โครงงานคุณธรรม “เต็มที่ เต็มเวลา” ประจ าปีการศึกษา 2565 ชื่อโครงงาน โครงงานคุณธรรม “เต็มที่ เต็มเวลา” ที่มาและความส าคัญ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนมีความส าคัญอย่างมากในการพัฒนานักเรียน และองค์กร เพราะครูผู้มีหน้าที่ในการให้ความรู้ การอบรมสั่งสอนนักเรียนทางด้านคุณธรรม จริยธรรม เป็นต้นแบบในการเป็นแบบอย่างส าหรับนักเรียน ดังนั้น การปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีมนุษย สัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความมุ่นมั่น อุทิศตนในการสอนและพัฒนานักเรียน ครู ต้องใช้เทคนิควิธีการใหม่ๆมาใช้ในการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนานักเรียนทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ดังนั้นในการปฎิบัติงานในหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ ย่อมส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนและสร้าง บรรยากาศของการเรียนรู้ในโรงเรียน ถ้าครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพร้อมในการจัดการศึกษา ตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโรงเรียน ส่งผลให้ครูมีความเชื่อมั่นในตนเองและแน่วแน่ในอุดมการณ์ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม แต่เนื่องด้วยครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนตะเครียะวิทยาคม จัดการ เรียนการสอนได้ไม่เต็มที่และเต็มเวลาตามที่ก าหนด จึงจัดท าโครงงานคุณธรรม “เต็มที่ เต็มเวลา” ให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมจัดการเรียนการสอนได้เต็มที่และเต็มเวลาตามที่ ก าหนด เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนตะเครียะวิทยาคม จัดการเรียนการสอนได้เต็มที่และ เต็มเวลาตามที่ก าหนด 1.2 เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ปัญหา ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนตะเครียะวิทยาคม จัดการเรียนการสอนได้ไม่เต็มที่เต็ม เวลาตามที่ก าหนด สาเหตุของปัญหา 1.1 โรงเรียนมีกิจกรรมพิเศษหรือกิจกรรมตามเทศกาล ท าให้ต้องลดเวลาคาบสอนหรืองดการเรียนการ สอน 1.2 ครูปฏิบัติหน้าที่พิเศษอย่างต่อเนื่องและเร่งรัด จนเป็นเหตุให้เข้าสอนไม่ตรงเวลาหรือไม่ได้เข้าสอน
1.3 ครูเข้าสอนเกินเวลาในคาบของตน เป็นเหตุให้ครูในคาบถัดไป จัดการเรียนการสอนได้ไม่เต็มที่และ เต็มเวลา กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ 1. นักเรียนโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมร้อยละ 100 มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของ ครู 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 จัดการเรียนการสอนได้เต็มที่เต็มเวลา เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. นักเรียนโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของครู 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดการเรียนการสอนได้เต็มที่เต็มเวลา ระยะเวลาในการด าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิธีการแก้ปัญหา วัน/เดือน/ปี ขั้นตอน กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ พ.ค. 65 การวางแผน 1. น าเสนอโครงงานต่อผู้บริหาร 2. จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงขอบข่าย การท างานและจัดท าปฎิทินการปฎิบัติงาน 3. มอบหมายผู้รับผิดชอบ -ฝ่ายบริหาร -ครูและบุคลากรทุกคน มิ.ย 65 – ต.ค 6 การด าเนินงาน ๑. ให้ครูและบุคลากรปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพ รับผิดชอบในหน้าที่ เข้าสอนให้เต็มที่เต็ม เวลา ๒. เชิญชวนครูและบุคลากรจัดท าแบบฝึกหัด/แบบ ฝึกทักษะทั้งในรูปแบบออนไลน์ และรูปเล่ม เพื่อ ช่วยในการฝึกฝนและทบทวนบทเรียนแก่นักเรียน 3. กรณีที่ครูและบุคลากรมีภารกิจทางราชการ นอกเหนือจากการสอน ให้ครูด าเนินการจัดท า คลิป/VDO การสอนเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ย้อนหลัง 4. กรณีที่ครูและบุคลากรมีภารกิจที่ทราบก าหนด การณ์ล่วงหน้า ก็จัดให้มีครูสอนแทนในคาบเรียน นั้น ๆ ครูและบุคลากรทุกคน
หลักธรรมที่น ามาใช้ อิทธิบาท ๔ ธรรมที่ช่วยให้ส าเร็จประโยชน์มี๔ ประการคือ ๑. ฉันทะ ความพอใจในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ ความพากเพียรในสิ่งนั้น ๓. จิตตะ ความเอาใจใส่ในสิ่งนั้น ๔. วิมังสา ความสอดส่องค้นคว้าในสิ่งนั้น พรหมวิหาร ๔ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่ จะต้องตั้งอยู่ในพรหมวิหารธรรม ๔ ประการ คือ ๑. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาให้เป็นสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี ๔. อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง ความเชื่อมโยงสู่คุณธรรมและอัตลักษณ์ เชื่อมโยงกับคุณธรรมเป้าหมาย ความรับผิดชอบ - เต็มที่ ซื่อสัตย์ - เต็มเวลา พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมจัดการเรียนการสอนได้เต็มที่และเต็ม เวลาตามที่ก าหนด วิธีการวัดและประเมินผล วิธีวัดและประเมินผล - ตรวจสอบบันทึกการเข้าสอนของครู - ส ารวจความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู วัน/เดือน/ปี ขั้นตอน กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ มิ.ย 65 – ต.ค 65 การด าเนินงาน 5. นิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนในชั้น เรียน ครูและบุคลากรทุกคน ต.ค. 65 ตรวจสอบ ติดตาม/ ประเมินผล รายงานผล กลุ่มบริหารงานวิชาการ ต.ค. 65 ปรับปรุง พัฒนา ประชุมเพื่อสรุปผลงานและน าข้อบกพร่องมา ปรับปรุงแก้ไข ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทุกคน
- เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน และเกณฑ์ที่ก าหนด เครื่องมือวัดผล - แบบตรวจสอบบันทึกการเข้าสอนของครู - แบบส ารวจความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู - แบบเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียนและเกณฑ์ที่ก าหนด ช่วงระยะเวลา 1 ภาคเรียน ผู้รับผิดชอบโครงงาน กลุ่มบริหารงานวิชาการ ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้อ านวยการโรงเรียน ผลด าเนินงาน ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน *ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ เนื่องจากยังไม่มีการประเมินผลปลายภาค
ภาพกิจกรรม