2 การนำเงินสด และสนิ ทรพั ย์อน่ื มาลงทุน
ตวั อย่างท่ี 2 นายแดน เปิดกจิ การร้านเสริมสวย "แดนบวิ ตี"้ เมื่อวนั ท่ี 1 มกราคม 2550
โดยนำเงนิ สด 80,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 140,000 บาท อุปกรณ์ 80,000 บาท มาลงทนุ
กรณที ่ี 3 การนำเงนิ สด สินทรัพย์อน่ื และหนส้ี นิ มาลงทนุ
ตวั อยา่ งท่ี 3 นางสาวลาล่า เปดิ ร้านสปาเพ่อื สุขภาพ ในวันท่ี 1 มกราคม 2550 ได้นำเงินสด
จำนวน 70,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 30,000 บาท อปุ กรณ์ 60,000 บาท อาคาร 400,000 บาท
และเจ้าหน้ีการคา้ 40,000 บาท มาลงทนุ
สมุดรายวันทั่วไป : 9
1.2 เรมิ่ รอบระยะเวลาบญั ชใี หม่ (งวดบญั ชีใหม)่
การบนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทัว่ ไปเหมือนกรณีการลงทุนครั้งแรก คอื ต้องบนั ทกึ ใน
สมดุ รายวนั ทว่ั ไปแบบรวม (Compound Journal Entry) โดยเขยี นเงินสด สินทรพั ย์อ่นื ให้หมด
กอ่ น แล้วจงึ เขยี นหนี้สินให้ หมด (ถา้ ม)ี ตามดว้ ยทุนเปน็ ลำดบั สดุ ทา้ ยและเขยี นคำอธิบายรายการ
ว่าบันทึกสนิ ทรัพย์ หนี้สินและทนุ ทีม่ อี ยู่ ณ วนั เปิดบัญชี
การบนั ทึกรายการเปิดบัญชี เม่ือเริ่มรอบระยะเวลาบญั ชีใหมน่ ้ี อาจจะใช้สมดุ รายวนั ทว่ั ไป
และบญั ชี แยกประเภทเลม่ เดมิ เพ่อื บนั ทกึ รายการต่อไป หรือจะใช้สมุดเลม่ ใหมก่ ็ได้ แล้วแต่กิจการ
รอบระยะเวลาบัญชี หมายถึง ช่วงระยะเวลาหนึ่งท่ีต้องแสดงผลการดำเนนิ งานและฐานะ
ทาง การเงินของกจิ การ เช่น 3 เออื น 6 เดอื น หรอื 12 เดือน ก็ได้ ข้นึ อย่กู บั กจิ การแต่ละแหง่
ตวั อย่างที่ 4 ตอ่ ไปนเี้ ป็นรายการค้าของร้านนครชยั การช่าง ระหว่างเดอื นมกราคม
2563
ม.ค.
1 นายนครเปิดรา้ นบรกิ ารซอ่ มวทิ ยุ โทรทศั น์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ โดยนำเงินสด 40,000
บาท เงนิ ฝากธนาคาร 60,000 บาท อาคาร 400,000 บาท อุปกรณก์ ารซอ่ ม 50,000 บาท
และ เจ้าหนี้ 60,000 บาท มาลงทนุ
5 รับเงนิ ค่าซ่อมโทรทศั น์ 3,000 บาท
8 ซ้อื อุปกรณ์ในการซ่อมเปน็ เงินเช่อื จากรา้ นโกมล 12,000 บาท
11 จา่ ยค่าเช่าอาคารเพ่มิ เตมิ เนื่องจากพน้ื ทคี่ ับแคบ 12,000 บาท
15 ซ่อมพัดลมใหโ้ รงเรียนเก่งวิทยา 35,000 บาท ยังไมไ่ ดร้ ับเงนิ
20 รับชำระหนี้จากโรงเรียนเก่งวทิ ยาตามรายการวนั ที่ 15 ม.ค.
