The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคุณธรรม ภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by takrear16, 2023-08-12 02:42:08

ม.1 ไหว้สวยรวยมารยาท

รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคุณธรรม ภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2565

โครงงาน ไหว้สวยรวยมารยาท ที่มาและความส าคัญ โครงงานไหว้สวยรวยมารยาท เกิดจากการระดมความคิดของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาชั้น ปีที่ ๑ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม ได้เล็งเห็นความส าคัญของการพัฒนานักเรียนให้มี วินัย มีจิตส านึกรักความเป็นไทยโครงงานคุณธรรมนี้ได้จัดท าขึ้นเพื่อพัฒนานักเรียน ให้มี ความ รัก เมตตา กตัญญูรักความเป็นไทยอันเป็นเอกลักษณ์ที่งดงาม ปัญหา นักเรียนขาดมารยาทในการไหว้ สาเหตุของปัญหา ๑. นักเรียนขาดวินัยในการไหว้และการทักทาย ๒.นักเรียนไม่รู้คุณค่าความเป็นไทย วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนมีวินัยการไหว้และการทักทาย ๒. เพื่อให้นักเรียนมีจิตส านึกรักความเป็นไทย เป้าหมายของปัญหา เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนตะเครียะ วิทยาคม จ านวน ๑๖ คน เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนตะเครียะ วิทยาคม มีจิตสานึกและตระหนักมี การไหว้และการทักทายที่ถูกต้องเหมาะสม เป้าหมายระยะสั้น ๑ มิถุนายน – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๕ (๖ เดือน) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม มีจิตสานึกและตระหนักมี การไหว้และการทักทายที่ถูกต้องเหมาะสม เป้าหมายระยะยาว (๑๒ เดือน) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม มีจิตสานึกและตระหนักมี การไหว้และการทักทายที่ถูกต้องเหมาะสม วิธีแก้ไขปัญหา ๑. ประชุม ปรึกษา วางแผนเพื่อก าหนดกิจกรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒. นักเรียนระดมความคิด ชี้แจงปัญหา เพื่อทราบแนวทางของห้องในการจัดท า โครงงาน และศึกษาการท าโครงงาน ๓. ขอความร่วมมือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ ๑ ทุกคนในการท าความ เคารพ คุณครู ๔. โครงงานเกี่ยวกับมารยาทในการไหว้


๕. สรุปผลการด าเนินโครงงาน หลักธรรม อิทธิบาท ๔ ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น (เต็มใจท า) ๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น (แข็งใจใจท า) ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น (ตั้งใจท า) ๔. วิมังสา ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (เข้าใจท า) คุณธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา พอเพียง คุณธรรมเป้าหมาย จิตอาสา พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก นักเรียนมีพฤติกรรมการไหว้ที่ถูกต้อง เหมาะสม ตัวชี้วัด นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ มีพฤติกรรมการไหว้ การทักทายกัน ที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบุคคล วิธีการประเมิน ๑.สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ๒.สัมภาษณ์ครู และนักเรียน ๓. แบบสอบประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือที่ใช้ประเมิน ประเมินความพึงพอใจ ช่วงเวลาการประเมิน ตลอดภาคเรียน ความเชื่อมโยงสู่คุณธรรมและอัตลักษณ์ จากโครงงานคุณธรรมได้สอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ คือ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา พอเพียง เชื่อมโยงกับคุณธรรมเป้าหมาย : จิตอาสา พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก : นักเรียนมีพฤติกรรมการไหว้ การทักทายที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบุคคล เช่น เมื่อพบ เพื่อนนักเรียนและคุณครู ผลการด าเนินงาน จากการด าเนินโครงงานคุณธรรมไหว้สวยด้วยมือเรา นักเรียนโรงเรียนตะเครียะวิทยาคมมีพฤติกรรมการไหว้ การทักทายที่ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคลประมาณร้อยละ ๗๐ ซี่งอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพึงพอใจ และนอกจากนี้การด าเนิน โครงงานคุณธรรมยังเป็นการส่งเสริมคุณธรรมอัตลักษณ์ที่ส าคัญคือ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีจิตอาสา และความพอเพียง ซึ่งจากการประเมินผลการด าเนินงาน พบว่านักเรียนมีพฤติกรรมการไหว้และการทักทายที่ถูกต้อง เหมาะสมในระดับดีขึ้น และควรพัฒนาให้สูงขึ้นในภาคเรียนต่อไป


ผู้รับผิดชอบโครงงาน ๑. เด็กชายกิตติพัศ คงทอง ๒. เด็กชายจิรโชติ รุ่งมณี ๓. เด็กชายณรงค์เกียรติ ยอดเกลี้ยง ๔. เด็กชายโดมินิค แพล็งค์ ๕. เด็กชายถิรวัฒน์ ทองดี ๖. เด็กชายพรชัย ๗. เด็กชายเมา พิว ๘. เด็กชายวงศกร ไพศาล ๙. เด็กชายศุภกฤต หวานคง ๑๐. เด็กชายสุทธิพงศ์ สว่างจันทร์ ๑๑. เด็กหญิงกนกวรรณ ชูเมือง ๑๒. เด็กหญิงชนัญชิดา แก้วจันทร์ ๑๓ เด็กหญิงณัฐวดี ก้องวัตร ๑๔. เด็กหญิงนันท์นภัส คงไข่ ๑๕. เด็กหญิงบุญสิตา อ่อนประเสริฐ ๑๖. เด็กหญิงสิราลักษณ์ สนธิกุล ที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวอุมารินทร์ บุญเกื้อ นายกิติศักดิ์ สีสวนแก้ว


ภาคผนวก


แบบประเมินความพึงพอใจ ตอนที่ ๑ สถานภาพของผู้ตอบ ชื่อ………………………………………….สกุล………………………………………………………… ประเภท นักเรียน ครู/อาจารย์ อื่นๆ ระบุ………………………… เกณฑ์การท าเครื่องหมายลงลงในช่องบันทึ ๑. มากที่สุด หมายถึง ๕ ๒. มาก หมายถึง ๔ ๓. ปานกลาง หมายถึง ๓ ๔. น้อย หมายถึง ๒ ๕. น้อยที่สุด หมายถึง ๑ ประเด็นพิจารณา เกณฑ์การประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ๑. ความสุภาพเรียบร้อย ๒. ความยินเต็มใจและเต็มใจ ๓. ความมีมารยาทในการไหว้ ๔. ความอ่อนน้อมถ่อมตน ๕. ความสม่ าเสมอ


Click to View FlipBook Version