ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม
เค้าโครงโครงงานคุณธรรม ประจ าปีการศึกษา 2565 อนาคตสดใสได้ด้วยการออม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม 1. ชื่อโครงงาน อนาคตสดใสได้ด้วยการออม 2. ที่มาและความส าคัญ เนื่องจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 บางคนมีสมุดบัญชีแต่ไม่ค่อยฝากเงิน จึงท าให้ เกิดปัญหาเกี่ยวกับการเงิน เช่น เงินไม่พอในการใช้จ่าย ไม่มีเงินในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ และไม่มีเงินไว้ใช้ใน ยามจ าเป็น ดังนั้นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ 1 จึงจัดตั้งโครงงานอนาคตสดใสได้ด้วยการออมขึ้นมาเพื่อ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของการออมเงิน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการด ารง อยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐให้ด าเนินไปในทาง สายกลาง เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งภายในสภาวการณ์ปัจจุบัน นักเรียนบางส่วนมีพฤติกรรมการ ใช้เงินอย่างไม่เห็นคุณค่า ไม่มีเหตุผล ฟุ่มเฟือย ลุ่มหลงในค่านิยมทางวัตถุ และเทคโนโลยีทั้งที่ยังไม่สามารถหา รายได้ด้วยตนเอง จึงส่งผลให้พ่อแม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูมากขึ้น นอกจากนั้นนักเรียนขาดการเตรียม ความพร้อมส าหรับการด าเนินชีวิตในอนาคต จึงท าให้เมื่อถึงเวลาจ าเป็นที่จะต้องใช้เงินไม่สามารถหาเงินได้ ท าให้ พ่อแม่ต้องเดือดร้อน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ตระหนักถึงความส าคัญดังกล่าวจึงได้น้อมน าหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยการ บูรณาการกับหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีโครงงานอนาคตสดใสได้ด้วยการออม โดยส่งเสริมให้นักเรียนรู้จัก บริหารจัดการการใช้เงิน มีทักษะและเป้าหมายที่ชัดเจนในการออม เห็นคุณค่าของการออม รู้จักคุณค่าของเงินและ สิ่งของ มีวิธีคิดที่จะพิจารณาในการใช้เงิน รู้จักการออม รู้จักกระบวนการออมเงิน สามารถน ากระบวนการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างเหมาะสมกับวัย รู้จักการใช้เงินให้เป็นประโยชน์มากที่สุด อันจะส่งผลให้การด าเนินชีวิตในอนาคตเป็นคนที่มีคุณภาพ 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีวินัยในการออม 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเงินไว้ใช้เมื่อยามจ าเป็น 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รู้จักบริหารจัดการการใช้เงิน
4. ปัญหา นักเรียนไม่มีเงินออมไว้ใช้เมื่อยามจ าเป็น 5. สาเหตุของปัญหา นักเรียนบางส่วนมีพฤติกรรมการใช้เงินอย่างไม่เห็นคุณค่า จนท าให้นักเรียนไม่เหลือเงินไว้ออม 6. กลุ่มเป้าหมาย - เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 14 คน - เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเงินออมไว้ใช้ในยามจ าเป็นและมีวินัยในการออม 7. ระยะเวลาในการด าเนินงาน พฤศจิกายน – มีนาคม 8. วิธีการแก้ปัญหา 1.ประชุมวางแผน 2.วางกฎกติการ่วมกัน 3.ชี้แจงข้อตกลง (โดยทางโครงงานจะเก็บเงินนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วันละ 5 บาท) 4.ทุกวันศุกร์จะมีตัวแทนของโครงงานน าเงินที่เก็บไปฝากที่ธนาคาร 9. หลักธรรมที่น ามาใช้สัปปุริสธรรม 7 ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักบริษัท ปุคคลัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล 10. ความเชื่อมโยงสู่คุณธรรมและอัตลักษณ์ พอเพียง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ -เชื่อมโยงกับคุณธรรมเป้าหมาย พอเพียง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์มีวินัย
-พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเงินออมไว้ใช้เมื่อยามจ าเป็น ออมเงินอย่างสม่ าเสมอ 11. วิธีการวัดและประเมินผล แบบส ารวจพฤติกรรมการฝากเงินของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แบบบันทึกการฝากเงิน 12. ช่วงระยะเวลา 1 ภาคเรียนการศึกษา 13. ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวพิมพิมาย ศรีนุ่น นายไชยภพ ช่อทิพย์ นายบรรลือศักดิ์ ชุมทอง นายพีรวัส ด าศรีใหม่ นางสาวณัฐกมล ก้งวัตร นางสาวรุ่งนภา ไพศาล นายปรมินทร์ ศรีสุข 14. ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูอังศุมาลิน ชูช่วง คุณครูธวัชชัย นาคฤทธิ์