25 จ่ายชำระหน้ีใหร้ ้านโกมล 12,000 บาท
28 กเู้ งินจากธนาคารไทย 80,000 บาท
29 นายนครถอนเงนิ ไปใชส้ ว่ นตวั 14,000 บาท
31 จา่ ยเงนิ เดือนให้คนงาน 28,000 บาท
ใหท้ ำ บันทึกรายการในสมดุ รายวันท่ัวไป
สมดุ รายวนั ท่วั ไป : 10
บญั ชงี า่ ยนดิ เดยี ว
สมดุ รายวันท่วั ไป : 11
สมุดรายวนั ทวั่ ไป : 12
2. การบนั ทึกรายการปกตขิ องกจิ การในสมุดรายวนั ทวั่ ไป
รายการปกติของกิจการ (Journal Entry) เป็นการบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน
หลังจากมีการลงทุน หรือเริ่มระยะเวลาบัญชีใหม่แล้ว ในแต่ละวัน โดยการบันทึกรายการค้าปกติ
ของกจิ การจะบันทึกโดยเรยี งตามลำดับ ก่อนหลังของการเกดิ รายการคา้ ซ่งึ จะมีลักษณะเหมอื นกับ
การ บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทั่วไปตวั อย่างที่ 4 ขา้ งตน้
สมดุ รายวนั ทวั่ ไป : 13
ใบงานท่ี 1
วชิ า การบญั ชเี บือ้ งต้น 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง สมดุ รายวันทั่วไป
ใหน้ กั เรียนอธิบาย (หมายถงึ การให้รายละเอียดเพิม่ เตมิ ขยายความ ถ้ามตี ัวอยา่ งใหย้ กตัวอย่าง
ประกอบ)
1. อธบิ ายความหมายของสมุดบันทึกรายการข้นั ตน้
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สมดุ บันทึกรายการขั้นตน้ มีกี่ประเภท อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….............................
3. หลกั การบนั ทึกรายการค้าในสมุดรายวันทัว่ ไปมหี ลกั เกณฑ์อย่างไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...................................
……………………………………………………………………………………………………………………………….....
4. วิธีการบนั ทึกรายการเปิดบญั ชใี นสมุดรายวนั ทว่ั ไปมีกี่กรณี อะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
....................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ช่อื ............................................................................................ชัน้ ...........................เลขท.่ี ........................
สมุดรายวนั ท่วั ไป : 14
ใบงานท่ี 2
วชิ า การบัญชเี บื้องต้น 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง การกำหนดเลขบัญชี
ใหน้ กั เรยี นศึกษาเรอื่ งผงั บัญชแี ล้วเติมขอ้ ความลงในกิจกรรมท่ีใหม้ าภายในเวลาที่กำหนดให้
หมวดบญั ชีมี
5 หมวด
หมวดท่ี 1 ……………………………………………………………………………………
………………………... ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
.”
……………………………………………………………………………………
หมวดท่ี 2 ……………………………………………………………………………………
………………………... ……………………………………………………………………………………
.” ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
หมวดที่ 3 ……………………………………………………………………………………
………………………...
……………………………………………………………………………………
.” ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
หมวดท่ี 4
………………………... ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
.” ……………………………………………………………………………………
หมวดท่ี 5
………………………...
.”
ชื่อ............................................................................................ชน้ั ...........................เลขที่.........................
สมดุ รายวันท่วั ไป : 15
ใบงานที่ 3
วิชา การบัญชเี บอื้ งตน้ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 เรอื่ ง การบันทึกเปดิ บญั ชใี นสมุดรายวันทัว่ ไป
ใหท้ ำ บันทกึ รายการเปดิ บัญชใี นสมดุ รายวันท่ัวไป
1. ตอ่ ไปนเ้ี ป็นรายการคา้ ของร้านพรรณภิ าบรกิ าร ซ่ึงนายพรเป็นเจ้าของกจิ การ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2563
นำเงินสดมาลงทนุ ในกิจการจำนวน 600,000 บาท
ว.ด.ป รายการ เดบิต เครดติ
บาท สต บาท สต
2. ต่อไปนีเ้ ปน็ รายการค้าของรา้ นสดุ สวยบวิ ต้ี เมื่อวนั ที่ 1 มีนาคม 2563 โดยนำเงินสด 60,000 บาท เงินฝาก
ธนาคาร 90,000 บาท เครอ่ื งตกแต่ง 40,000 บาท อปุ กรณเ์ สริมสวย 100,000 บาท มาลงทนุ
ว.ด.ป รายการ เดบิต เครดติ
บาท สต บาท สต
3. นางสาวแพทต้ี เปดิ รา้ นนวดเพือ่ สุขภาพ ในวนั ท่ี 1 เมษายน 2553 ไดน้ ำเงินสด 130,000 บาท เงนิ ฝาก
ธนาคาร 50,000 บาท อุปกรณ์ในการนวดเพอ่ื สุขภาพ 60,000 บาท อาคาร 300,000 บาท เจ้าหนีก้ ารคา้
100,000 บาท และเงนิ กู้ 60,000 บาท มาลงทุน
ว.ด.ป รายการ เดบิต เครดิต
บาท สต บาท สต
ชอ่ื ............................................................................................ช้ัน...........................เลขที่.........................
สมดุ รายวนั ท่วั ไป : 16
แบบฝกึ ปฏบิ ัตทิ ่ี 1
วิชา การบัญชีเบื้องตน้ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เรอื่ ง บนั ทึกสมดุ รายวนั ทั่วไป
ตอ่ ไปน้ีเปน็ รายการค้าของรา้ นรตั ตกิ าล ซ่ึงเปดิ กจิ การบรกิ ารถ่ายเอกสาร และจัดทำ
รูปเล่ม ในเดอื นมกราคม 2563
ม.ิ ย. 1 นางรตั ติกาลเปิดร้านบริการถ่ายเอกสารและจดั ทำรปู เล่ม โดยนำเงินสด 60,000 บาท
เงินฝากธนาคาร 30,000 บาท เครอื่ งถ่ายเอกสาร 100,000 บาท และเจ้าหนี้
20,000 บาท มาลงทุน
5 รับเงนิ ค่าถ่ายเอกสาร 10,500 บาท
8 จ่ายคา่ เช่าอาคาร 10,000 บาท
11 จ่ายคา่ เช่าเคร่ืองถ่ายเอกสาร 2 เครือ่ ง จำนวน 20,000 บาท
15 ถา่ ยเอกสารประกอบการสอนให้โรงเรียนปทุมวไิ ล 15,000 บาท ยังไม่ไดร้ ับเงนิ
20 รบั เงินสดค่าจัดทำรูปเลม่ รายงานจำนวน 25 เลม่ เปน็ เงนิ 5,250 บาท
25 รบั บลิ คา่ โทรศพั ท์จากบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปน็ เงนิ 3,500 บาท
27 จ่ายคา่ น้ำค่าไฟเปน็ เงนิ 5,500 บาท
28 รับเงนิ ค่าถา่ ยเอกสารจำนวน 29,000 บาท
29 รบั ชำระหน้ีจากโรงเรียนปทมุ วิไลเม่ือวันท่ี 15 ทัง้ หมด
29 ก้เู งินจากธนาคารไทย 50,000 บาท
30 นางรตั ติกาลถอนเงนิ สดไปใชส้ ว่ นตวั 10,000 บาท
31 จ่ายเงนิ เดอื นใหค้ นงาน 8,000 บาท
ให้ทำ 1. อา่ นโจทย์ทัง้ หมดแล้วเขยี นช่อื บญั ชี โดยแยกตามหมวดบญั ชี
2. บนั ทกึ รายการเปดิ บญั ชี และรายการระหว่างเดอื นมกราคม 2563 ในสมดุ รายวันท่วั ไป
ชอ่ื ............................................................................................ชัน้ ...........................เลขท่.ี ........................
สมดุ รายวันท่ัวไป : 17
สมุดรายวันท่ัวไป หนา้ ............
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วนั ท่ี
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.
สมดุ รายวันทวั่ ไป : 18
สมุดรายวันท่วั ไป หนา้ ............
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วนั ท่ี
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.
สมดุ รายวันทว่ั ไป : 19
สมุดรายวันทวั่ ไป หนา้ ............
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.
สมุดรายวันทั่วไป : 20
แบบฝึกปฏบิ ัติท่ี 2
วิชา การบัญชเี บอื้ งตน้ 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง บนั ทึกสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
นายสมบตั เิ ปดิ กจิ การอูซ่ อ่ มรถชือ่ “สมบัติเซอรว์ ิส” เริม่ ดำเนินกิจการต้ังแต่เดือนมกราคม 2563
และมีรายการคา้ เกดิ ขนึ้ ดังน้ี
ม.ค. 1 นายสมบัตินำเงินสดมาลงทุน 300,000 บาท
5 ซอ้ื อปุ กรณ์ในการซ่อม 50,000 บาท เป็นเงินเชื่อ จากบรษิ ทั สยามอะไหลย่ นต์ จำกดั
8 ได้รบั เงินค่าซอ่ มรถ 40,000 บาท
10 ซื้ออุปกรณซ์ ่อมเพิ่มเติม 80,000 บาท โดยจา่ ยเงินสดไปเพยี ง 40,000 บาท ท่ีเหลอื
ชำระในภายหลัง
15 จ่ายค่าโฆษณา 5,000 บาท
18 ส่งบลิ ไปเรียกเก็บเงินคา่ ซ่อมรถยนต์จากห้างหนุ้ สว่ นชัยรัตน์ จำนวน 80,000 บาท
22 จ่ายคา่ แรงคนงาน 10,000 บาท
24 ได้รับชำระหน้จี ากหา้ งหนุ้ ส่วนชัยรัตนจ์ ำนวน 80,000 บาท และนำเงนิ ฝากธนาคาร
ทันที
25 ชำระหน้ีคา่ อปุ กรณใ์ นการซอ่ มทีซ่ ื้อมาเมื่อวนั ที่ 5 ท้ังหมด
29 จ่ายค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า 4,500 บาท
30 จ่ายค่าเช่าอู่ 15,000 บาท ดว้ ยเช็ค
ใหท้ ำ 1. อ่านโจทย์ทงั้ หมดแล้วเขยี นชื่อบญั ชี โดยแยกตามหมวดบัญชี
2. บนั ทีกรายการคา้ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไป
แบบฟอรม์ สมดุ รายวนั ใน Excel
สมุดรายวันท่วั ไป : 24
แบบฝกึ ปฏิบัตทิ ่ี 3
วิชา การบญั ชเี บื้องตน้ 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรื่อง บนั ทึกสมุดรายวันท่ัวไป
นายรกั ธรรมเปดิ รา้ นบริการซอ่ มรถยนต์และประดบั ยนต์ “รักธรรมบริการ”
เมือ่ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2563 ไดน้ ำเงินสด 100,000 บาท เงินฝากธนาคาร 50,000 บาท เครื่องใช้
สำนกั งาน 60,000 บาท เครื่องตกแตง่ 70,000 บาท มาลงทนุ มีรายการค้าเกิดขึน้ ดังน้ี
มี.ค. 2 ซื้อเครือ่ งใช้สำนักงานจากบรษิ ัทโฮมโปร์ จำกดั จำนวน 70,000 บาท เปน็ เงินเชอ่ื
5 ได้รบั เงนิ ค่าบริการซ่อมรถยนต์ 10,000 บาท
7 จ่ายคา่ เชา่ อาคาร 8,000 บาท
8 ชำระหน้บี ริษัทโฮมโปร์ จำกดั ครงึ่ หนงึ่
10 จ่ายค่าโทรศัพท์ 3,500 บาท
11 ออกบิลเก็บเงินร้านรตั นาเป็นค่าซอ่ มรถยนต์ จำนวน 30,000 บาท
14 จา่ ยค่าไฟฟ้า 4,500 บาท
17 รับเงินจากลูกค้าเป็นค่าบรกิ ารซ่อมรถ 25,000 บาท
20 จ่ายค่าน้ำประปา 1,000 บาท
24 จ่ายชำระหนี้ที่คา้ งไวใ้ นวนั ที่ 2 มี.ค. ทง้ั หมด
26 จา่ ยคา่ โฆษณา 2,500 บาท
28 รับเงินค่าบริการจากลูกคา้ 30,000 บาท
30 นายรักธรรมถอนเงินไปใช้สว่ นตวั 10,000 บาท
31 จา่ ยค่าแรงงานใหค้ นงาน 3 คน คนละ 9,000 บาท
ใหท้ ำ 1. อ่านโจทย์ทั้งหมดแลว้ เขยี นชือ่ บญั ชี โดยแยกตามหมวดบญั ชี
2. บันทีกรายการค้าในสมุดรายวันทวั่ ไป
แบบฟอรม์ สมดุ รายวนั ใน Excel
สมุดรายวันทั่วไป : 28
แบบทดสอบหลังเรียน
วชิ า การบญั ชีเบอื้ งตน้ 1
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 สมดุ รายวนั ทั่วไป
คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนอา่ นคำถามต่อไปนี้ แล้วเลอื กคำตอบทเี่ หน็ วา่ ถกู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งข้อเดยี ว โดย
เขียนเครอื่ งหมาย X ลงในกระดาษคำตอบ
..........................................................................................................................................................
1. สมุดรายวันขั้นต้นเลม่ ใดท่ใี ชจ้ ดบนั ทกึ รายการขนั้ ต้นเฉพาะเรือ่ งใดเรอ่ื งหนงึ่
ก. สมดุ รายวันท่ัวไป ข. สมุดรายวนั เฉพาะ
ค. สมุดแยกประเภทท่วั ไป ง. ถูกทกุ ข้อ
2. ข้อใดหมายถึง Book of Original Entry
ก. สมุดรายวนั ทัว่ ไป ข. สมดุ รายวันเฉพาะ
ค. สมดุ รายวันข้นั ต้น ง. สมุดแยกประเภท
3.นาย ก. นำเงินสดมาลงทุนในกจิ การ 10,000 บาท สามารถบนั ทกึ บญั ชีโดย
ก. เดบติ เงินสด 10,000 บาท เครดิต ทนุ – นาย ก 10,000 บาท
ข. เดบติ ทนุ – นาย ก 10,000 บาท เครดิต เงินสด 10,000 บาท
ค. เดบิต เงินสด 10,000 บาท เครดิต รายได้ 10,000 บาท
ง. เดบติ ถอนใชส้ ว่ นตัว 10,000 บาท เครดติ เงนิ สด 10,000 บาท
4.นายธานี นำเงินสด 12,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท เครื่องตกแตง่ 5,000 บาท
เจ้าหนี้การคา้ 4,000 บาท และเงนิ กู้ 8,000 บาท มาลงทนุ อยากทราบวา่ มสี ินทรัพยท์ ้ังสนิ
จำนวนเทา่ ใด
ก. 49,000 บาท ข. 37,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
สมุดรายวนั ทั่วไป : 29
5. จากข้อ 4 มีหนสี้ นิ ทั้งสนิ จำนวนเท่าใด
ก. 4,000 บาท ข. 8,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
6. จากขอ้ 4 อยากทราบวา่ นายธานมี ีทุนจำนวนเทา่ ใด
ก. 49,000 บาท ข. 37,000 บาท
ค. 12,000 บาท ง. 25,000 บาท
7. สง่ บิลเรียกเกบ็ เงินจากลกู คา้ คา่ บรกิ ารทค่ี ้างชำระ สามารถบันทึกบัญชโี ดย
ก. เดบติ เจ้าหน้ี เครดติ เงนิ สด ข. เดบิตเงินสด เครดิตเจ้าหน้ี
ค. เดบติ ลูกหนี้ เครดิตเงนิ สด ง. เดบิตลูกหนี้ เครดิตรายไดค้ า่ บรกิ าร
8.รบั บิลคา่ ไฟฟ้าจากการไฟฟา้ นครหลวง สามารถบนั ทึกบญั ชีโดย
ก. เดบติ ลูกหน้ี เครดติ รายได้ ข. เดบติ คา่ ไฟฟ้า เครดิตเจ้าหนี้
ค. เดบิตคา่ ไฟฟา้ เครดิตเงินสด ง. เดบติ เจ้าหนี้ เครดติ เงินสด
9.นาย ก ถอนเงินของกจิ การไปใช้สว่ นตัว สามารถบนั ทึกบัญชโี ดย
ก. เดบติ ถอนใช้ส่วนตัว เครดิตเงนิ สด
ข. เดบิตเงินสด เครดิตถอนใช้สว่ นตัว
ค. เดบติ ทนุ นาย ก เครดิตถอนใช้ส่วนตวั
ง. ไม่บันทึกรายการ
10. นายนรากร ถอนเงินจากบญั ชสี ่วนตวั ของตนเองไปใชส้ ่วนตวั สามารถบนั ทกึ บญั ชโี ดย
ก. เดบติ ถอนใช้ส่วนตวั เครดติ เงินสด
ข. เดบิตเงินสด เครดติ ถอนใชส้ ่วนตวั
ค. เดบิตทุนนาย ก เครดติ ถอนใชส้ ่วนตัว
ง. ไมบ่ นั ทึกรายการ